วันอาทิตย์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2553

การจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ (ตอนที่ 2)



บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน
กระบวนการทดสอบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ
ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของสารนิพนธ์ DNS Management Via Web ซึ่งมีการแบ่งการ
ทดสอบระบบออกเป็น 5 ส่วนด้วยกันคือ
1. การติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้
2. การประมวลผลของโปรแกรม
3. ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
4. ระบบรักษาความปลอดภัย
5. ความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้
แบ่งผู้ทำการทดสอบดังต่อไปนี้
4.1 ผลการทดสอบระบบด้านต่างๆ ของผู้วิจัย
จากผลทดสอบระบบด้านผลการทดสอบด้วยผู้วิจัย ผลการทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อ
ป้อนข้อมูลไม่ถูกต้องตามที่ข้อมูลนั้นต้องการจะมีข้อความเตือนให้ผู้ใช้ทราบดังนี้
เมื่อทำการใส่ข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่าน ในการเข้าสู่ระบบ DNS Management Via Web
ในภาพที่ 4-1 และแสดงข้อความเตือนเมื่อใส่ข้อมูลไม่ถูกต้องในภาพที่ 4-2 ดังนี้
58
ภาพที่ 4-1 ใส่ข้อมูลรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน
ภาพที่ 4-2 ใส่ข้อมูลรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านไม่ถูกต้อง
เมื่อต้องการเพิ่มข้อมูลผู้ใช้งานภายในระบบต้องใส่ข้อมูลให้ครบและถูกต้องตามค่าที่กำหนด
ในภาพที่ 4-3 และแสดงข้อความเตือนเมื่อใส่ข้อมูลไม่ถูกต้องในภาพที่ 4-4
59
ภาพที่ 4-3 หน้าจอแสดงการเพิ่มผู้ใช้งานในระบบ
ภาพที่ 4-4 ใส่ข้อมูลผู้ใช้งานไม่ถูกต้อง
เมื่อต้องการเพิ่ม Domain Name เข้าสู่ระบบต้องทำการใส่ข้อมูลให้ครบและถูกต้องตามที่
กำหนดในภาพที่ 4-5 และแสดงข้อความเตือนเมื่อใส่ข้อมูลไม่ถูกต้องดังภาพที่ 4-6 ถึงภาพที่ 4-9
60
ภาพที่ 4-5 เพิ่ม Domain Name เข้าในระบบ
ภาพที่ 4-6 ไม่ใส่ชื่อผู้ใช้งาน
ภาพที่ 4-7 ใส่ข้อมูลโดเมนไม่ถูกต้อง
61
ภาพที่ 4-8 ตั้ง Password ไม่ถูกต้อง
ภาพที่ 4-9 ไม่กำหนดผู้ใช้งานโดเมน
4.2 ผลการทดสอบระบบด้านต่างๆ ของผู้เชี่ยวชาญ
จากการที่เราได้นำระบบ DNS Management Via Web โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่านเป็นผู้
ประเมิน เพื่อหาประสิทธิภาพของระบบที่ได้พัฒนาแล้ว จะทำให้เราได้ทราบถึงผลการทดสอบด้าน
ต่างๆ โดยแบ่งการทดสอบของระบบทั้ง 5 ด้านดังนี้
ตารางที่ 4-1 ด้านการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. การแบ่งเมนูของโปรแกรมสามารถเข้าใจได้ง่าย 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
2. ปุ่มและคำอธิบายมีความง่ายต่อความเข้าใจ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
3. ความสวยงามของหน้าโปรแกรม 4.2 0.45 8.45 ดี
4. ความสามารถของโปรแกรมมีข้อความเตือนหรือ
ความผิดพลาดเมื่อผู้ใช้ไม่ป้อนข้อมูลตามที่กำหนด
4.2 0.45 8.45 ดี
5. ความสามารถใช้งานโปรแกรมได้สะดวก 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
รวม 4.56 0.51 10.36 ดีมาก
62
จากผลการทดสอบระบบด้านการติดต่อระหว่างโปรแกรม กับผู้ใช้โดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการ
ทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่าเมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วย
วิธีการ t-test จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.711 และค่า t ที่ได้จากการคำนวณคือ 10.36 ดังนั้น
ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้อยู่ในระดับดีมาก
ตารางที่ 4-2 ด้านการประมวลผลของโปรแกรม
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. สามารถประมวลผลด้านการคำนวณคะแนนแบบ
ประเมินได้รวดเร็ว ถูกต้อง
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
2. สามารถประมวลผลด้านการค้นหาได้รวดเร็ว 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
3. สามารถประมวลผลด้านการเพิ่ม และแก้ไขข้อมูล
ได้รวดเร็ว
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
4.
สามารถประมวลผลด้านการสอบถามข้อมูลรายงานต่า
งๆ ได้รวดเร็ว
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
รวม 4.75 0.44 2.42 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านการประมวลผลของโปรแกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการทดสอบที่
ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ ttest
จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.729 และ ค่า t ที่ได้จากการคำนวณ คือ 2.42 ดังนั้น ระบบที่
ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านการประมวลผลของโปรแกรมอยู่ในระดับดีมาก
ตารางที่ 4-3 ด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. ผลลัพธ์ที่ได้มีความถูกต้องและสมบูรณ์ 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
2. ผลลัพธ์ที่ได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
63
ตารางที่ 4-3 (ต่อ) ด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
3. ผลลัพธ์ที่ได้สามารถนำไปใช้งานได้จริง 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
รวม 4.67 0.49 9.18 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม โดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการทดสอบที่ได้
แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ t-test
จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.761 และ ค่า t ที่ได้จากการคำนวณ คือ 9.18 ดังนั้น ระบบที่ได้
พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมอยู่ในระดับ ดีมาก
ตารางที่ 4-4 ระบบรักษาความปลอดภัย
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
2. การเข้าสู่ระบบ 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
3. ความปลอดภัยของเครือข่าย 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
4. ความปลอดภัยของฐานข้อมูล 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
รวม 4.7 0.47 1.81 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านระบบรักษาความปลอดภัย โดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการทดสอบที่ได้
แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ t-test
จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.729 และ ค่า t ที่ได้จากการคำนวณ คือ 1.81 ดังนั้น ระบบที่ได้
พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านระบบรักษาความปลอดภัยอยู่ในระดับ ดีมาก
ตารางที่ 4-5 ด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. ผู้ใช้งานสามารถเข้าสู่ระบบโดยใช้รหัสผู้ใช้และ
รหัสผ่านได้
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
64
ตารางที่ 4-5 (ต่อ) ด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้
2. ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านได้ด้วยตนเอง 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
3. โปรแกรมสามารถจัดทำฐานข้อมูล 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
4. สามารถแก้ไขปรับปรุงข้อมูลโดเมนเนมได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
5. สามารถแก้ไขปรับปรุงข้อมูลผู้ใช้ได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
6. โปรแกรมสามารถค้นหาข้อมูลได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
7. โปรแกรมสามารถตรวจสอบข้อมูลที่ผิดพลาดได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
8. โปรแกรมสามารถควบคุมการทำงานของระบบ
DNS ได้
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
9. โปรแกรมสามารถกำหนดสิทธิ์การใช้งานได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
10. โปรแกรมสามารถทำงานได้ทันทีที่มีการ
เปลี่ยนแปลง
4.6 0.55 6.45 ดีมาก
11. สามารถแสดงรายงานผลการใช้งานระบบ DNS 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
12. เครื่องมือที่ช่วยในการทำงาน 4.8 0.45 8.53 ดีมาก
รวม 4.77 0.43 4.66 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ โดย
ผู้เชี่ยวชาญ ผลการทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบ
วิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ t-test จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.645 และค่า t ที่ได้จากการ
คำนวณ คือ 4.66 ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านระบบรักษาความปลอดภัยอยู่
ในระดับ ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนน
เฉลี่ยของ ทุกด้านมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ t-test จะพบว่าค่า t ที่เปิดจากตารางได้
1.645 และ ค่า t ที่ได้จากการคำนวณ คือ 5.11 ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในระดับ
ดีมาก
65
4.3 ผลการทดสอบระบบด้านต่าง ๆ ของเจ้าหน้าที่ในส่วนงานเทคนิคที่ดูแลระบบ DNS
จากการที่เราได้นำระบบการพัฒนาระบบ DNS Management Via Web สำหรับการจัดการ
ข้อมูลทางด้านเทคนิคขององค์กรโดยทั่วไป โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่านเป็นผู้ประเมิน เพื่อหา
ประสิทธิภาพของระบบที่ได้พัฒนาขึ้นแล้ว จะทำให้เราได้ทราบถึงผลการทดสอบด้านต่างๆ โดย
แบ่งออกเป็นการทดสอบระบบทั้ง 5 ด้าน ดังนี้
ตารางที่ 4-6 ด้านการติดต่อระหว่าง โปรแกรมกับผู้ใช้
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. การแบ่งเมนูของโปรแกรมสามารถเข้าใจได้ง่าย 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
2. ปุ่มและคำอธิบายมีความง่ายต่อความเข้าใจ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
3. ความสวยงามของหน้าโปรแกรม 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
4. ความสามารถของโปรแกรมมีข้อความเตือนหรือ
ความผิดพลาดเมื่อผู้ใช้ไม่ป้อนข้อมูลตามที่กำหนด
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
5. ความสามารถใช้งานโปรแกรมได้สะดวก 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
รวม 4.76 0.44 2.87 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านการติดต่อระหว่างโปรแกรม กับผู้ใช้โดยเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ
ผลการทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่าเมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทาง
สถิติด้วยวิธีการ t-test จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.711 และค่า t ที่ได้จากการคำนวณคือ
2.87 ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้อยู่ใน
ระดับ ดีมาก
ตารางที่ 4-7 ด้านการประมวลผลของโปรแกรม
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. สามารถประมวลผลด้านการคำนวณได้รวดเร็ว 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
2. สามารถประมวลผลด้านการค้นหาได้รวดเร็ว 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
66
ตารางที่ 4-7 (ต่อ) ด้านการประมวลผลของโปรแกรม
3. สามารถประมวลผลด้านการเพิ่ม และแก้ไขข้อมูล
ได้รวดเร็ว
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
4.สามารถประมวลผลด้านการสอบถามข้อมูลรายงาน
ต่างๆ ได้รวดเร็ว
4.6 0.55 8.53 ดีมาก
รวม 4.7 0.47 1.81 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านการประมวลผลของโปรแกรมโดยเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ ผลการ
ทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติ
ด้วยวิธีการ t-test จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตารางได้ 1.729 และค่า t ที่ได้จากการคำนวณคือ 1.81
ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านการประมวลผลของโปรแกรมอยู่ในระดับดีมาก
ตารางที่ 4-8 ด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. ผลลัพธ์ที่ได้มีความถูกต้องและสมบูรณ์ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
2. ผลลัพธ์ที่ได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
3. ผลลัพธ์ที่ได้สามารถนำไปใช้งานได้จริง 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
รวม 4.73 0.46 1.89 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมโดยเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ ผลการ
ทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติ
ด้วยวิธีการ t-test จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.761 และค่า t ที่ได้จากการคำนวณคือ 1.89
ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมอยู่ในระดับดีมาก
67
ตารางที่ 4-9 ระบบรักษาความปลอดภัย
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
2. การเข้าสู่ระบบ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
3. ความปลอดภัยของเครือข่าย 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
4. ความปลอดภัยของฐานข้อมูล 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
รวม 4.75 0.44 2.42 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านระบบรักษาความปลอดภัยโดยเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ ผลการ
ทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่าเมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วย
วิธีการ t-test จะพบว่า ค่า t ที่เปิดจากตาราง ได้ 1.729 และ ค่า t ที่ได้จากการคำนวณ คือ 2.42 ดังนั้น
ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านระบบรักษาความปลอดภัยอยู่ในระดับดีมาก
ตารางที่ 4-10 ด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
X SD t เชิงคุณภาพ
1. ผู้ใช้งานสามารถเข้าสู่ระบบโดยใช้รหัสผู้ใช้และ
รหัสผ่านได้
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
2. ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านได้ด้วยตนเอง 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
3. โปรแกรมสามารถจัดทำฐานข้อมูล 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
4. สามารถแก้ไขปรับปรุงข้อมูลโดเมนเนมได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
5. สามารถแก้ไขปรับปรุงข้อมูลผู้ใช้ได้ 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
6. โปรแกรมสามารถค้นหาข้อมูลได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
7. โปรแกรมสามารถตรวจสอบข้อมูลที่ผิดพลาดได้ 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
8. โปรแกรมสามารถควบคุมการทำงานของระบบ
DNS ได้
4.8 0.45 6.45 ดีมาก
9. โปรแกรมสามารถกำหนดสิทธิการใช้งานได้ 4.4 0.89 4.73 ดี
68
ตารางที่ 4-10 (ต่อ) ด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้
10. โปรแกรมสามารถทำงานได้ทันทีที่มีการ
เปลี่ยนแปลง
4.8 0.45 6.45 ดี
11. สามารถแสดงรายงานผลการใช้งานระบบ DNS 4.8 0.45 6.45 ดีมาก
12. เครื่องมือที่ช่วยในการทำงาน 4.6 0.55 8.53 ดีมาก
รวม 4.72 0.49 3.26 ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ โดย
เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ ผลการทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่าเมื่อนำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่าน
ระเบียบวิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ t-test จะพบว่า ค่า t เปิดจากตาราง ได้ 1.645 และค่า t ที่ได้จาก
การคำนวณคือ 3.26 ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในด้านระบบรักษาความปลอดภัย
อยู่ในระดับ ดีมาก
จากผลการทดสอบระบบโดยเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ ผลการทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำ
คะแนนเฉลี่ยของ ทุกด้านมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ t-test จะพบว่าค่า t ที่เปิดจาก
ตารางได้ 1.645 และ ค่า t ที่ได้จากการคำนวณ คือ 5.6 ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพ
ในระดับดีมาก
บทที่ 5
สรุปผลการทดสอบระบบและข้อเสนอแนะ
สำหรับระบบการจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ DNS Management Via Web ที่พัฒนา
ระบบเป็นโปรแกรมเว็บเบส โดยมีวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาการทำงานของระบบ DNS ใน
รูปแบบเก่า และสามารถอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานในระบบได้
ดังนั้นโปรแกรมการจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ ในส่วนของข้อมูลด้านเทคนิคจึงได้
นำเอาระบบคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการ Linux ระบบ Apache Web Server ระบบ MySql
Database Server ระบบเข้ารหัส SSL และระบบ Bind สำหรับการจัดการ DNS โดยมีการจัดทำ
ฐานข้อมูลในการจัดเก็บ และมีการทำงานในลักษณะ Client / Server เพื่อสะดวกต่อการใช้งาน
โปรแกรมการจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ ได้นำเอาระบบอินเตอร์เน็ตเข้ามาช่วยในการ
ทำงาน ทำให้ผู้ใช้งานมีความสะดวกในการการใช้งานสามารถทำงานจากทุกสถานที่มีการเชื่อมโยง
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่ใช้ในการช่วยวิเคราะห์การทำงานของระบบให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น Ping TraceRoute Whois และ Nslookup
5.1 สรุปผลการทดสอบประสิทธิภาพของระบบ
จากการทำแบบประเมินของผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน และเจ้าหน้าที่ดูแลข้อมูลทางด้านเทคนิคของ
ระบบ DNS จำนวน 5 ท่าน ในการวัดประสิทธิภาพของระบบการจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ
DNS Management Via Web ในด้านต่างๆดังนี้
5.1.1 ผลจากการทดสอบระบบด้านต่างๆ ของผู้เชี่ยวชาญ
5.1.1.1 ด้านการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.56
5.1.1.2 ด้านการประมวลผลของโปรแกรม ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.75
5.1.1.3 ด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.67
5.1.1.4 ด้านความปลอดภัย ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.70
5.1.1.5 ด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ ค่าเฉลี่ยที่ได้
อยู่ที่ 4.77
5.1.2 ผลจากการทดสอบระบบด้านต่างๆ ของผู้ดูแลระบบ DNS
5.1.2.1 ด้านการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.76
70
5.1.2.2 ด้านการประมวลผลของโปรแกรม ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.70
5.1.2.3 ด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.73
5.1.2.4 ด้านความปลอดภัย ค่าเฉลี่ยที่ได้อยู่ที่ 4.75
5.1.2.5 ด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ ค่าเฉลี่ยที่ได้
อยู่ที่ 4.72
จากผลการทดสอบระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการทดสอบที่ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อนำคะแนน
เฉลี่ยของ ทุกด้านมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติด้วยวิธีการ t-test จะพบว่าค่า t ที่เปิดจากตารางได้
1.645 และค่า t ที่ได้จากการคำนวณคือ 5.11 ซึ่งนำมาทดสอบสมมติฐาน 0 Η คะแนนเฉลี่ยจากการ
ประเมินอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป (u > = 4.51 ) และ a Η คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินต่ำกว่าระดับ
ดี ( u <> = 4.51 ) และ a Η คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินต่ำ
กว่าระดับดี ( u < 4.51) แล้วปรากฏว่าค่า t ที่ได้จากการคำนวณมากกว่าค่า t ที่จากตาราง นั่นคือ แสดงว่ายอมรับ 0 Η ดังนั้นระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้มีประสิทธิภาพในระดับดีมาก 5.2 อภิปรายผล จากการทดสอบโปรแกรมการจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ DNS Management Via Web โดยผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ DNS สามารถสรุปได้ว่า ด้านการติดต่อระหว่าง โปรแกรมกับผู้ใช้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.56 และ 4.76 ตามลำดับ เนื่องจากผู้ทดสอบยังไม่คุ้นเคยและ ชำนาญกับการใช้งานโปรแกรม ส่วนด้านการประมวลผลของโปรแกรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.75 และ 4.7 ตามลำดับ เนื่องจากการประมวลผลของโปรแกรมมีการใช้เวลาในการประมวลผลมากใน บางส่วนแต่ ทั้งนี้ก็อาจจะขั้นอยู่กับประสิทธิภาพของเครื่องที่นำมาใช้งาน และขึ้นอยู่กับจำนวน ผู้ใช้งานในระบบในเวลานั้นด้วย ส่วนด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 และ 4.73 ตามลำดับ เนื่องจากมีการแสดงสถานะการทำงานของระบบ ให้ด้วย และสามารถนำไปใช้งานได้ จริง ส่วนด้านระบบรักษาความปลอดภัยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.77 และ 4.72 ตามลำดับเนื่องจากยังไม่เป็น ที่รู้จักแพร่หลาย และด้านสุดท้ายด้านความสามารถของโปรแกรมตรงต่อความต้องการของผู้ใช้มี 71 ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.7 และ 4.75 ตามลำดับ เนื่องจากโปรแกรมสามารถทำงานได้ตามขอบเขตของสาร นิพนธ์ ซึ่งสามารถนำมาใช้งานได้จริงแต่น่าจะเพิ่มรายงานให้ได้มากขึ้นกว่าเดิม ผลจากการทดสอบสรุปได้ว่าโปรแกรมการจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ สามารถ ตอบสนองต่อการนำมาใช้งานในการการจัดการระบบ DNS แทนระบบแบบเก่าได้เป็นอย่างมี ประสิทธิภาพและสามารถนำไปพัฒนาต่อให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ดังนั้นระบบการจัดการชื่อ โดเมนเนมผ่านทางเว็บ DNS Management Via Web จึงเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสารนิพนธ์นี้ 5.3 ปัญหาและอุปสรรคที่พบ ในการพัฒนาระบบ การจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ DNS Management Via Web ได้ พบว่ามีปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาดังต่อไปนี้ 5.3.1 โปรแกรมนี้ยังไม่สามารถตรวจสอบการเข้าใช้งานได้ แต่ถ้าสามารถมีการจัดการใน การบันทึกการเข้าหรือออกของผู้ใช้งานได้จะทำให้สามารถตรวจสอบการทำงานของผู้ใช้ได้ 5.3.2 โปรแกรมควรจะมีการพัฒนาให้มีระบบการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลบัญชีรายชื่อ ของ ผู้ใช้ บริการอินเตอร์เน็ตที่เป็นลูกค้า 5.3.3 โปรแกรมนี้จะเกี่ยวข้องกับผู้ดูแลระบบ DNS โดยเฉพาะและมีผู้ชำนาญระบบจำนวน น้อยจึงควรมีเมนูช่วยเหลือการทำงาน 5.4 ข้อเสนอแนะจากผู้ทำสารนิพนธ์ การจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ DNS Management Via Web หากพิจารณาแล้วสามารถ ที่พัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิมดังนี้ 5.4.1 มีการจัดทำระบบการรับลงทะเบียนจดชื่อโดเมนเนม ทั้งในส่วนของชื่อโดเมนเนม เป็นของต่างประเทศ และชื่อโดเมนเนมที่เป็นของประเทศไทย 5.4.2 มีการจัดทำระบบ DNS ให้รองรับการทำงานของชื่อโดเมนเนมที่เป็นภาษาไทยเช่น สนุกดอทคอม เอ็มเว็บ เคเอสซี 5.4.3 มีการจัดทำรายงานผลให้อยู่ในรูปแบบของกราฟิก จะทำให้มีความสวยงามขึ้น 5.4.4 ในการแสดงผลรายชื่อโดเมนเนมควรมีการแยกจัดเก็บประเภทของโดเมนเนมเช่น sanook.com, kmitnb.ac.th, mweb.co.th ซึ่งตอนนี้แสดงผลรวมทั้งหมด 5.4.5 ควรมีการทำระบบส่งอีเมล์ แจ้งหลังจากเข้ามาปรับปรุงแก้ไข 5.4.6 ควรมีการจัดทำระบบสำรองฐานข้อมูล เพื่อป้องกันความเสียหาย บรรณานุกรม ภาษาไทย การสร้างเว็บเพจโดยใช้ภาษา, ชมรมเว็บเพจไทย. PHP : Http//www.bcoms.net[2000]. กอบเกียรติ สระอุบล. สร้างเวบเพจด้วย PHP ฉับบประยุกต์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2545. ศูนย์คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต, สถาบันราชภัฏรำไพพรรณี. หลักการด้านข้อมูลแลการจัดการ ระบบข้อมูล : Http://rbu.rb.ac.th/~bangkom/mdata.htm[2000]. โครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา,ทบวงมหาวิทยาลัย. ความหมายของระบบ ฐานข้อมูล : Http://www.uni.net.th/~09 2543/lesson01/ms2t2.htm[2001]. ไพศาล โมลิสกุลมงคล, น.ต. พัฒนา Web Database ด้วย PHP. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย, 2543. ภัทระ เกียรติเสวี และคนอื่นๆ. สร้างอินเตอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ ด้วย LINUX. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2542. วรรณิกา เนตรงาม. พื้นฐานการเขียนสคริปต์และสร้าง Web Application ด้วย PHP & MYSQL. กรุงเทพฯ : อินโฟเพรส, 2544. สำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา, ทบวงมหาวิทยาลัย. อินเตอร์เน็ตคืออะไร [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : Http//www.uni.net.th/~08_2543/chap10.html[2001]. สงกรานต์ ทองสว่าง. MySQL ระบบฐานข้อมูลสำหรับอินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544. สุรศักดิ์ สงวนพงษ์. สถาปัตยกรรมและโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2543 ภาษาอังกฤษ Apache สุดยอด เว็บเซิร์ฟเวอร์[ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: Http://www.bangkokbiznews.com/scitech/2003/0508/index.php[2003]. Dierks, T. and Allen, C. The TLS Protocol[Online]. Available from: Http://www.ietf.org/rfc/rfc2246.txt Internet Thailand Co., Ltd. SSL[Online]. Available from: Http://www.inet.co.th/services/ssl/faq.html[2003,June 8]. การจัดการชื่อโดเมนเนมผ่านทางเว็บ (ตอนที่ 1)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น