วันพุธที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 2)



6. บอกผู้ร่วมงานในสิ่งที่ต้องทำเพื่อจะได้รับ
รางวัลจากความพยายามในการทำสิ่งนั้น
3.55
0.93
3.55
1.04
0.000
1.000
7. ทำให้ผู้ร่วมงานมั่นใจว่าจะได้รับรางวัลที่
เหมาะสมจาการปฏิบัติงานได้สำเร็จ
3.64
0.67
3.64
1.29
0.000
1.000
8. ผู้ร่วมงานได้รับความเชื่อถือเมื่อผลงานที่
ทำออกมาดี
3.82
1.25
3.91
0.83
-0.201
0.843
9. แสดงความพึงพอใจเมื่อผู้ร่วมงานทำงาน
ประสบความสำเร็จ
4.18
1.08
4.09
0.94
-0.210
0.836
*p< 0.05 จากตารางที่ 5 พบว่า ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนของผู้บริหารด้านการให้รางวัลตาม สถานการณ์ ตามการรับรู้ของตนเอง ตามรายข้อผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยัง ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 51 ตารางที่ 6 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนของ ผู้บริหาร ด้านการบริหารแบบวางเฉย ตามการรับรู้ของตนเอง และสถานภาพ โรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ให้ความสนใจในสิ่งที่ผิดปกติและ สิ่งที่เบี่ยงเบนจากมาตรฐาน 2.91 1.45 2.45 1.04 -1.177 0.253 2. ติดตามการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงานอย่าง ใกล้ชิดเพื่อติดตามความก้าวหน้าของงาน 3.36 1.12 3.45 1.13 0.289 0.776 3. ผู้บริหารแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเท่านั้น 2.36 1.43 2.82 1.08 0.154 0.876 4. ผู้บริหารคอยให้เกิดความล้มเหลวผิดพลาด เสียก่อนจึงจะเริ่มลงมือดำเนินการ 4.09 1.30 3.64 1.29 0.000 1.000 5. เมื่องานเริ่มต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดจึง เริ่มหาทางแก้ไข 4.09 1.30 4.18 0.75 0.998 0.330 6. ผู้บริหารจะไม่เข้าไปแก้ไขปัญหาจนกว่า ปัญหานั้นจะถึงขั้นรุนแรง 4.00 1.00 3.45 1.21 0.848 0.407 7. ใช้กฎระเบียบอย่างเคร่งครัดเพื่อไม่ให้เกิด การผิดพลาด 4.00 1.00 4.09 0.94 -0.190 0.851 8. จะต้องมีอะไรผิดพลาดเสียก่อนผู้บริหาร จึงจะเริ่มดำเนินการตรวจสอบและแก้ไข 4.27 0.79 3.82 0.60 -0.840 0.411 9. ค้นหาศักยภาพของผู้ร่วมงานก่อนที่จะให้ ความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน 4.36 0.81 4.00 0.89 0.824 0.420 *p<0.05 จากตารางที่ 6 พบว่า ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนของผู้บริหารด้านการบริหารแบบวางเฉย ตามการรับรู้ของตนเอง ตามรายข้อผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 52 ตารางที่ 7 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของ ผู้บริหาร ด้านความเสน่หา ตามการรับรู้ของตนเอง และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ประพฤติตนเป็นตัวอย่างแก่ผู้ร่วมงาน 4.09 1.30 4.18 0.75 -0.201 0.843 2. ถ่ายทอดความคิดเกี่ยวกับค่านิยมและ ความเชื่อแก่ผู้ร่วมงาน 4.00 1.00 3.45 1.21 1.150 0.264 3. ควบคุมอารมณ์ได้ในสถานการณ์วิกฤติ 4.00 1.00 4.09 0.94 -0.219 0.829 4. เน้นความสำคัญในสิ่งที่ผู้ร่วมงานเชื่อมั่น ที่จะไปสู่ความสำเร็จ 4.27 0.79 3.82 0.60 1.521 0.144 5. ทำให้ผู้ร่วมงานเกิดความภาคภูมิใจเมื่อได้ ร่วมงาน 4.36 0.81 4.00 0.89 1.000 0.329 6. ระบุความสำคัญของวัตถุประสงค์และเป้า หมายในการดำเนินงานอย่างชัดเจน 4.09 1.14 4.09 0.83 0.000 1.000 7. เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ ของส่วนรวม 4.18 1.17 4.18 0.60 0.000 1.000 8. ตัดสินในโดยคำนึกถึงผลที่ตามมาทั้งด้าน ศีลธรรมและจริยธรรม 4.36 1.21 4.18 0.75 0.424 0.676 9. ผู้บริหารให้ความมั่นใจว่าจะฟันฝ่า อุปสรรค ต่างๆ ได้ 4.00 1.18 4.00 0.77 0.000 1.000 10. ผู้บริหารแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นใน อุดมคติความเชื่อ และค่านิยม 4.36 0.81 4.18 0.60 0.598 0.557 11. ผู้บริหารแสดงให้เห็นว่าเป็นคนที่มีความ เฉลียวฉลาด และมีสมรรถภาพสูงในการ ปฏิบัติงาน 3.91 0.70 4.36 0.50 -1.746 0.096 12. ผู้บริหารแสดงจุดยืนที่ชัดเจนในการแสดง ข้อคิดเห็นต่อปัญหาโต้แย้ง ที่เกิดขึ้น 8.09 12.92 4.18 0.60 1.002 0.328 13. ปฏิบัติตนให้คงเส้นคงวาเพื่อให้ ผู้ร่วมงานนับถือ 4.09 0.70 4.36 0.67 -0.930 0.363 14. ระบุจุดประสงค์หลักในการทำงานให้แก่ผู้ ร่วมงานได้อย่างชัดเจน 4.27 0.79 4.27 0.65 0.000 1.000 53 ตารางที่ 7 (ต่อ) โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 15. แสดงให้เห็นถึงความมีอำนาจและความเชื่อ มั่นในตนเองในการตัดสินใจ 3.91 0.70 4.36 0.50 -1.746 0.096 16. ส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานมีความสามัคคีกัน ซึ่ง จะช่วยให้ชนะอุปสรรคได้ 4.18 0.75 4.64 0.50 -1667 0.111 17. แสดงให้ผู้ร่วมงานเห็นถึงการมีภารกิจร่วม กัน 4.27 0.79 4.55 0.52 -0.958 0.349 18. ปฏิบัติตนได้สอดคล้องกับค่านิยมที่กำหนด ไว้ 4.09 1.22 3.91 0.54 0.452 0.656 * p<0.05 จากตารางที่ 7 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านความเสน่หา ตามการ รับรู้ของตนเอง ตามรายข้อผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ได้รับการรับรอง มาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 54 ตารางที่ 8 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของ ผู้บริหาร ด้านการดลใจ ตามการรับรู้ของตนเอง และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ตั้งมาตรฐานในการทำงานสูง 3.91 1.04 3.82 0.60 0.250 0.805 2. มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและมีความเป็นไป ได้ในทางปฏิบัติ 4.09 0.94 3.91 0.83 0.479 0.637 3. เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี 4.09 0.83 4.00 0.77 0.265 0.793 4. สร้างความมั่นใจแก่ผู้ร่วมงานว่าจะปฏิบัติ งานได้บรรลุเป้าหมาย 4.09 0.83 4.00 0.63 0.289 0.776 5. ผู้บริหารให้กำลังใจ แกผู้ร่วมงานอย่าง ต่อเนื่อง 4.45 0.69 4.00 1.18 1.102 0.284 6. ผู้บริหารให้ความสนใจต่อผู้ร่วมงานเพื่อ ให้งานเกิดผลสำเร็จ 4.55 0.69 4.09 0.94 1.291 0.211 7. ผู้บริหารมีความกระตือรือร้นที่จะทำงาน ให้สำเร็จ 4.18 1.08 4.00 0.63 0.482 0.635 8. กระตุ้นให้ผู้ร่วมงานตระหนักถึงสิ่งที่ควร ได้รับจากผลการปฏิบัติงาน 4.00 1.10 4.18 0.75 -0.454 0.655 9. ผู้บริหารแสดงให้เห็นภาพอนาคตที่ น่าสนใจได้อย่างชัดเจน 3.91 0.94 3.82 0.40 0.294 0.772 10. แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะทำงานให้ สำเร็จตามที่กำหนดไว้ 4.18 0.60 4.18 0.75 0.000 1.000 *p < 0.05 จากตารางที่ 8 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านการดลใจ ตามการ รับรู้ของตนเอง ตามรายข้อผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ได้รับการรับรอง มาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 55 ตารางที่ 9 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพ ของผู้บริหาร ด้านการมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายคน ตามการรับรู้ของตนเอง และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานในฐานะที่เป็นบุคคลที่ มีความสามารถกว่าฐานะเป็นสมาชิกของ กลุ่ม 4.18 0.60 4.36 0.67 -0.667 0.513 2. รับฟังเรื่องของผู้ร่วมงานอย่างตั้งใจ 4.27 0.47 4.00 1.00 0.820 0.422 3. ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ร่วมงาน ต่อความก้าวหน้าของงาน 4.09 0.70 4.18 0.75 -0.294 0.772 4. กระตุ้นให้ผู้ร่วมงานนำศักยภาพของตน เองออกมาใช้ 3.91 0.83 4.18 0.87 -0.750 0.462 5. เสียสละเวลาในการสอนและแนะนำแก่ ผู้ร่วมงาน 3.91 0.83 4.18 0.75 -0.808 0.429 6. ปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานโดยคำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคลทั้งในด้านความ ต้องการและความสามารถ 4.18 0.17 3.91 0.94 0.602 0.554 7. แนะนำผู้ร่วมงานวิเคราะห์เกี่ยวกับการ ความต้องการและความสามารถของผู้อื่น 3.64 1.03 4.09 0.94 -1.081 0.293 8. ส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานพัฒนาตนเอง อยู่เสมอ 4.18 0.98 4.18 0.75 0.000 1.000 9. ให้ความสนใจแกผู้ร่วมงาน โดยเสมอภาค ทุกคน 4.18 0.75 4.27 0.65 -0.304 0.764 * p<0.05 จากตารางที่ 9 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านการมุ่งความสัมพันธ์ เป็นรายคน ตามการรับรู้ของตนเอง ตามรายข้อผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและ ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 56 ตารางที่ 10 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพ ของผู้บริหาร ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา ตามการรับรู้ของตนเอง และสถานภาพ โรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ผู้บริหาร (n = 11) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ผู้บริหารยกประเด็นต่างๆ เพื่อมาเป็นข้อ สันนิษฐานในการแก้ไขปัญหา 4.09 0.70 3.91 0.94 0.513 0.614 2. ตรวจสอบข้อสันนิษฐานของปัญหาที่ สำคัญว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ 4.18 0.60 4.18 0.75 0.000 1.000 3. ส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานนำเรื่องที่ยังไม่เป็น ปัญหาขึ้นมาคิดพิจารณาและคาดการณ์ 3.73 0.90 3.91 0.70 -0.527 0.604 4. แสดงความไม่มั่นใจในวิธีการทำงานแบบ เดิมๆ 3.00 1.34 3.36 1.21 -0.669 0.511 5. หาแนวทางต่างๆ ในการแก้ปัญหาไว้ หลายๆ ด้าน 3.91 0.94 4.27 0.65 -1.054 0.304 6. เสนอแนะวิธีการใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน แก่ผู้ร่วมงาน 4.18 0.87 4.36 0.50 -0.598 0.557 7. ส่งเสริมและให้โอกาสแก่ผู้ร่วมงานได้ แสดงความคิดเห็นและแง่คิดต่างๆ 4.18 0.87 4.55 0.69 -1.085 0.291 8. แนะนำให้ผู้ร่วมงานมองปัญหาในหลายๆ ด้าน 4.27 0.90 4.36 0.67 -0.267 0.792 9. สนับสนุนให้ผู้ร่วมงานคิดแก้ปัญหาที่เกิด ขึ้นด้วยวิธีการใหม่ๆ ที่ทันสมัย 4.09 1.04 4.45 0.52 -1.033 0.314 10. ส่งเสริมให้ระบุปัญหาโดยการใช้เหตุผล และหลักฐานมากกว่าการคาดเดาในการ แก้ปัญหา 4.00 1.00 4.36 0.67 -1.000 0.329 *p< 0.05 จากตารางที่ 10 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านการกระตุ้นการใช้ ปัญญา ตามการรับรู้ของตนเอง ตามรายข้อผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 57 ตารางที่ 11 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน ของผู้บริหาร ด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์ ตามการรับรู้ของครู และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ครู (n = 153) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ครู (n = 155) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ผู้บริหารจะให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้ร่วมงาน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับการสนับสนุน จากผู้ร่วมงาน 3.31 0.91 3.12 1.07 1.684 0.093 2. ผู้บริหารบอกกับผู้ร่วมงานอย่างชัดเจนว่า จะได้รับอะไร ถ้าทำงานสูงถึงเกณฑ์ที่ กำหนด 3.27 0.91 3.14 1.08 1.161 0.247 3. สร้างความเข้าใจกับผู้ร่วมงานให้ชัดเจนว่า งานอะไรที่ควรทำ 3.69 0.85 3.70 0.85 -0.108 0.914 4. ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อทำงานได้ สำเร็จลุล่วง 3.58 0.78 3.66 0.86 -0.886 0.376 5. ให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมงานเพื่อแลก เปลี่ยนกับประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 3.72 0.85 3.67 0.80 0.512 0.609 6. บอกผู้ร่วมงานในสิ่งที่ต้องทำเพื่อจะได้รับ รางวัลจากความพยายามในการทำสิ่งนั้น 3.45 0.87 3.40 0.83 0.526 0.599 7. ทำให้ผู้ร่วมงานมั่นใจว่าจะได้รับรางวัลที่ เหมาะสมจากการปฏิบัติงานได้สำเร็จ 3.42 0.88 3.42 0.90 -0.010 0.992 8. ผู้ร่วมงานได้รับความเชื่อถือเมื่อผลงานที่ ทำออกมาดี 3.68 0.83 3.69 0.83 -0.112 0.911 9. แสดงความพึงพอใจเมื่อผู้ร่วมงานทำงาน ประสบความสำเร็จ 3.82 0.88 3.76 0.92 0.542 0.588 *p<0.05 จากตารางที่ 11 พบว่า ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนของผู้บริหารด้านการให้รางวัลตาม สถานการณ์ ตามการรับรู้ของครู ตามรายข้อครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ได้รับ การรับรองมาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 58 ตารางที่ 12 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนของ ผู้บริหาร ด้านการบริหารแบบวางเฉย ตามการรับรู้ของครู และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ครู (n = 153) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ครู (n = 155) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ให้ความสนใจในสิ่งที่ผิดปกติและ สิ่งที่เบี่ยงเบนจากมาตรฐาน 3.61 0.88 3.71 0.84 -1.039 0.300 2. ติดตามการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงานอย่าง ใกล้ชิดเพื่อติดตามความก้าวหน้าของงาน 3.63 0.89 3.62 0.82 0.150 0.881 3. ผู้บริหารแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเท่านั้น 2.95 1.06 2.89 1.02 0.483 0.629 4. ผู้บริหารคอยให้เกิดความล้มเหลวผิดพลาด เสียก่อนจึงจะเริ่มลงมือดำเนินการ 2.49 1.16 2.70 1.08 -1.616 0.107 5. เมื่องานเริ่มต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดจึง เริ่มหาทางแก้ไข 2.79 1.12 2.92 1.05 -1.015 0.311 6. ผู้บริหารจะไม่เข้าไปแก้ไขปัญหาจนกว่า ปัญหานั้นจะถึงขั้นรุนแรง 2.73 1.10 2.90 1.06 -1.394 0.164 7. ใช้กฎระเบียบอย่างเคร่งครัดเพื่อไม่ให้เกิด การผิดพลาด 3.22 0.97 3.30 1.04 -0.705 0.481 8. จะต้องมีอะไรผิดพลาดเสียก่อนผู้บริหาร จึงจะเริ่มดำเนินการตรวจสอบและแก้ไข 2.62 1.00 2.87 1.00 -2.196* 0.029 9. ค้นหาศักยภาพผู้ร่วมงานก่อนที่จะให้ ความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน 3.59 0.87 3.54 0.85 0.473 0.636 *p<0.05 จากตารางที่ 12 พบว่า ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนของผู้บริหารด้านการบริหารแบบ วางเฉย ตามการรับรู้ของครู ตามรายข้อที่รับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือข้อที่ 8 โดยครูในโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ว่าจะต้องมีอะไรผิด พลาดเสียก่อน ผู้บริหารจึงจะเริ่มดำเนินการตรวจสอบ และแก้ไขมากกว่าครูในโรงเรียนเอกชนที่ ได้รับการรับรองมาตรฐาน 59 ตารางที่ 13 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของ ผู้บริหาร ด้านความเสน่หา ตามการรับรู้ของครู และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ครู (n = 153) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ครู (n = 155) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ประพฤติตนเป็นตัวอย่างแก่ผู้ร่วมงาน 4.01 0.87 3.92 0.73 0.916 0.361 2. ถ่ายทอดความคิดเกี่ยวกับค่านิยมและ ความเชื่อแก่ผู้ร่วมงาน 3.76 0.81 3.81 0.81 -0.451 0.625 3. ควบคุมอารมณ์ได้ในสถานการณ์วิกฤติ 3.76 0.83 3.72 0.83 0.446 0.656 4. เน้นความสำคัญในสิ่งที่ผู้ร่วมงาน เชื่อมั่นที่จะไปสู่ความสำเร็จ 3.77 0.84 3.78 0.78 -0.102 0.919 5. ทำให้ผู้ร่วมงานเกิดความภาคภูมิใจเมื่อได้ ร่วมงาน 3.78 0.83 3.75 0.91 0.298 0.766 6. ระบุความสำคัญของวัตถุประสงค์และเป้า หมายในการดำเนินงานอย่างชัดเจน 3.93 0.83 3.83 0.87 0.988 0.324 7. เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ ของส่วนรวม 3.90 0.88 3.72 0.92 1.815 0.071 8. ตัดสินใจโดยคำนึงถึงผลที่ตามมาทั้งด้าน ศีลธรรมและจริยธรรม 3.98 0.85 3.79 0.90 1.866 0.063 9. ผู้บริหารให้ความมั่นใจว่าจะฟันฝ่า อุปสรรคต่างๆ ได้ 3.95 0.86 3.83 0.82 1.345 0.180 10. ผู้บริหารแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นใน อุดมคติความเชื่อ และค่านิยม 3.86 0.87 3.88 0.84 -0.216 0.29 11. ผู้บริหารแสดงให้เห็นว่าเป็นคนที่มีความ เฉลียวฉลาด และมีสมรรถภาพสูงในการ ปฏิบัติงาน 4.00 0.86 3.75 0.83 2.621* 0.009 12. ผู้บริหารแสดงจุดยืนที่ชัดเจนในการแสดง ข้อคิดเห็นต่อปัญหาโต้แย้ง ที่เกิดขึ้น 3.88 0.90 3.74 0.85 1.343 0.180 13. ปฏิบัติตนให้คงเส้นคงวาเพื่อให้ ผู้ร่วมงานนับถือ 3.83 0.94 3.71 0.95 1.117 0.265 14. ระบุจุดประสงค์หลักในการทำงานให้แก่ผู้ ร่วมงานได้อย่างชัดเจน 3.89 0.80 3.79 0.97 1.003 0.317 60 ตารางที่ 13 (ต่อ) โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ครู (n = 153) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ครู (n = 155) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 15. แสดงให้เห็นถึงความมีอำนาจและความเชื่อ มั่นในตนเองในการตัดสินใจ 3.88 0.88 3.74 0.88 1.337 0.182 16. ส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานมีความสามัคคีกัน ซึ่ง จะช่วยให้ชนะอุปสรรคได้ 3.93 0.89 3.89 0.89 0.378 0.706 17. แสดงให้ผู้ร่วมงานเห็นถึง การมีภารกิจร่วมกัน 4.05 0.78 3.94 0.91 1.206 0.229 18. ปฏิบัติตนได้สอดคล้องกับค่านิยมที่กำหนด ไว้ 3.78 0.79 3.86 0.82 -0.877 0.381 *p<0.05 จากตารางที่ 13 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านความเสน่หา ตาม การรับรู้ของครู ตามรายข้อที่รับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือข้อที่ 11 โดยครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ว่าผู้บริหารแสดงให้เห็นว่าเป็นคนที่มี ความเฉลียวฉลาด และมีสมรรถภาพสูงในการปฏิบัติงานมากกว่าครูโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับ การรับรองมาตรฐาน 61 ตารางที่ 14 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพ ของผู้บริหาร ด้านการดลใจ ตามการรับรู้ของครู และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ครู (n = 153) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ครู (n = 155) t ย ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ตั้งมาตรฐานในการทำงานสูง 3.80 0.84 3.85 0.77 -0.520 0.604 2. มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและมีความเป็นไป ได้ในทางปฏิบัติ 3.92 0.97 3.79 0.92 1.128 0.260 3. เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี 3.86 0.84 3.76 0.89 1.026 0.306 4. สร้างความมั่นใจแก่ผู้ร่วมงานว่าจะปฏิบัติ งานได้บรรลุเป้าหมาย 3.84 0.84 3.85 0.85 -0.021 0.983 5. ผู้บริหารให้กำลังใจ แก่ผู้ร่วมงานอย่าง ต่อเนื่อง 3.76 0.86 3.75 0.89 0.164 0.870 6. ผู้บริหารให้ความสนใจต่อผู้ร่วมงานเพื่อ ให้งานเกิดผลสำเร็จ 3.79 0.90 3.75 0.90 0.351 0.726 7. ผู้บริหารมีความกระตือรือร้นที่จะทำงาน ให้สำเร็จ 3.84 0.95 3.86 0.90 -0.203 0.840 8. กระตุ้นให้ผู้ร่วมงานตระหนักถึงสิ่งที่ควร ได้รับจากผลการปฏิบัติงาน 3.74 0.85 3.85 0.83 -1.183 0.238 9. ผู้บริหารแสดงให้เห็นภาพอนาคตที่น่า สนใจได้อย่างชัดเจน 3.77 0.89 3.81 0.86 -0.352 0.725 10. แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะทำงานให้ สำเร็จตามที่กำหนดไว้ 3.84 0.86 3.77 0.88 0.760 0.448 *p<0.05 จากตารางที่ 14 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านการดลใจ ตามการ รับรู้ของครู ตามรายข้อครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 62 ตารางที่ 15 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพ ของผู้บริหาร ด้านการมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายคน ตามการรับรู้ของครู และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ครู (n = 153) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ครู (n = 155) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานในฐานะที่เป็นบุคคลที่ มีความสามารถกว่าฐานะเป็นสมาชิกของ กลุ่ม 3.73 0.83 3.65 0.90 0.815 0.416 2. รับฟังเรื่องของผู้ร่วมงานอย่างตั้งใจ 3.84 0.93 3.82 0.89 0.230 0.818 3. ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ร่วมงาน ต่อความก้าวหน้าของงาน 3.89 0.94 3.88 0.89 0.048 0.962 4. กระตุ้นให้ผู้ร่วมงานนำศักยภาพของตน เองออกมาใช้ 3.80 0.93 3.87 0.90 -0.644 0.520 5. เสียสละเวลาในการสอนและแนะนำแก่ ผู้ร่วมงาน 3.78 0.92 3.79 0.93 -0.026 0.979 6. ปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานโดยคำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคลทั้งในด้านความ ต้องการและความสามารถ 3.68 0.89 3.81 0.88 -1.322 0.187 7. แนะนำผู้ร่วมงานวิเคราะห์เกี่ยวกับการ ความต้องการและความสามารถของผู้อื่น 3.67 0.83 3.71 0.91 -0.366 0.714 8. ส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานพัฒนาตนเอง อยู่เสมอ 3.96 0.92 3.90 0.93 0.607 0.544 9. ให้ความสนใจแกผู้ร่วมงาน โดยเสมอภาคทุกคน 3.65 0.99 3.64 0.90 0.077 0.938 *p< 0.05 จากตารางที่ 15 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านการมุ่งความสัมพันธ์ เป็นรายคน ตามการรับรู้ของครู ตามรายข้อครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ได้รับ การรับรองมาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 63 ตารางที่ 16 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของภาวะผู้นำแบบเปลี่ยน สภาพของผู้บริหาร ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา ตามการรับรู้ของครู และสถานภาพโรงเรียน จำแนกตามรายข้อ โรงเรียนเอกชน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ครู (n = 153) ยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ครู (n = 155) t p ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร X S.D. X S.D. 1. ผู้บริหารยกประเด็นต่างๆ เพื่อมาเป็นข้อ สันนิษฐานในการแก้ไขปัญหา 3.71 0.83 3.62 0.89 0.879 0.380 2. ตรวจสอบข้อสันนิษฐานของปัญหาที่ สำคัญว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ 3.75 0.85 3.70 0.84 0.503 0.616 3. ส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานนำเรื่องที่ยังไม่เป็น ปัญหาขึ้นมาคิดพิจารณาและ คาดการณ์ 3.51 0.90 3.65 0.93 -1.299 0.195 4. แสดงความไม่มั่นใจในวิธีการทำงานแบบ เดิมๆ 3.27 0.97 3.49 0.96 -1.955 0.052 5. หาแนวทางต่างๆ ในการแก้ปัญหาไว้ หลายๆ ด้าน 3.66 0.87 3.66 0.92 0.020 0.984 6. เสนอแนะวิธีการใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน แก่ผู้ร่วมงาน 3.78 0.86 3.79 0.82 -0.029 0.977 7. ส่งเสริมและให้โอกาสแก่ผู้ร่วมงานได้ แสดงความคิดเห็นและแง่คิดต่างๆ 3.78 0.88 3.82 0.84 -0.425 0.671 8. แนะนำให้ผู้ร่วมงานมองปัญหาในหลายๆ ด้าน 3.81 0.87 3.76 0.81 0.512 0.609 9. สนับสนุนให้ผู้ร่วมงานคิดแก้ปัญหาที่เกิด ขึ้นด้วยวิธีการใหม่ๆ ที่ทันสมัย 3.86 0.86 3.83 0.87 0.308 0.758 10. ส่งเสริมให้ระบุปัญหาโดยการใช้เหตุผล และหลักฐานมากกว่าการคาดเดาในการ แก้ปัญหา 3.84 0.90 3.95 0.87 -1.111 0.267 *p<0.05 จากตารางที่ 16 พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหารด้านการกระตุ้นการใช้ ปัญญา ตามการรับรู้ของครู ตามรายข้อครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองและยังไม่ได้รับการ รับรองมาตรฐานรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานและยัง ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ใน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นโรงเรียนเอกชนที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยม ศึกษาตอนปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 22 คน และครูผู้สอนจำนวน 314 คน รวมทั้งหมด 336 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบ สอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงจากแบบสอบถามของประเสริฐ สมพงษ์ (2538 : 375-385) ที่สร้างขึ้น โดยใช้ทฤษฎีภาวะผู้นำของบาส (Bass) ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการสถิติทดสอบค่า t (t-test) โดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS (Statistical Package for Social Science) ผู้วิจัยได้ดำเนินการสรุปผล และอภิปรายผล ดังต่อไปนี้ 1. สรุปผลการวิจัย 2. การอภิปรายผล 3. ข้อเสนอแนะของการวิจัย สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษา “ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาเอกชน ในกรุงเทพมหานคร” ปรากฏผล ดังนี้ 1. สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้บริหารโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 63.60 มีอายุ 46 ปีขึ้นไป ร้อยละ 54.50 ระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 63.60 และมีประสบการณ์ในการทำงาน 16 ปีขึ้นไป ร้อยละ 59.10 ครูผู้สอนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.00 มีอายุระหว่าง 25-35 ปี ร้อยละ 40.60 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 85.10 และมีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 11-15 ปี ร้อยละ 29.90 และ 16 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 29.90 2. เปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน คุณภาพการศึกษาและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา รับรู้การใช้ภาวะผู้นำของ 65 ตนเองไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาตามรายด้าน พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนทั้ง 2 กลุ่ม ใช้ภาวะผู้นำด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์ ด้านความเสน่หา ด้านการดลใจ ด้านการมุ่งความ สัมพันธ์เป็นรายคน และด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา อยู่ในระดับสูง และใช้ภาวะผู้นำด้านการ บริหารแบบวางเฉย อยู่ในระดับปานกลาง 3. เปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารตามการรับรู้ของครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับ รองมาตรฐานและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา พบว่า รับรู้ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาตามรายด้าน พบว่า ด้านความเสน่หา ด้านการดลใจ ด้านการมุ่งสัมพันธ์เป็นรายคน และการกระตุ้นการใช้ปัญญา ครูโรงเรียนเอกชนทั้ง 2 กลุ่ม รับรู้อยู่ในระดับสูง ส่วนด้านการให้ รางวัลตามสถานการณ์ ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรู้อยู่ในระดับสูง ส่วน ครูโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการบริหาร แบบวางเฉย ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ในระดับปานกลาง และครู โรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรู้ในระดับสูง 4. เปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน และยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ตามการรับรู้ของตนเอง เมื่อพิจารณาตาม รายข้อ พบว่า ผู้บริหารทั้ง 2 กลุ่ม รับรู้ไม่แตกต่างกัน 5. เปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน และ ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ตามการรับรู้ของครูเมื่อพิจารณาตามรายข้อพบ ว่า ในด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์ด้านการดลใจ ด้านการมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายคน และ ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญาครูรับรู้ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านการบริหารแบบวางเฉยครูโรงเรียน เอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ว่าจะต้องมีอะไรผิดพลาดเสียก่อนผู้บริหารจึงจะ ดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขมากกว่า ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ส่วนด้าน ความเสน่หา พบว่า ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ว่าผู้บริหารแสดงใหเห็น ว่าเป็นคนที่มีความเฉลียวฉลาด และมีสมรรถภาพสูงในการปฏิบัติงานมากกว่าครูโรงเรียนเอกชน ที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน  66 การอภิปรายผล จากข้อค้นพบที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาเอกชน ในกรุงเทพมหานคร นำมาอภิปรายเพื่อขยายผลการวิจัยตาม วัตถุประสงค์ ได้ดังนี้ 1. ศึกษาภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหาร โรงเรียนเอกชน ตามการรับรู้ของตนเอง ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนใช้ภาวะผู้นำแบบ เปลี่ยนสภาพในระดับสูงทุกด้าน ส่วนภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนผู้บริหารโรงเรียนใช้ภาวะผู้นำใน ด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์ในระดับสูง ส่วนด้านการบริหารแบบวางเฉยใช้ในระดับปาน กลาง ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ผู้บริหารใช้กระบวนการที่ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความรู้สึกไว้วางใจ ยินดี จงรักภักดี และนับถือ ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นผู้ที่มีศักยภาพเป็นนักพัฒนา เป็นผู้เสริม แรงได้ด้วยตนเอง ควบคุมตัวเองได้ เพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความพยายามในการปฏิบัติงานสูง ขึ้นกว่าปกติ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของประเสริฐ สมพงษ์ธรรม (2538 : 54) ที่พบว่า ภาวะ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงสามารถช่วยเสริมประสิทธิผลขององค์การได้และการที่ผู้บริหารรับรู้ว่า ตนเองใช้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพตามคุณลักษณะแต่ละด้าน เพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดขวัญ และแรงจูงใจในการทำงาน และทุ่มเทความพยายามที่จะทำงานให้ได้มากกว่าองค์การคาดหวังไว้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของทิชชี และ เดวานน่า (Tichy and Devanna, 1986 : 19) ที่ได้ศึกษา ภาวะผู้นำการเปลี่ยนสภาพ คือ เป็นผู้นำการเปลี่ยนสภาพโดยเปลี่ยนสภาพองค์การที่ตนรับผิด ชอบไปสู่เป้าหมายที่ดีกว่าและเสริมแรงผลักดันให้การปฏิบัติงานเพื่อบรรลุเป้าหมายที่มีคุณค่า เมื่อพิจารณาการใช้ภาวะผู้นำแต่ละด้าน พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนที่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน ใช้ภาวะผู้นำด้านความเสน่หา สูงกว่าทุกด้านคือ X = 4.36, S.D. = 0.96 ส่วน ผู้บริหารโรงเรียนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ใช้ภาวะผู้นำด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา สูง กว่าทุกด้าน คือ X = 4.17, S.D. = 0.41 ซึ่งแสดงว่า ผู้บริหารใช้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพมาก กว่า ภาวะผู้นำ แบบแลกเปลี่ยน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะคุณลักษณะด้านความเสน่หาเป็น คุณลักษณะที่แสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็นถึงความกล้าที่จะเผชิญปัญหา มีความสามารถในการ แก้ปัญหาอย่างเป็นธรรม มีความสามารถในการจูงใจที่เหมาะสม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ใต้บังคับบัญชาปรารถนาและคาดหวังในตัวผู้บริหาร ทำนองเดียวกับการกระตุ้นการ ใช้ปัญญา ที่เป็นการกระตุ้นให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความคิดในการสร้างสรรค์ มีการแสวงหา เทคนิค และวิธีการใหม่ๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนางาน ซึ่งสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน การบริหารงานโรงเรียนตามโครงการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาเอกชน (2541 : 5) ที่มุ่ง เน้นการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชนเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศของการ 67 ศึกษาในโรงเรียนเอกชน ดังนั้นการที่ผู้บริหารใช้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพย่อมส่งผลต่อ ประสิทธิผลของโรงเรียนด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุผล สำเร็จ 2. ศึกษาภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของผู้บริหาร โรงเรียนเอกชน ตามการรับรู้ของครู ผลการวิจัย พบว่า ครูรับรู้ว่าผู้บริหารใช้ภาวะผู้นำแบบ เปลี่ยนสภาพในระดับสูงทุกด้าน ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของวินัย ฉิมวงศ์ (2542 : 4) ที่พบ ว่า ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของผู้บริหารตามการรับรู้ของข้าราชการครูอยู่ในระดับสูง ส่วนภาวะ ผู้นำแบบแลกเปลี่ยน ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรู้ว่าผู้บริหารใช้ภาวะ ผู้นำด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์อยู่ในระดับสูง ซึ่งต่างกับครูโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับ การรับรองมาตรฐานที่รับรู้ว่าผู้บริหารใช้ภาวะผู้นำด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์ อยู่ในระดับ ปานกลาง โดยผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับผลการศึกษาของอภิวรรณา แก้วเล็ก (2542 : ฆ) ที่พบว่า คุณลักษณะด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน อาจเป็นเพราะว่าการให้รางวัลตามสถานการณ์เป็นปัจจัยสำคัญในการ บริหาร รางวัลที่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่างเหมาะสมอาจทำได้โดยการชมเชยเมื่อปฏิบัติงานดี การ ให้บรรยากาศการทำงานดี ปลอดภัย การให้การยอมรับจากสาธารณชนต่อการทำงานที่ดี รวมทั้ง การให้คำอธิบายอย่างชัดเจนกับผู้ใต้บังคับบัญชา การตรวจดูผลงานบ่อยครั้ง ทำให้ผู้ใต้บังคับ บัญชามีกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สูงขึ้น ส่งผลให้การดำเนินงานการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนคุณลักษณะด้านการบริหารแบบวางเฉย ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับรองมาตรฐานรับรู้ว่า ผู้บริหารใช้ภาวะผู้นำอยู่ในระดับปานกลาง และครูโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรอง มาตรฐานรับรู้ว่าผู้บริหารใช้ภาวะผู้นำในระดับสูง ซึ่งส่งผลในลักษณะผกผันกับการดำเนินการรับ รองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา กล่าวคือ ผู้บริหารโรงเรียนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจะไม่เข้า ไปยุ่งเกี่ยวจนกว่าจะมีการผิดพลาดเกิดขึ้น จึงเข้าไปแก้ไข โดยใช้การลงโทษ ซึ่งเป็นแรงเสริม ทางลบ จึงทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง แต่ในขณะเดียวกัน หากผู้บริหารใช้การบริหารแบบวางเฉยบ่อยๆ หรือมากๆ จะทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาพยายาม หลีกเลี่ยงงาน ปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายไปวันๆ เพียงเพื่อมิให้เกิดความผิดพลาดเท่านั้น ดังนั้น เมื่อผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานใช้ภาวะผู้นำด้านการบริหาร แบบวางเฉย อยู่ในระดับสูง จึงส่งผลให้การพัฒนาโรงเรียนเป็นไปด้วยความลำบาก และขาด ประสิทธิภาพ 3. เปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรอง และยังไม่ได้ รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ตามการรับรู้ของตนเองและครู ผลการวิจัย พบว่า 68 ผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนทั้ง 2 กลุ่ม รับรู้การใช้ภาวะผู้นำไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างไรก็ตามการที่ผู้บริหารและครูทั้ง 2 กลุ่ม รับรู้การใช้ภาวะผู้นำไม่แตกต่างกัน อาจเป็นเพราะว่านโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาเอกชนที่ส่งเสริมให้โรงเรียนเอกชนร่วมมือดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา และ กระตุ้นให้โรงเรียนเอกชนจัดให้มีระบบการตรวจสอบ และประเมินตนเองให้เป็นปัจจุบัน จึงส่งผลให้ผู้บริหารโรงเรียนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน และพัฒนาโรงเรียนให้เป็นที่ยอม รับ ซึ่งผลงานวิจัยของบาส (Bass, 1991 : 7) ที่รวบรวมหลายชิ้น ยืนยันว่า ลักษณะของภาวะผู้นำ แบบแลกเปลี่ยนและแบบเปลี่ยนสภาพมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ที่มีความเจริญ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี และโกซ์ (Koh, 1990 : 602) ได้ศึกษาความตรงของทฤษฎี ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน และแบบเปลี่ยนสภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสิงค์โปร์ พบว่า ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพไม่มีผลโดยตรงต่อการปฏิบัติงานของโรงเรียนแต่เป็นผลต่อการปฏิบัติ งานของโรงเรียนรวมกับตัวแปรอื่นๆ ซึ่งสอดคล้องกับกมลวรรณ ชัยวาณิชศิริ (2536 : บทคัดย่อ) ที่ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียนเอกชน ผลการวิจัย พบว่า ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพของบาส สามารถทำนายประสิทธิผลของโรงเรียน เอกชนที่ผู้บริหารเป็นครูใหญ่ และผู้รับใบอนุญาตได้ ส่วนมิกเลอร์ (Migler, 1992 : 786) ได้ ศึกษาลักษณะและแบบผู้นำของผู้บริหารสถาบันการศึกษาอาชีพ และวิทยาลัยเทคนิคของรัฐ มินเนโซต้า ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารของสถาบันการศึกษาอาชีพ และวิทยาลัยเทคนิคมีพฤติ กรรมมุ่งเน้นมิติสัมพันธ์ และมิติริเริ่มโครงสร้างเท่ากัน และยังพบว่า ใช้พฤติกรรมเปลี่ยนสภาพ สูงกว่าพฤติกรรมการแลกเปลี่ยน และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างผู้บริหารทั้ง 2 กลุ่มนี้ พบว่า ผู้บริหารมีพฤติกรรมมิติสัมพันธ์กับมิติริเริ่มโครงสร้าง และพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงกับ พฤติกรรมการแลกเปลี่ยนไม่แตกต่างกัน แต่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในความ ไม่แน่นอนและความซับซ้อน การอำนวยการบริหารเวลา และการตัดสินใจสั่งการ และพบว่า ผู้บริหารสถาบันการศึกษาอาชีพ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ เมื่อพิจารณาภาวะผู้นำของผู้บริหารเป็นรายข้อ ตามการรับรู้ของตนเอง พบว่า ผู้บริหารทั้ง 2 กลุ่มรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และภาวะผู้นำของ ผู้บริหารตามการรับรู้ของครูทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า รับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือข้อที่ 17 จะต้องมีอะไรผิดพลาดเสียก่อนผู้บริหารจึงจะเริ่มดำเนินการตรวจสอบและแก้ไข และข้อที่ 29 ผู้บริหารแสดงให้เห็นว่าเป็นคนที่มีความเฉลียวฉลาด และมีสมรรถภาพสูงในการ ปฏิบัติงาน ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียนจึงควรปรับปรุงและพัฒนาการใช้ภาวะผู้นำของตนและควร แสดงให้เห็นถึงความสามารถของผบริหารโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านกายภาพ กล่าวคือ ผู้บริหาร โรงเรียนควรดูแลเอาใจใส่เกี่ยวกับการปรับปรุง ซ่อมแซม หรือการวางแผนล่วงหน้า เมื่อมีปัญหา ู้ 69 กล่าวโดยสรุปแล้วจะเห็นได้ว่า ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและภาวะผู้นำแบบเปลี่ยน สภาพส่งผลต่อการดำเนินการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียนจะต้องเลือกใช้ภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ซึ่งบาส (Bass, 1990 : 4) กล่าวไว้ว่า ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพต่างก็มีส่วนเสริมและ สนับสนุนซึ่งกันและกัน ซึ่งจะนำไปสู่การปฏิบัติงานที่มากกว่าที่คาดหวังไว้ นั่นก็คือ จะส่งผล ต่อประสิทธิผลของโรงเรียนได้มากยิ่งขึ้นนั้นเอง ข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลดังที่ได้กล่าวมาแล้ว และเพื่อให้การวิจัยในครั้ง นี้บรรลุตามจุดประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรู้ภาวะผู้นำของผู้บริหารด้าน การให้รางวัลตามสถานการณ์ อยู่ในระดับสูง และรับรู้ภาวะผู้นำด้านการบริหารแบบวางเฉยใน ระดับปานกลาง ในขณะที่ครูโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ภาวะผู้นำของ ผู้บริหารด้านการให้รางวัลตามสถานการณ์ อยู่ในระดับปานกลาง และรับรู้ภาวะผู้นำด้านการ บริหารแบบวางเฉยในระดับสูง แสดงให้เห็นว่า บริหารควรแสดงภาวะผู้นำด้านการให้รางวัลตาม สถานการณ์ให้ครูได้รับรู้มากขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจว่าเมื่อครูปฏิบัติงานเป็นผลสำเร็จ ครูจะได้ รับสิ่งตอบแทนเพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจ ส่วนด้านการบริหารแบบวางเฉย ผู้บริหารจะ ต้องชี้ให้เห็นจุดบกพร่อง และว่ากล่าวตักเตือน ให้คำแนะนำ ให้การฝึกอบรม ให้กำลังใจ และ ร่วมแก้ไขปัญหา เมื่อครูปฏิบัติงานไม่เป็นผลสำเร็จ และควรพิจารณาโทษเมื่อครูปฏิบัติงานผิด พลาด หรือละเลยต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย 1.2 ภาวะผู้นำของผู้บริหารเป็นรายข้อตามการรับรู้ของครู มีข้อที่รับรู้แตกต่างกัน คือ ครูโรงเรียนเอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานรับรู้ว่าจะต้องมีอะไรผิดพลาดเสียก่อน ผู้บริหารจึงจะเริ่มดำเนินการตรวจสอบแก้ไขมากกว่า ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรอง มาตรฐาน นอกจากนี้ครูโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานยังรับรู้ว่า “ผู้บริหาร แสดง ให้เห็นว่าเป็นคนที่มีความเฉลียวฉลาดและมีสมรรถภาพสูงในการปฏิบัติงานมากกว่าครูโรงเรียน เอกชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน” ดังนั้นผู้บริหารจึงควรแสดงภาวะผู้นำในด้านดังกล่าว 70 ให้เป็นที่ประจักษ์ชัด เพื่อสร้างความเลื่อมใสศรัทธา และความจงรักภักดีต่อผู้บริหาร ครูก็พร้อมที่ จะอุทิศตนทำงานเพื่อความสำเร็จขององค์การ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน และ ไม่ได้รับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษากับความพึงพอใจของผู้ปกครองในกรุงเทพมหานคร 2.2 ศึกษาภาวะผู้นำตามแนวคิดของบาส (Bass) ในกลุ่มผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ ได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน ในกรุงเทพมหานคร บรรณานุกรม ภาษาไทย กมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง. (2539). ศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลโรง พยาบาลชุมชนเขต 6. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการ พยาบาล บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย เชียงใหม่. กมลวรรณ ชัยวาณิชศิริ. (2536). ปัจจัยเกี่ยวข้องกับผู้บริหารที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลของ โรงเรียนเอกชน. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กรรณิการ์ ภิญญาคง. (2541). การประกันคุณภาพกับเส้นทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. 26 ความฝันของ สช. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. หน้า 20 และ 24. กิติ ตยัคฆานนท์. (2535). เทคนิคการสร้างภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ บัตเตอร์ฟลาย. โกวิท ประวาลพฤกษ์. (2541). การพัฒนาวิชาชีพครูตามเกณฑ์วิชาชีพครูของคุรุสภา. กรุงเทพฯ : อัดสำเนา. ธีระ รุญเจริญ. (2535). สถานภาพปัญหาและความต้องการของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. รายงานการวิจัยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บุญยรงค์ นิลวงศ์. (2537). หัวข้อหลักการบริหารทั่วไป. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สีไทย. ประเสริฐ สมพงษ์ธรรม. (2528). การวิเคราะห์ภาวะผู้นำของศึกษาธิการจังหวัดที่สัมพันธ์กับ ประสิทธิผลขององค์การสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด. ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎี บัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เปรมสุรีย์ เชื่อมทอง. (2536). จิตลักษณะของผู้บริหารและสภาวะ การณ์ของกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับ ประสิทธิผลของโรงเรียน. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พงษ์ธาดา สุภาแสน. (2539). ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. 72 พจนา ว่องตระกูล. (2541). อดีต ปัจจุบัน อนาคตของ สช. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร- วิโรฒ ประสานมิตร. วินัย ฉิมวงษ์. (2542). ภาวะผู้นำเชิงจัดการและภาวะผู้นำเชิงปฏิบัติรูปของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในจังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (2543). คู่มือการทำวิทยานิพนธ์. บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. สมคิด บางโม. (2538). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ : นำอักษรการพิมพ์. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. (2543). สถิติการศึกษาเอกชนปีการศึกษา 2543. กลุ่มพัฒนาสารสนเทศกองทะเบียน กระทรวงศึกษาธิการ. _______. (2544). แนวทางการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเอกชนเพื่อขอรับรองมาตรฐาน คุณภาพการศึกษา. หน่วยศึกษานิเทศก์กระทรวงศึกษาธิการ. สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. (2544). ประมวลสาระ ชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการ บริหารการศึกษา หนว่ ยที่ 5-8 บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุมน อมรวิวัฒน์. (2536). หลักและแนวปฏิบัติในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชา ประถมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรพล บัวพิมพ์. (2539). รายงานการพัฒนาผู้นำเพื่อการปรับเปลี่ยนระบบโรงเรียน : อุปนิสัยใหม่ ของจิตวิญญาณหัวใจ. ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สูรินทร์ สุพรรณรัตน์. (2530). ภาวะผู้นำและการบริหาร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร. สุวรรณา ศรีบูรพาภิรมย์. (2543). การบริหารโรงเรียนเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญา 73 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ อภิวรรณา แก้วเล็ก. (2542). ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยม ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษาที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหา บัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภาษาอังกฤษ Argyris, C. (1976). Leadership Learning and Changing the Status Que. Organizational Dynamic. 3 : 29. Bass, Bernard M. (1990). From Transactional to Transformational Leadership Learning Share the Vision. Organizational Dynamic. Blake, Robert R. and Mouton, Jane S. (1978). The New Managerial Gird. Houston Texas : Gulf Publishing, Co., Ltd. Burns, J. M. (1978). Leadership. New York : Harper and Row. Glickman, Garl D. (1990). Supervision of Instruction : A Development Approach. 2nd ed. Boston : Ally and Bacon. Hater, J.J. and Bass, B.M. (1988). Superior Evaluations and Subordinates Perceptions of Transformation and Transactional Leadership. Journal of Applied Psychology, 73 : 695-702. Hersey, Paul, and Blanchard, Kenneth H. (1993). Management of Organization Behavior : Utilizing Human Recourses. Englewood Cliffs, N.J. : A Simon and Sehmaste Company. House, Robert J. (September 1971). A Path Goal Theory of Leader Effectiveness. Administrative Science Quarterly 16, 3 : 321-338. Hoy, Wayne K., and Miskel, Cecil G. (1991). Educational Administration Theory Research and Practice. 4th ed. Singapore : McGraw Hill Inc. Kendrick, Jane Ann. (1988). The Emergence of Transactional Leadership Practice in a School Improvement Effort : A Reflective Study. Dissertation Abstract International, 49 : 1330 74 King, Margaret Irgram. (1990). Extraordinary Leadership in Education : Transformational Leadership as Predictors of Effectiveness, Satisfaction and Organization Climate in K-12 and Higher Education. Dissertation Abstracts International, 50 : 2329A. Koh, William Lok Kiang. (1991). An Empirical Validation of the Theory of Transformational Leadership in Secondary in Singapore. Dissertation Abstracts International, 52 : 602A. Lipham, James M. (1974). Individualized Instruction Unit Method of Teaching Teacher- Administrator Relationships. Madison : Wisconsin Research and Development Center for Cognitive Learning, University of Wisconsin. Migler, Jerome Roy. (1992). Selected Leadership Attributes and Styles of Administrators in Exemplary Vocational Education Institutions and Administrators in Minnesota Technical Colleges. Dissertation Abstracts International, 53 : 786A. Tiehy, N.M., and Devanna. M.A. (July 1986). The Transformational Leader. Training and Development Journal, 40 : 27-32. Vroom, Victor H. (1976). Leadership in Handbook of Industrial and Organization Psychology. Chicago : Rand Meanly : pp. 66-80. Yukl, Gary A. (1989). Leadership in Organization. 2nd ed. Englewood Cliffes, N. J. : Prentice- Hall Inc. ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 77 แบบส อ บถ า มเ พื่อ ก า ร วิ จั ย เ รื่ อ ง ภ า ว ะ ผู้ นํ า ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น เ อ กชน สั ง กั ด สํ า นั ก ง า น ค ณะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ อ ก ช น ใ น ก รุ ง เ ท พม หา นค ร แ บ บ ส อ บถ า มสํ า หรั บ ผู้ บ ริ ห า ร คํ า ชีีี้้ แ จ ง 1. แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร 2. แบบสอบถามนี้มี 2 ตอน จำนวน 70 ข้อ ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 5 ข้อ ตอนที่ 2 ภาวะผู้นำของผู้บริหาร จำนวน 65 ข้อ 3. คำตอบที่ได้จะไม่มีผลต่อท่านแต่ประการใด แต่จะนำไปวิเคราะห์ในภาพรวมเพื่อ ใช้พัฒนาการบริหารการศึกษา จึงใคร่ขอความกรุณาท่านตอบแบบสอบถามให้ครบทุกข้อตาม ความเป็นจริง ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความอนุเคราะห์จากท่านด้วยดี จึงขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ นางสาวยุพดี จันทร์หอมกุล นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 78 แบบส อ บถ า มเ พื่อ ก า ร วิ จั ย เ รื่ อ ง ภ า ว ะ ผู้ นํ า ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น เ อ กชน สั ง กั ด สํ า นั ก ง า น ค ณะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ อ ก ช น ใ น ก รุ ง เ ท พม หา นค ร แบบส อ บถ า มสํ า หรั บ ค รู ผู้ ส อ น คํ า ชีีี้้ แ จ ง 1. แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร 2. แบบสอบถามนี้มี 2 ตอน จำนวน 70 ข้อ ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 5 ข้อ ตอนที่ 2 ภาวะผู้นำของผู้บริหาร จำนวน 65 ข้อ 3. คำตอบที่ได้จะไม่มีผลต่อท่านแต่ประการใด แต่จะนำไปวิเคราะห์ในภาพรวมเพื่อใช้ พัฒนาการบริหารการศึกษา จึงใคร่ขอความกรุณาท่านตอบแบบสอบถามให้ครบทุกข้อตามความ เป็นจริง ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความอนุเคราะห์จากท่านด้วยดี จึงขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ นางสาวยุพดี จันทร์หอมกุล นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 79 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่อง หน้าข้อความที่ตรงกับสถานภาพของท่าน ข้อ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม 1 เพศ สำหรับผู้วิจัย ชาย หญิง [ ] [ ] 2 อายุ น้อยกว่า 25 ปี 25-35 ปี 36-45 ปี 46 ปีขึ้นไป [ ] [ ] [ ] [ ] 3 ระดับการศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี [ ] [ ] [ ] 4 ตำแหน่งหน้าที่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน [ ] [ ] 5 ประสบการณ์ในการทำงาน น้อยกว่า 5 ปี 5-10 ปี 11-15 ปี 16 ปีขึ้นไป [ ] [ ] [ ] [ ] 80 ตอนที่ 2 ภาวะผู้นำของผู้บริหาร คำชี้แจง โปรดอ่านข้อความอย่างละเอียด แล้วเลือกตอบให้ตรงกับความเป็นจริง โดยเขียน ลงในช่องตัวเลือก ระดับการปฏิบัติ ข้อ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด สำหรับ ผู้วิจัย 1 ผู้บริหารจะให้สิ่งตอบแทนแก่ผู้ร่วมงาน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนกับการสนับสนุน จากผู้ร่วมงาน [ ] 2 ผู้บริหารบอกกับผู้ร่วมงานอย่างชัดเจนว่า จะได้รับอะไร ถ้าทำงานสูงถึงเกณฑ์ที่ กำหนด [ ] 3 สร้างความเข้าใจกับผู้ร่วมงานให้ชัดเจน ว่างานอะไรที่ควรทำ [ ] 4 ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อทำงานได้ สำเร็จ ลุล่วง [ ] 5 ให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมงานเพื่อแลก เปลี่ยนกับประสบการณ์ซึ่งกันและกัน [ ] 6 บอกผู้ร่วมงานในสิ่งที่ต้องทำเพื่อจะได้

ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 1)
ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น