วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ (ตอนที่ 2)



3. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอ
ต่อการอ่านหนังสือ
3.15 0.83 ปาน
กลาง
2.37 0.92 ปาน
กลาง
3.02 0.82 ปาน
กลาง
4. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญ
ชวนต่อการเข้ามาใช้บริการ
2.96 0.72 ปาน
กลาง
2.75 0.76 ปาน
กลาง
2.92 0.75 ปาน
กลาง
5. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวด
ล้อมที่เหมาะสม ไม่มีเสียงและ
กลิ่นรบกวน
2.85 0.61 ปาน
กลาง
2.97 0.79 ปาน
กลาง
3.00 0.86 ปาน
กลาง
รวม 2.96 0.51 ปาน
กลาง
2.64 0.53 ปาน
กลาง
2.96 0.58 ปาน
กลาง
55
สรุปผลจากตารางที่ 9 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง
และขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านอาคารสถานที่ โดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 2.64 – 2.96 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของ
ห้องสมุดอยู่ในระดับ ปานกลาง ทุกรายข้อ
3.2 สภาพห้องสมุด ด้านอาคารสถานที่ ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ได้ผลดัง
แสดงในตารางที่ 10
ตารางที่ 10 สภาพของห้องสมุดด้านอาคารสถานที่ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศใน
ห้องสมุด
2.92 0.68 ปาน
กลาง
2.97 0.68 ปาน
กลาง
2.82 0.77 ปาน
กลาง
2. ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่าง
กว้างขวางและเพียงพอ
2.96 0.20 ปาน
กลาง
2.95 0.66 ปาน
กลาง
2.73 0.83 ปาน
กลาง
3. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการ
อ่านหนังสือ
2.88 0.43 ปาน
กลาง
2.97 0.64 ปาน
กลาง
2.80 0.87 ปาน
กลาง
4. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อ
การเข้ามาใช้บริการ
2.61 0.69 ปาน
กลาง
2.91 0.75 ปาน
กลาง
2.87 0.67 ปาน
กลาง
5. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม ไม่มีเสียงและกลิ่นรบกวน
2.80 0.63 ปาน
กลาง
3.00 0.66 ปาน
กลาง
3.00 0.92 ปาน
กลาง
รวม 2.83 0.30 ปาน
กลาง
2.92 0.54 ปาน
กลาง
2.84 0.51 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 10 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านอาคารสถานที่ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 2.83 – 2.92 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ใน
ระดับ ปานกลาง ทุกรายข้อ
56
3.3 สภาพห้องสมุด ด้านอาคารสถานที่ ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
ได้ผลดังแสดงใน ตารางที่ 11
ตารางที่ 11 สภาพของห้องสมุดด้านอาคารสถานที่ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศใน
ห้องสมุด
3.15 0.67 ปาน
กลาง
3.11 0.81 ปาน
กลาง
3.05 0.80 ปาน
กลาง
2. ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่าง
กว้างขวางและเพียงพอ
3.08 0.56 ปาน
กลาง
3.19 0.78 ปาน
กลาง
3.15 0.99 ปาน
กลาง
3. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการ
อ่านหนังสือ
3.12 0.65 ปาน
กลาง
3.16 0.76 ปาน
กลาง
3.29 0.93 ปาน
กลาง
4. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อ
การเข้ามาใช้บริการ
3.00 0.69 ปาน
กลาง
3.08 0.80 ปาน
กลาง
3.02 0.79 ปาน
กลาง
5. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม ไม่มีเสียงและกลิ่นรบกวน
3.04 0.53 ปาน
กลาง
3.14 0.75 ปาน
กลาง
3.27 0.92 ปาน
กลาง
รวม 3.03 0.36 ปาน
กลาง
3.15 0.65 ปาน
กลาง
3.05 0.63 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 11 พบว่า บรรณารักษ์ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านอาคารสถานที่ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับปานกลาง (
−X
=3.03–3.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุด อยู่ในระดับ
ปานกลาง ทุกรายข้อ
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อ
สภาพห้องสมุดโรงเรียนด้านอาคารสถานที่ พบว่า ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลางและ
ขนาดใหญ่ มีสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านอาคารสถานที่ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
ปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่ามีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
57
4. สภาพห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์
วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียนโดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
4.1 สภาพห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 12
ตารางที่ 12 สภาพของห้องสมุดด้านงานเทคนิคตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
ประกอบการค้นคว้าที่เหมาะสมและ
เพียงพอ
3.19 0.80 ปาน
กลาง
3.10 0.77 ปาน
กลาง
2.82 0.89 ปาน
กลาง
2. มีหนังสืออ่านประกอบการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.07 0.84 ปาน
กลาง
2.91 0.82 ปาน
กลาง
2.92 0.84 ปาน
กลาง
3. มีหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น
นิทาน หนังสือสำหรับเด็กที่
เหมาะสมและเพียงพอ
2.80 0.74 ปาน
กลาง
2.75 0.76 ปาน
กลาง
2.68 0.75 ปาน
กลาง
4. มีวารสารและหนังสือพิมพ์เพียงพอ
และเหมาะสมกับนักเรียน
2.53 0.50 ปาน
กลาง
2.75 0.79 ปาน
กลาง
2.75 0.83 ปาน
กลาง
5. มีหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ
ที่เหมาะสมและเพียงพอ
2.92 0.74 ปาน
กลาง
3.16 0.76 ปาน
กลาง
2.80 0.68 ปาน
กลาง
6. มีโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง
วีดิทัศน์ สำหรับให้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
2.80 0.56 ปาน
กลาง
2.59 0.95 ปาน
กลาง
2.90 0.73 ปาน
กลาง
7. มีการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศ
โดยใช้ระบบที่เป็นสากล
2.69 0.67 มาก 3.00 0.78 ปาน
กลาง
2.85 0.53 ปาน
กลาง
8. มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้น เช่น
บัตรรายการ หรือการสืบค้นทาง
คอมพิวเตอร์
2.57 0.64 ปาน
กลาง
2.72 0.99 ปาน
กลาง
2.73 0.77 ปาน
กลาง
9. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็น
ระบบ
2.76 0.76 ปาน
กลาง
2.86 0.67 ปาน
กลาง
2.83 0.67 ปาน
กลาง
58
ตารางที่ 12 (ต่อ)
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
10. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อน
ให้บริการ
2.53 0.64 ปาน
กลาง
2.94 0.84 ปาน
กลาง
2.75 0.76 ปาน
กลาง
11. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ 2.80 0.69 ปาน
กลาง
2.84 0.63 ปาน
กลาง
2.68 0.60 ปาน
กลาง
12. มีการสำรวจหนังสือประจำปี 2.61 0.57 ปาน
กลาง
2.89 0.94 ปาน
กลาง
2.63 0.66 ปาน
กลาง
13. มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็น
ประจำทุกปี
2.65 0.68 ปาน
กลาง
3.13 0.78 ปาน
กลาง
2.92 0.73 ปาน
กลาง
รวม 2.73 0.24 ปาน
กลาง
2.97 0.43 ปาน
กลาง
2.72 0.27 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 12 พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานเทคนิค โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับปานกลาง (
−X
=2.72–2.97) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับ
ปานกลาง ทุกรายข้อ
4.2 สภาพห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 13
59
ตารางที่ 13 สภาพของห้องสมุดด้านงานเทคนิคตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
ประกอบการค้นคว้าที่เหมาะสมและ
เพียงพอ
3.00 0.63 มาก 2.76 0.55 ปาน
กลาง
2.68 0.88 ปาน
กลาง
2. มีหนังสืออ่านประกอบการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและเพียงพอ
2.77 0.71 ปาน
กลาง
2.86 0.59 ปาน
กลาง
3.00 0.71 ปาน
กลาง
3. มีหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น
นิทาน หนังสือสำหรับเด็กที่
เหมาะสมและเพียงพอ
3.12 0.65 ปาน
กลาง
3.03 0.64 ปาน
กลาง
2.80 0.78 ปาน
กลาง
4. มีวารสารและหนังสือพิมพ์เพียงพอ
และเหมาะสมกับนักเรียน
2.69 0.68 ปาน
กลาง
2.95 0.66 ปาน
กลาง
3.02 0.72 ปาน
กลาง
5. มีหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ
ที่เหมาะสมและเพียงพอ
2.73 0.67 ปาน
กลาง
3.05 0.66 ปาน
กลาง
2.78 0.08 ปาน
กลาง
6. มีโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง
วีดิทัศน์ สำหรับให้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
2.65 0.69 ปาน
กลาง
2.89 0.61 ปาน
กลาง
2.98 0.79 ปาน
กลาง
7. มีการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศ
โดยใช้ระบบที่เป็นสากล
2.96 0.45 ปาน
กลาง
2.97 0.69 ปาน
กลาง
2.83 0.86 ปาน
กลาง
8. มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้น เช่น
บัตรรายการ หรือการสืบค้นทาง
คอมพิวเตอร์
2.92 0.74 ปาน
กลาง
2.81 0.62 ปาน
กลาง
2.88 0.77 ปาน
กลาง
9. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็น
ระบบ
2.81 0.49 ปาน
กลาง
2.84 0.69 ปาน
กลาง
2.76 0.66 ปาน
กลาง
10. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อน
ให้บริการ
2.85 0.54 ปาน
กลาง
2.92 0.76 ปาน
กลาง
2.71 0.75 ปาน
กลาง
11. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ 2.81 0.75 ปาน
กลาง
3.11 0.81 ปาน
กลาง
2.66 0.69 ปาน
กลาง
12. มีการสำรวจหนังสือประจำปี 3.04 0.60 ปาน
กลาง
3.14 0.79 ปาน
กลาง
2.85 0.79 ปาน
กลาง
60
ตารางที่ 13 (ต่อ)
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
13. มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็น
ประจำทุกปี
2.88 0.65 ปาน
กลาง
3.08 0.80 ปาน
กลาง
2.90 0.70 ปาน
กลาง
รวม 2.82 0.20 ปาน
กลาง
2.99 0.43 ปาน
กลาง
2.87 0.36 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตาราง 13 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานเทคนิค โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับปานกลาง (
−X
=2.82–2.99) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับ
ปานกลาง ทุกรายข้อ
61
4.3 สภาพห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็น ของบรรณารักษ์ ได้ผลดังแสดง
ในตารางที่ 14
ตารางที่ 14 สภาพของห้องสมุดด้านงานเทคนิคตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
รายการข้อมูล โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ  −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
ประกอบการค้นคว้าที่เหมาะสมและ
เพียงพอ
3.08 0.39 ปาน
กลาง
3.08 0.72 ปาน
กลาง
3.00 0.97 ปาน
กลาง
2. มีหนังสืออ่านประกอบการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.04 0.82 ปาน
กลาง
2.89 0.61 ปาน
กลาง
3.15 0.76 ปาน
กลาง
3. มีหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น
นิทาน หนังสือสำหรับเด็กที่
เหมาะสมและเพียงพอ
2.81 0.63 ปาน
กลาง
2.97 0.76 ปาน
กลาง
3.20 0.68 ปาน
กลาง
4. มีวารสารและหนังสือพิมพ์เพียงพอ
และเหมาะสมกับนักเรียน
3.23 0.76 ปาน
กลาง
2.84 0.69 ปาน
กลาง
3.10 0.80 ปาน
กลาง
5. มีหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ
ที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.27 0.60 ปาน
กลาง
3.16 0.80 ปาน
กลาง
3.05 0.86 ปาน
กลาง
6. มีโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง
วีดิทัศน์ สำหรับให้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.31 0.68 ปาน
กลาง
3.11 0.77 ปาน
กลาง
3.22 0.69 ปาน
กลาง
7. มีการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศ
โดยใช้ระบบที่เป็นสากล
3.19 0.63 ปาน
กลาง
3.14 0.71 ปาน
กลาง
3.02 0.96 ปาน
กลาง
8. มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้น เช่น
บัตรรายการ หรือการสืบค้นทาง
คอมพิวเตอร์
2.85 0.67 ปาน
กลาง
3.05 0.66 ปาน
กลาง
3.12 0.78 ปาน
กลาง
9. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็น
ระบบ
3.15 0.78 ปาน
กลาง
2.84 0.65 ปาน
กลาง
2.98 0.72 ปาน
กลาง
10. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อน
ให้บริการ เช่น ประทับตรา ติดซอง
เขียนสัน
3.04 0.82 ปาน
กลาง
2.76 0.68 ปาน
กลาง
3.07 0.79 ปาน
กลาง
11. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ 3.38 0.64 ปาน
กลาง
2.78 0.67 ปาน
กลาง
3.15 0.76 ปาน
กลาง
62
ตารางที่ 14 (ต่อ)
รายการข้อมูล โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ  −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
12. มีการสำรวจหนังสือประจำปี 3.00 0.64 ปาน
กลาง
2.92 0.72 ปาน
กลาง
3.24 0.73 ปาน
กลาง
13. มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็น
ประจำทุกปี
2.88 0.59 ปาน
กลาง
2.81 0.78 ปาน
กลาง
3.17 0.77 ปาน
กลาง
รวม 3.05 0.30 ปาน
กลาง
2.93 0.38 ปาน
กลาง
3.03 0.40 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 14 พบว่า บรรณารักษ์ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มี
ความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานเทคนิค โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปาน
กลาง (
−X
=2.93–3.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลาง
ทุกรายข้อ
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อสภาพ
ห้องสมุดโรงเรียน ด้านงานเทคนิค พบว่า ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่มี
สภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานเทคนิค โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
5. สภาพห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์
วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียนโดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เป็นรายข้อและสรุปรวมในแต่ละด้าน
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
5.1 สภาพห้องสมุด ด้านงานบริการตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 15
63
ตารางที่ 15 สภาพของห้องสมุดด้านงานบริการตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
รายการข้อมูล โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ  −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด 3.15 0.78 ปาน
กลาง
3.18 1.12 ปาน
กลาง
3.24 0.79 ปาน
กลาง
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า
2.50 0.58 ปาน
กลาง
3.00 0.81 ปาน
กลาง
2.58 0.63 ปาน
กลาง
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร 2.76 0.71 ปาน
กลาง
3.08 0.79 ปาน
กลาง
2.56 0.70 ปาน
กลาง
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ 2.53 0.70 ปาน
กลาง
2.45 0.60 ปาน
กลาง
2.46 0.59 ปาน
กลาง
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้
ทั่วไป
2.92 0.84 ปาน
กลาง
3.13 0.78 ปาน
กลาง
2.56 0.63 ปาน
กลาง
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของ
ห้องสมุด
2.96 0.85 ปาน
กลาง
3.05 0.81 ปาน
กลาง
2.73 0.80 ปาน
กลาง
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็น
ระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
2.76 0.81 ปาน
กลาง
3.10 0.77 ปาน
กลาง
2.75 0.58 ปาน
กลาง
รวม 2.67 0.50 ปาน
กลาง
2.94 0.51 ปาน
กลาง
2.87 0.53 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 15 พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานบริการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับปานกลาง (
−X
=2.67–2.94) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับ
ปานกลาง ทุกรายข้อ
64
5.2 สภาพห้องสมุด ด้านงานบริการตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดัง
แสดงในตารางที่ 16
ตารางที่ 16 สภาพของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด 2.62 0.50 ปาน
กลาง
3.03 0.80 ปาน
กลาง
2.83 0.67 ปาน
กลาง
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า
2.77 0.51 ปาน
กลาง
3.11 0.81 ปาน
กลาง
2.88 0.78 ปาน
กลาง
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร 2.69 0.55 ปาน
กลาง
2.97 0.69 ปาน
กลาง
2.89 0.69 ปาน
กลาง
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ 2.65 0.63 ปาน
กลาง
2.95 0.81 ปาน
กลาง
2.93 0.79 ปาน
กลาง
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้
ทั่วไป
2.73 0.60 ปาน
กลาง
3.05 0.74 ปาน
กลาง
2.90 0.77 ปาน
กลาง
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของ
ห้องสมุด
2.85 0.73 ปาน
กลาง
2.89 0.77 ปาน
กลาง
2.95 0.74 ปาน
กลาง
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็น
ระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
2.81 0.49 ปาน
กลาง
2.92 0.64 ปาน
กลาง
2.85 0.76 ปาน
กลาง
รวม 2.67 0.39 ปาน
กลาง
2.97 0.58 ปาน
กลาง
2.89 0.63 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 16 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานบริการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับปานกลาง (
−X
=2.67–2.97) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับ
ปานกลาง ทุกรายข้อ
65
5.3 สภาพห้องสมุด ด้านงานบริการตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดัง
แสดงในตารางที่ 17
ตารางที่ 17 สภาพของห้องสมุดด้านงานบริการตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด 2.92 0.74 ปาน
กลาง
2.95 0.66 ปาน
กลาง
3.17 0.74 ปาน
กลาง
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า
2.96 0.77 ปาน
กลาง
2.92 0.68 ปาน
กลาง
3.02 0.79 ปาน
กลาง
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและ
วารสาร
2.81 0.75 ปาน
กลาง
3.11 0.70 ปาน
กลาง
3.10 0.80 ปาน
กลาง
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ 3.15 0.78 ปาน
กลาง
2.89 0.61 ปาน
กลาง
3.05 0.77 ปาน
กลาง
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้
ทั่วไป
2.92 0.69 ปาน
กลาง
3.14 0.67 ปาน
กลาง
3.20 0.78 ปาน
กลาง
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของ
ห้องสมุด
3.00 0.57 ปาน
กลาง
3.03 0.80 ปาน
กลาง
3.12 0.71 ปาน
กลาง
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็น
ระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
2.69 0.74 ปาน
กลาง
3.05 0.74 ปาน
กลาง
3.15 0.76 ปาน
กลาง
รวม 2.91 0.53 ปาน
กลาง
2.92 0.52 ปาน
กลาง
3.05 0.59 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 17 พบว่า บรรณารักษ์ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานบริการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
ปานกลาง (
−X
=2.91–3.05) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับปาน
กลาง ทุกรายข้อ
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อสภาพ
ห้องสมุดโรงเรียน ด้านงานบริการ พบว่า ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่มี
66
สภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานบริการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
6. สภาพห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและ
บรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียน โดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
6.1 สภาพห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
โรงเรียนได้ผลดังแสดงในตารางที่ 18
ตารางที่ 18 สภาพของห้องสมุดด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
โรงเรียน
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
2.84 0.78 ปาน
กลาง
2.91 0.79 ปาน
กลาง
2.95 0.70 ปาน
กลาง
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้
ห้องสมุด
2.61 0.75 ปาน
กลาง
3.08 0.75 ปาน
กลาง
2.75 0.76 ปาน
กลาง
3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
รูปแบบ และความเหมาะสมกับวัย
ของนักเรียน
2.65 0.69 ปาน
กลาง
2.89 0.77 ปาน
กลาง
2.98 0.69 ปาน
กลาง
4. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและ
ต่อเนื่อง
2.53 0.70 ปาน
กลาง
2.83 0.76 ปาน
กลาง
2.88 0.64 ปาน
กลาง
5. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 2.73 0.67 ปาน
กลาง
2.81 0.73 ปาน
กลาง
2.92 0.68 ปาน
กลาง
6. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรใน โรงเรียน
2.69 0.73 ปาน
กลาง
3.03 0.74 ปาน
กลาง
2.82 0.66 ปาน
กลาง
7. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อ
นำมาปรับปรุงและพัฒนา
2.80 0.63 ปาน
กลาง
3.02 0.76 ปาน
กลาง
2.85 0.69 ปาน
กลาง
รวม 2.73 0.45 ปาน
กลาง
2.81 0.42 ปาน
กลาง
2.86 0.56 ปาน
กลาง
67
สรุปผลจากตารางที่ 18 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานกิจกรรมห้องสมุด โดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
=2.73- 2.86) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุด
อยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
6.2 สภาพห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่าย
วิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 19
ตารางที่ 19 สภาพของห้องสมุดด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
3.00 0.69 ปาน
กลาง
2.78 0.63 ปาน
กลาง
2.88 0.71 ปาน
กลาง
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้
ห้องสมุด
3.15 0.78 ปาน
กลาง
2.81 0.70 ปาน
กลาง
2.90 0.77 ปาน
กลาง
3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
รูปแบบ และความเหมาะสมกับวัย
ของนักเรียน
2.96 0.72 ปาน
กลาง
2.86 0.75 ปาน
กลาง
2.83 0.77 ปาน
กลาง
4. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและ
ต่อเนื่อง
2.92 0.63 ปาน
กลาง
2.73 0.77 ปาน
กลาง
2.80 0.75 ปาน
กลาง
5. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 3.04 0.82 ปาน
กลาง
2.92 0.76 ปาน
กลาง
2.95 0.74 ปาน
กลาง
6. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียน
3.19 0.75 ปาน
กลาง
2.97 0.73 ปาน
กลาง
2.85 0.76 ปาน
กลาง
7. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อ
นำมาปรับปรุงและพัฒนา
3.08 0.08 ปาน
กลาง
2.84 0.73 ปาน
กลาง
2.93 0.72 ปาน
กลาง
รวม 3.10 0.67 ปาน
กลาง
2.84 0.57 ปาน
กลาง
2.86 0.60 ปาน
กลาง
68
สรุปผลจากตารางที่ 19 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานกิจกรรมห้องสมุด โดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
=2.84- 3.10) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุด
อยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
6.3 สภาพห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 20
ตารางที่ 20 สภาพของห้องสมุดด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
2.96 0.72 ปาน
กลาง
3.22 0.79 ปาน
กลาง
3.00 0.81 ปาน
กลาง
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้
ห้องสมุด
2.92 0.74 ปาน
กลาง
3.05 0.78 ปาน
กลาง
3.02 0.79 ปาน
กลาง
3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
รูปแบบ และความเหมาะสมกับวัย
ของนักเรียน
2.88 0.71 ปาน
กลาง
3.08 0.76 ปาน
กลาง
3.10 0.80 ปาน
กลาง
4. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและ
ต่อเนื่อง
3.00 0.69 ปาน
กลาง
3.11 0.81 ปาน
กลาง
3.07 0.79 ปาน
กลาง
5. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 2.77 0.65 ปาน
กลาง
3.19 0.74 ปาน
กลาง
3.12 0.79 ปาน
กลาง
6. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรใน โรงเรียน
2.81 0.69 ปาน
กลาง
3.16 0.76 ปาน
กลาง
3.05 0.80 ปาน
กลาง
7. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อ
นำมาปรับปรุงและพัฒนา
2.85 0.61 ปาน
กลาง
3.14 0.79 ปาน
กลาง
3.15 0.79 ปาน
กลาง
รวม 2.85 0.56 ปาน
กลาง
3.06 0.62 ปาน
กลาง
3.04 0.59 ปาน
กลาง
69
สรุปผลจากตารางที่ 20 พบว่า บรรณารักษ์ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานกิจกรรมห้องสมุด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับปานกลาง (
−X
=2.85- 3.06) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับ
ปานกลาง ทุกรายข้อ
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อสภาพ
ห้องสมุดโรงเรียน ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด พบว่าไม่ว่า จะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง
และขนาดใหญ่มีสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านงานกิจกรรมห้องสมุด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับ ปานกลาง ทุกรายข้อ
7. สภาพห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ตามความคิดเห็น
ของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียน โดย
หาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
7.1 สภาพห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ตามความ
คิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 21
70
ตารางที่ 21 สภาพของห้องสมุดด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
ตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการ
ศึกษาทางด้านบรรณารักษศาสตร์
โดยตรง
2.69 0.78 ปาน
กลาง
2.86 0.71 ปาน
กลาง
2.82 0.77 ปาน
กลาง
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด
2.88 0.81 ปาน
กลาง
2.94 0.66 ปาน
กลาง
2.85 0.79 ปาน
กลาง
3. ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอน
เฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุด
2.92 0.79 ปาน
กลาง
2.72 0.45 ปาน
กลาง
2.90 0.76 ปาน
กลาง
4. บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ
2.38 0.57 ปาน
กลาง
2.81 0.51 ปาน
กลาง
2.78 0.75 ปาน
กลาง
5. มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ 2.77 0.71 ปาน
กลาง
2.67 0.66 ปาน
กลาง
2.97 0.75 ปาน
กลาง
6. มีเจ้าหน้าที่ช่วยซ่อมหนังสือที่ชำรุด 2.73 0.77 ปาน
กลาง
2.97 0.76 ปาน
กลาง
2.92 0.77 ปาน
กลาง
7. มีบุคลากรช่วยงานห้องสมุด เช่น
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานทำความ
สะอาด
2.76 0.71 ปาน
กลาง
2.67 0.62 ปาน
กลาง
2.87 0.71 ปาน
กลาง
รวม 2.86 0.36 ปาน
กลาง
2.89 0.56 ปาน
กลาง
2.82 0.49 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 21 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับ
งานห้องสมุด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 2.82 – 2.89 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่า มีสภาพของอยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
71
7.2 สภาพห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ตามความ
คิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 22
ตารางที่ 22 สภาพของห้องสมุดด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ตามความ
คิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษา
ทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
2.92 0.56 ปาน
กลาง
2.73 0.77 ปาน
กลาง
2.85 0.82 ปาน
กลาง
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด
3.00 0.49 ปาน
กลาง
2.78 0.79 ปาน
กลาง
2.76 0.80 ปาน
กลาง
3. ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอน
เฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุด
2.73 0.67 ปาน
กลาง
2.86 0.75 ปาน
กลาง
2.88 0.75 ปาน
กลาง
4. บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ
2.85 0.61 ปาน
กลาง
3.03 0.76 ปาน
กลาง
2.83 0.80 ปาน
กลาง
5. มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ 2.88 0.77 ปาน
กลาง
3.05 0.74 ปาน
กลาง
3.00 0.71 ปาน
กลาง
6. มีเจ้าหน้าที่ช่วยซ่อมหนังสือที่ชำรุด 3.12 0.59 ปาน
กลาง
3.08 0.68 ปาน
กลาง
2.71 0.81 ปาน
กลาง
7. มีบุคลากรช่วยงานห้องสมุด เช่น
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานทำความ
สะอาด
2.96 0.53 ปาน
กลาง
3.00 0.67 ปาน
กลาง
2.95 0.71 ปาน
กลาง
รวม 2.92 0.38 ปาน
กลาง
2.93 0.47 ปาน
กลาง
2.83 0.50 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 22 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับ
งานห้องสมุด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 2.83 – 2.93 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่า มีสภาพของอยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
72
7.3 สภาพห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ตามความ
คิดเห็นของบรรณารักษ์ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 23
ตารางที่ 23 สภาพของห้องสมุดด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษา
ทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
2.92 0.56 ปาน
กลาง
2.73 0.77 ปาน
กลาง
2.85 0.82 ปาน
กลาง
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด
3.00 0.49 ปาน
กลาง
2.78 0.79 ปาน
กลาง
2.76 0.80 ปาน
กลาง
3. ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอน
เฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุด
2.73 0.67 ปาน
กลาง
2.86 0.75 ปาน
กลาง
2.88 0.75 ปาน
กลาง
4. บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ
2.85 0.61 ปาน
กลาง
3.03 0.76 ปาน
กลาง
2.83 0.80 ปาน
กลาง
5. มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ 2.88 0.77 ปาน
กลาง
3.05 0.74 ปาน
กลาง
3.00 0.71 ปาน
กลาง
6. มีเจ้าหน้าที่ช่วยซ่อมหนังสือที่ชำรุด 3.12 0.59 ปาน
กลาง
3.08 0.68 ปาน
กลาง
2.71 0.81 ปาน
กลาง
7. มีบุคลากรช่วยงานห้องสมุด เช่น
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานทำ
ความสะอาด
2.96 0.53 ปาน
กลาง
3.00 0.67 ปาน
กลาง
2.95 0.71 ปาน
กลาง
รวม 3.15 0.35 ปาน
กลาง
3.08 0.50 ปาน
กลาง
3.01 0.62 ปาน
กลาง
จากตารางที่ 23 พบว่า บรรณารักษ์ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มีความ
คิดเห็นต่อสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด โดย
ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 3.01 - 3.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพ
ของอยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
73
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อสภาพ
ห้องสมุดโรงเรียน ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด พบว่าไม่ว่าจะเป็นโรงเรียน
ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีสภาพของห้องสมุดโรงเรียนในด้านบทบาทและหน้าที่ของ
ผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่า มีสภาพของห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลาง ทุกรายข้อ
ตอนที่ 3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาที่พึงประสงค์ตาม แนวคิดของ
ผู้บริหารโรงเรียน และบรรณารักษ์
แยกตามขนาดของโรงเรียน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ แยกวิเคราะห์ได้ผลดังนี้
1. ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านการบริหาร ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียน
และบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียน โดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
1.1 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านการบริหาร ตามความคิดเห็นของ
ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 24
74
ตารางที่ 24 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านการบริหาร ตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการกำหนดนโยบายการดำเนินงาน
ห้องสมุด
3.85 0.67 มาก 3.68 0.63 มาก 4.29 0.75 มาก
2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติงาน
ประจำปี/ประจำภาคเรียน
3.85 0.61 มาก 3.89 0.61 มาก 4.02 0.76 มาก
3. มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการ ที่
สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงาน
3.81 0.69 มาก 3.68 0.58 มาก 3.56 0.50 มาก
4. มีการจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด 3.85 0.54 มาก 3.78 0.58 มาก 3.63 0.49 มาก
5. มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้
ห้องสมุดอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
3.81 0.80 มาก 3.70 0.62 มาก 3.78 0.65 มาก
6. มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของ
ฝ่ายต่าง ๆ ในห้องสมุด
3.92 0.56 มาก 3.84 0.69 มาก 3.93 0.79 มาก
7. มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน
ประจำปี/ภาคเรียนแสดงให้เห็นอย่าง
เด่นชัด
3.85 0.67 มาก 3.78 0.71 มาก 3.68 0.57 มาก
8. มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติ
งานประจำเดือน/รายปี
3.88 0.52 มาก 3.78 0.67 มาก 3.68 0.52 มาก
9. มีการจัดเก็บสถิติต่าง ๆ ของห้องสมุด
อย่างเป็นระบบ
3.77 0.76 มาก 3.68 0.67 มาก 3.68 0.65 มาก
10. มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
กิจกรรมของห้องสมุดให้ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
4.04 0.66 มาก 3.95 0.57 มาก 3.90 0.66 มาก
รวม 3.68 0.20 มาก 3.78 0.18 มาก 3.81 0.20 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 24 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านการบริหาร โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับมาก (
−X
=3.78- 3.81) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่ามีความต้องการอยู่ในระดับมากทุก
รายข้อ
75
1.2 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านการบริหาร ตามความคิดเห็นของผู้ช่วย
ฝ่ายวิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 25
ตารางที่ 25 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านการบริหารตามความคิดเห็นของ
ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการกำหนดนโยบายการดำเนินงาน
ห้องสมุด
3.77 0.71 มาก 3.78 0.67 มาก 3.93 0.57 มาก
2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี/
ประจำภาคเรียน
3.92 0.69 มาก 3.78 0.71 มาก 3.76 0.77 มาก
3. มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการที่
สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงาน
3.65 0.49 มาก 3.78 0.63 มาก 3.61 0.49 มาก
4. มีการจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด 3.69 0.47 มาก 3.78 0.67 มาก 3.63 0.54 มาก
5. มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้
ห้องสมุดอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
3.46 0.76 ปาน
กลาง
3.19 0.57 ปาน
กลาง
3.76 0.58 มาก
6. มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของ
ฝ่ายต่าง ๆ ในห้องสมุด
3.69 0.55 มาก 3.62 0.49 มาก 3.63 0.54 มาก
7. มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน
ประจำปี/ภาคเรียนแสดงให้เห็นอย่าง
เด่นชัด
3.69 0.62 มาก 3.54 0.51 มาก 3.34 0.48 ปาน
กลาง
8. มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติ
งานประจำเดือน/รายปี
3.73 0.45 มาก 3.68 0.47 มาก 3.78 0.61 มาก
9. มีการจัดเก็บสถิติต่าง ๆ ของห้องสมุด
อย่างเป็นระบบ
3.62 0.57 มาก 3.54 0.51 มาก 3.59 0.50 มาก
10. มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
กิจกรรมของห้องสมุดให้ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
3.96 0.72 มาก 3.65 0.59 มาก 3.66 0.48 มาก
รวม 3.57 0.22 มาก 3.64 0.16 มาก 3.66 0.14 มาก
76
สรุปผลจากตารางที่ 25 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านการบริหาร โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก (
−X
= 3.57- 3.66) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดสรรงบประมาณประจำปีให้
ห้องสมุดอย่างเหมาะสมและเพียงพอของโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลางมีความต้องการอยู่
ในระดับปานกลาง
1.3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านการบริหาร ตามความคิดเห็นของ
บรรณารักษ์ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 26
77
ตารางที่ 26 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านการบริหารตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการกำหนดนโยบายการดำเนินงาน
ห้องสมุด
3.85 0.67 มาก 3.59 0.64 มาก 3.90 0.80 มาก
2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี/
ประจำภาคเรียน
3.88 0.77 มาก 3.53 0.65 มาก 3.56 0.92 มาก
3. มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ
ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงาน
3.62 0.75 มาก 3.54 0.61 มาก 3.59 0.74 มาก
4. มีการจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด 3.50 0.51 มาก 3.50 0.51 มาก 3.66 0.54 มาก
5. มีการจัดสรรงบประมาณประจำปี
ให้ห้องสมุดตามสัดส่วนที่เหมาะสม
และเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
3.92 0.74 มาก 3.54 0.65 มาก 3.59 0.73 มาก
6. มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของ
ฝ่ายต่าง ๆ ในห้องสมุด
3.54 0.51 มาก 3.54 0.51 มาก 4.00 0.51 มาก
7. มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน
ประจำปี/ภาคเรียนแสดงให้เห็นอย่าง
เด่นชัด
3.73 0.67 มาก 3.76 0.76 มาก 3.51 0.84 มาก
8. มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติ
งานประจำเดือน/รายปี
3.88 0.71 มาก 3.76 0.72 มาก 3.61 0.87 มาก
9. มีการจัดเก็บสถิติต่าง ๆ ของห้อง
สมุดอย่างเป็นระบบ
3.81 0.80 มาก 3.70 0.78 มาก 3.76 0.70 มาก
10. มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
กิจกรรมของห้องสมุดให้ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
3.38 0.50 ปาน
กลาง
3.49 0.56 ปาน
กลาง
3.20 0.73 ปาน
กลาง
รวม 3.71 0.16 มาก 3.57 0.22 มาก 3.50 0.19 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 26 พบว่า 26 บรรณารักษ์ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านการบริหาร โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก (
−X
=3.50- 3.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
กิจกรรมของห้องสมุดของโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง
(
−X
= 3.20 - 3.49 )
78
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ด้านการบริหาร พบว่า ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ ขนาด
กลางและขนาดเล็กความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านการบริหาร โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความต้องการของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการในการจัดสรร
งบประมาณประจำปีให้ห้องสมุดอย่างเหมาะสมและเพียงพอของโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาด
กลางมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ความต้องการของบรรณารักษ์ในการเผยแพร่และ
ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของห้องสมุดของโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มีความ
ต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
2. ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ ตามความคิดเห็น
ของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียน โดย
หาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน มีดัง
ตารางต่อไปนี้
79
2.1 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ ตามความ
คิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 27
ตารางที่ 27 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ ตามความคิดเห็น
ของผู้อำนวยการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีตู้และป้ายนิทรรศการในห้องสมุด 4.15 0.67 มาก 3.62 0.68 มาก 3.50 0.64 มาก
2. มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือตาม
สัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอ
ต่อการให้บริการ
3.54 0.51 มาก 3.59 0.55 มาก 3.56 0.50 มาก
3. มีชั้นหนังสือเพียงพอกับจำนวน
หนังสือในห้องสมุด
3.69 0.55 มาก 3.59 0.50 มาก 3.78 0.72 มาก
4. ชั้นหนังสือและวารสารมีความ
เหมาะสมกับการใช้งาน
3.92 0.69 มาก 3.65 0.63 มาก 3.76 0.70 มาก
5. มีตู้บัตรรายการตู้จุลสารและตู้
กฤตภาคเพียงพอกับการใช้งาน
3.65 0.49 มาก 3.73 0.56 มาก 3.80 0.64 มาก
6. มีวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก
วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง เป็นต้น มา
ไว้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.96 0.66 มาก 3.57 0.65 มาก 3.80 0.75 มาก
7. มีวัสดุตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร
หนังสือพิมพ์ เป็นต้น มาไว้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.73 0.60 มาก 3.68 0.53 มาก 3.66 0.48 มาก
8. มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ
จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
4.08 3.81 มาก 3.57 0.65 มาก 3.71 0.64 มาก
9. มีระบบการสืบค้นข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์
3.56 0.57 มาก 3.73 0.51 มาก 3.73 0.55 มาก
รวม 3.83 0.30 มาก 3.63 0.26 มาก 3.69 0.31 มาก
80
สรุปผลจากตารางที่ 27 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง
และขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และ
ครุภัณฑ์ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
=3.83- 3.69) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มี
ความต้องการอยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
2.2 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ตามความคิด
เห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 28
ตารางที่ 28 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ตามความคิดเห็น
ของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีตู้และป้ายนิทรรศการในห้องสมุด 3.50 0.51 มาก 3.59 0.50 มาก 3.51 0.51 มาก
2. มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือตาม
สัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.54 0.51 มาก 3.54 0.51 มาก 3.46 0.50 ปาน
กลาง
3. มีชั้นหนังสือเพียงพอกับจำนวน
หนังสือในห้องสมุด
3.58 0.50 มาก 3.65 0.59 มาก 3.80 0.51 มาก
4. ชั้นหนังสือและวารสารมีความ
เหมาะสมกับการใช้งาน
3.62 0.64 มาก 3.81 0.66 มาก 3.68 0.61 มาก
5. มีตู้บัตรรายการตู้จุลสารและตู้
กฤตภาคเพียงพอกับการใช้งาน
3.46 0.51 ปาน
กลาง
3.51 0.51 มาก 3.61 0.59 มาก
6. มีวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก
วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง เป็นต้น มา
ไว้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.77 0.59 มาก 3.76 0.60 มาก 3.80 0.56 มาก
7. มีวัสดุตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร
หนังสือพิมพ์ เป็นต้น มาไว้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.65 0.49 มาก 3.54 0.51 มาก 3.90 0.77 มาก
8. มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ
จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
3.77 0.59 มาก 3.70 0.62 มาก 3.98 0.61 มาก
9. มีระบบการสืบค้นข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์
3.88 0.52 มาก 3.76 0.60 มาก 3.76 0.58 มาก
รวม 3.64 0.25 มาก 3.66 0.28 มาก 3.72 0.25 มาก
81
สรุปผลจากตารางที่ 28 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ โดย
ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
=3.64- 3.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความต้องการ
โต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือ และมีตู้บัตรรายการ ตู้จุลสารและตู้กฤตภาค อยู่ในระดับปานกลาง
2.3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ ตามความ
คิดเห็นของบรรณารักษ์ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 29
82
ตารางที่ 29 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ตามความคิดเห็น
ของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีตู้และป้ายนิทรรศการในห้องสมุด 3.42 0.58 ปาน
กลาง
3.35 0.63 ปาน
กลาง
3.46 0.71 ปาน
กลาง
2. มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือตาม
สัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอ
ต่อการให้บริการ
3.77 0.76 มาก 3.57 0.55 มาก 3.54 0.55 มาก
3. มีชั้นหนังสือเพียงพอกับจำนวน
หนังสือในห้องสมุด
3.42 0.58 ปาน
กลาง
3.51 0.56 มาก 3.88 0.50 มาก
4. ชั้นหนังสือและวารสารมีความ
เหมาะสมกับการใช้งาน
4.19 0.69 มาก 3.84 0.69 มาก 3.71 0.64 มาก
5. มีตู้บัตรรายการตู้จุลสารและตู้
กฤตภาคเพียงพอกับการใช้งาน
3.88 0.71 มาก 3.59 0.55 มาก 4.00 0.64 มาก
6. มีวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก
วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง เป็นต้น มา
ไว้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
4.00 0.75 มาก 3.89 0.66 มาก 3.73 0.74 มาก
7. มีวัสดุตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร
หนังสือพิมพ์ เป็นต้น มาไว้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.85 0.61 มาก 3.70 0.62 มาก 3.83 0.59 มาก
8. มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ
จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
4.08 0.74 มาก 4.14 0.75 มาก 3.76 0.63 มาก
9. มีระบบการสืบค้นข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์
4.31 0.55 มาก 3.97 0.60 มาก 3.85 0.66 มาก
รวม 3.88 0.27 มาก 3.72 0.24 มาก 3.67 0.26 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 29 พบว่าบรรณารักษ์ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์
โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
=3.67- 3.88) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความ
ต้องการป้ายนิทรรศการของโรงเรียนทั้ง 3 ขนาด อยู่ในระดับปานกลาง ความต้องการชั้นหนังสือของ
โรงเรียนขนาดเล็ก มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
83
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ด้านวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก
ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์โดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการมีความต้องการ โต๊ะ เก้าอี้
นั่งอ่านหนังสือ และมีตู้บัตรรายการ ตู้จุลสารและตู้กฤตภาค อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนบรรณารักษ์
มีความต้องการป้ายนิทรรศการของโรงเรียนทั้ง 3 ขนาด อยู่ในระดับปานกลาง ความต้องการชั้น
หนังสือของโรงเรียนขนาดเล็ก มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
3. ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านอาคารสถานที่ ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร
โรงเรียนและบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย
และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวมในแต่ละด้าน
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
3.1 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านอาคารสถานที่ ตามความคิดเห็นของ
ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 30
ตารางที่ 30 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านอาคารสถานที่ตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศใน
ห้องสมุด
3.54 0.51 มาก 3.54 0.51 มาก 3.73 0.59 มาก
2. ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่าง
กว้างขวางและเพียงพอ
3.96 0.66 มาก 3.92 0.76 มาก 3.80 0.75 มาก
3. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการ
อ่านหนังสือ
4.27 0.78 มาก 3.65 0.68 มาก 3.68 0.61 มาก
4. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อ
การเข้ามาใช้บริการ
3.81 0.80 มาก 4.30 0.46 มาก 4.00 0.67 มาก
5. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม ไม่มีเสียงและ กลิ่นรบกวน
4.00 0.63 มาก 3.57 0.65 มาก 3.66 0.66 มาก
รวม 3.91 0.41 มาก 3.79 0.36 มาก 3.77 0.42 มาก
84
สรุปผลจากตารางที่ 30 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานอาคารสถานที่ โดย
ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
=3.77- 3.91) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความต้องการอยู่
ในระดับมากทุกรายข้อ
3.2 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านอาคารสถานที่ ตามความคิดเห็นของ
ช่วยฝ่ายวิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 31
ตารางที่ 31 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านอาคารสถานที่ตามความคิดเห็นของผู้ช่วย
ฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศใน
ห้องสมุด
3.85 0.61 มาก 3.65 0.48 มาก 3.83 0.44 มาก
2. ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่าง
กว้างขวางและเพียงพอ
3.81 0.57 มาก 3.59 0.64 มาก 3.80 0.56 มาก
3. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการ
อ่านหนังสือ
3.77 0.59 มาก 3.78 0.67 มาก 3.88 0.56 มาก
4. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อ
การเข้ามาใช้บริการ
3.65 0.49 มาก 3.59 0.55 มาก 3.61 0.49 มาก
5. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม ไม่มีเสียงและกลิ่นรบกวน
3.81 0.69 มาก 3.84 0.60 มาก 3.93 0.57 มาก
รวม 3.77 0.38 มาก 3.70 0.39 มาก 3.80 0.36 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 31 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานอาคารสถานที่ โดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
=3.70- 3.80) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความต้องการอยู่ในระดับ
มากทุกรายข้อ
85
3.3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านอาคารสถานที่ ตามความคิดเห็นของ
บรรณารักษ์ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 32
ตารางที่ 32 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานอาคารสถานที่ตามความคิดเห็นของ
บรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศใน
ห้องสมุด
3.92 0.74 มาก 3.81 0.66 มาก 3.85 0.73 มาก
2. ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่าง
กว้างขวางและเพียงพอ
4.19 0.75 มาก 3.81 0.70 มาก 3.85 0.69 มาก
3. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการ
อ่านหนังสือ
4.27 0.67 มาก 3.78 0.82 มาก 3.61 0.86 มาก
4. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อ
การเข้ามาใช้บริการ
4.08 0.69 มาก 3.59 0.64 มาก 3.51 0.67 มาก
5. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม ไม่มีเสียงและกลิ่นรบกวน
4.00 0.75 มาก 3.54 0.69 มาก 3.78 0.85 มาก
รวม 4.09 0.41 มาก 3.70 0.37 มาก 3.65 0.43 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 32 พบว่า บรรณารักษ์ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานอาคารสถานที่ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก (
−X
=3.65- 4.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความต้องการอยู่ในระดับมากทุก
รายข้อ
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ด้านงานอาคารสถานที่ พบว่าไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก
ขาดกลางและขนาดใหญ่มีความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานอาคารสถานที่โดยภาพรวม
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความต้องการอยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
86
4. ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร
โรงเรียนและบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย
และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวมในแต่ละด้าน
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
4.1 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิคตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 33
87
ตารางที่ 33 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานเทคนิคตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
ประกอบการค้นคว้าที่เหมาะสมและ
เพียงพอ
4.12 0.91 มาก 3.70 0.62 มาก 3.76 0.66 มาก
2. มีหนังสืออ่านประกอบการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.92 0.63 มาก 3.84 0.60 มาก 4.07 0.69 มาก
3. มีหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น
นิทาน หนังสือสำหรับเด็กที่
เหมาะสมและเพียงพอ
4.00 0.75 มาก 3.54 0.61 มาก 3.59 0.63 มาก
4. มีวารสารและหนังสือพิมพ์เพียงพอ
และเหมาะสมกับนักเรียน
3.85 0.68 มาก 3.78 0.67 มาก 3.83 0.70 มาก
5. มีหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ
ที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.92 0.69 มาก 3.62 0.68 มาก 3.71 0.78 มาก
6. มีโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง
วีดิทัศน์ สำหรับให้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
4.19 0.80 มาก 3.84 0.69 มาก 3.98 0.72 มาก
7. มีการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศ
โดยใช้ระบบที่เป็นสากล
3.85 0.83 มาก 3.78 0.71 มาก 3.71 0.64 มาก
8. มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้น เช่น
บัตรรายการ หรือการสืบค้นทาง
คอมพิวเตอร์
3.58 0.64 มาก 3.78 0.67 มาก 3.76 0.62 มาก
9. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็น
ระบบ
3.58 0.50 มาก 3.68 0.67 มาก 3.71 0.64 มาก
10. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อน
ให้บริการ
4.04 0.82 มาก 3.89 0.66 มาก 3.68 0.52 มาก
11. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ 3.65 0.49 มาก 3.50 0.51 มาก 3.63 0.49 มาก
12. มีการสำรวจหนังสือประจำปี 3.31 0.62 ปาน
กลาง
3.49 0.51 ปาน
กลาง
3.66 0.48 มาก
13. มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็น
ประจำทุกปี
3.27 0.60 ปาน
กลาง
3.57 0.56 มาก 3.63 0.49 มาก
รวม 4.01 0.35 มาก 3.69 0.24 มาก 3.74 0.29 มาก
88
สรุปผลจากตารางที่ 33 พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิคโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก (
−X
=3.69- 4.01) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การสำรวจหนังสือประจำปีของ
โรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลางมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง การจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัย
ของโรงเรียนขนาดเล็กมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
4.2 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของผู้ช่วย
ฝ่ายวิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 34
89
ตารางที่ 34 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
ประกอบการค้นคว้าที่เหมาะสมและ
เพียงพอ
3.15 0.78 ปาน
กลาง
3.22 0.75 ปาน
กลาง
3.39 0.63 ปาน
กลาง
2. มีหนังสืออ่านประกอบการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.15 0.78 ปาน
กลาง
3.16 0.76 ปาน
กลาง
3.17 0.70 ปาน
กลาง
3. มีหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น
นิทาน หนังสือสำหรับเด็กที่
เหมาะสมและเพียงพอ
3.42 0.81 ปาน
กลาง
3.62 0.64 มาก 3.80 0.56 มาก
4. มีวารสารและหนังสือพิมพ์เพียงพอ
และเหมาะสมกับนักเรียน
3.46 0.65 ปาน
กลาง
3.38 0.68 ปาน
กลาง
3.32 0.69 ปาน
กลาง
5. มีหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ
ที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.69 0.68 มาก 3.54 0.73 มาก 3.73 0.63 มาก
6. มีโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง
วีดิทัศน์ สำหรับให้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.62 0.50 มาก 3.54 0.51 มาก 3.61 0.49 มาก
7. มีการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศ
โดยใช้ระบบที่เป็นสากล
3.69 0.62 มาก 3.68 0.63 มาก 3.76 0.62 มาก
8. มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้น เช่น
บัตรรายการ หรือการสืบค้นทาง
คอมพิวเตอร์
3.73 0.53 มาก 3.84 0.76 มาก 3.95 0.63 มาก
9. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็น
ระบบ
3.65 0.49 มาก 3.50 0.51 มาก 3.54 0.55 มาก
10. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อน
ให้บริการ
4.04 0.82 มาก 3.89 0.66 มาก 3.68 0.52 มาก
11. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ 3.65 0.49 มาก 3.50 0.51 มาก 3.63 0.49 มาก
12. มีการสำรวจหนังสือประจำปี 3.31 0.62 ปาน
กลาง
3.49 0.51 ปาน
กลาง
3.66 0.48 มาก
13. มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็น
ประจำทุกปี
3.27 0.60 ปาน
กลาง
3.57 0.56 มาก 3.63 0.49 มาก
รวม 4.01 0.35 มาก 3.69 0.24 มาก 3.74 0.29 มาก
90
สรุปผลจากตารางที่ 34 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิคโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก (
−X
=3.51- 3.98) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ่านประกอบการเรียนการสอน หนังสืออ่านประกอบการเรียนการสอน ของโรงเรียนทั้ง 3
ขนาด มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ความต้องการหนังสือบันเทิงคดี ของโรงเรียนขนาดเล็ก
มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ความต้องการในการสำรวจหนังสือของ โรงเรียนขนาดเล็กและ
ขนาดกลาง มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
4.3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 35
91
ตารางที่ 35 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิค ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
ประกอบการค้นคว้าที่เหมาะสมและ
เพียงพอ
3.88 0.91
มาก 3.78 0.82 มาก 3.88 0.75 มาก
2. มีหนังสืออ่านประกอบการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.50 0.58 มาก 3.51 0.61 มาก 3.56 0.50 มาก
3. มีหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น
นิทาน หนังสือสำหรับเด็กที่
เหมาะสมและเพียงพอ
4.31 0.79 มาก 3.70 0.62 มาก 3.95 0.80 มาก
4. มีวารสารและหนังสือพิมพ์เพียงพอ
และเหมาะสมกับนักเรียน
3.85 0.92 มาก 4.03 0.90 มาก 3.59 0.67 มาก
5. มีหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ
ที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.92 0.74 มาก 3.84 0.55 มาก 4.22 0.76 มาก
6. มีโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง
วีดิทัศน์ สำหรับให้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.88 0.82 มาก 3.62 0.55 มาก 3.63 0.54 มาก
7. มีการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศ
โดยใช้ระบบที่เป็นสากล
3.69 0.79 มาก 3.86 0.63 มาก 3.59 0.71 มาก
8. มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้น เช่น
บัตรรายการ หรือการสืบค้นทาง
คอมพิวเตอร์
3.65 0.49 มาก 3.59 0.50 มาก 3.90 0.70 มาก
9. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็น
ระบบ
3.54 0.51 มาก 3.65 0.63 มาก 3.85 0.79 มาก
10. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อน
ให้บริการ
3.65 0.63 มาก 3.78 0.75 มาก 3.63 0.70 มาก
11. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ 3.65 0.69 มาก 3.54 0.73 มาก 3.59 0.71 มาก
12. มีการสำรวจหนังสือประจำปี 3.54 0.51 มาก 3.51 0.51 มาก 3.50 0.51 มาก
13. มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็น
ประจำทุกปี
3.50 0.58 มาก 3.50 0.51 มาก 3.61 0.54 มาก
รวม 3.61 0.45 มาก 3.68 0.26 มาก 3.64 0.27 มาก
92
สรุปผลตารางที่ 35 พบว่า บรรณารักษ์ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มี
ความคิดเห็นตรงกันส่วนใหญ่ ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานเทคนิคโดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
=3.61- 3.68) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่ามีความต้องการอยู่ในระดับ
มาก ทุกรายข้อ
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ด้านงานเทคนิค พบว่าไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาด
กลาง ขนาดใหญ่ มีความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานเทคนิคโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียนมีความต้องการในการสำรวจหนังสือ
ประจำปีของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลางมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง การจำหน่าย
หนังสือเก่าล้าสมัยของโรงเรียนขนาดเล็กมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการมี
หนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง หนังสืออ่านประกอบการเรียนการสอน หนังสืออ่านประกอบการ
เรียนการสอน ของโรงเรียนทั้ง 3 ขนาด มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ความต้องการหนังสือ
บันเทิงคดี ของโรงเรียนขนาดเล็ก มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ความต้องการในการสำรวจ
หนังสือของ โรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
5. ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน
และบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียนโดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
5.1 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของ
ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 36
93
ตารางที่ 36 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด 3.56 0.58 มาก 3.68 0.58 มาก 3.61 0.49 มาก
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า
3.62 0.50 มาก 3.68 0.48 มาก 3.56 0.50 มาก
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร 3.54 0.51 มาก 3.54 0.51 มาก 3.54 0.51 มาก
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ 3.96 0.82 มาก 3.78 0.63 มาก 3.61 0.54 มาก
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้
ทั่วไป
3.54 0.51 มาก 3.57 0.50 มาก 3.56 0.50 มาก
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของ
ห้องสมุด
3.73 0.45 มาก 3.68 0.48 มาก 3.61 0.49 มาก
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็น
ระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
3.77 0.65 มาก 3.60 0.50 มาก 3.61 0.49 มาก
รวม 3.78 0.23 มาก 3.64 0.33 มาก 3.58 0.33 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 36 พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก (
−X
=3.58- 3.78) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความต้องการอยู่ในระดับมาก ทุก
รายข้อ
5.2 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของผู้ช่วย
ฝ่ายวิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 37
94
ตารางที่ 37 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของผู้ช่วย
ฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด 3.65 049 มาก 3.50 0.56 มาก 3.59 0.50 มาก
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า
3.46 0.58 ปาน
กลาง
3.51 0.51 มาก 3.46 0.50 ปาน
กลาง
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร 3.88 0.86 มาก 3.76 0.64 มาก 3.85 0.69 มาก
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ 3.38 0.50 ปาน
กลาง
3.41 0.50 ปาน
กลาง
3.59 0.50 มาก
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้
ทั่วไป
3.77 0.71 มาก 3.59 0.55 มาก 3.63 0.49 มาก
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของ
ห้องสมุด
3.65 0.49 มาก 3.51 0.51 มาก 3.63 0.49
มาก
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็น
ระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
3.58 0.50 มาก 3.54 0.51 มาก 3.51 0.50 มาก
รวม 3.54 0.22 มาก 3.53 0.33 มาก 3.59 0.33 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 37 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง
และขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ โดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
=3.53- 3.59) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การบริการตอบคำถามและ
ช่วยการค้นคว้าของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง การ
บริการแนะนำหนังสือใหม่ของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลางมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
5.3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 38
95
ตารางที่ 38 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด 3.69 0.74 มาก 3.70 0.57 มาก 3.61 0.59 มาก
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า
3.43 0.83 ปาน
กลาง
3.49 0.56 ปาน
กลาง
3.44 0.50 ปาน
กลาง
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและ วารสาร 3.27 0.45 ปาน
กลาง
3.46 0.51 ปาน
กลาง
3.49 0.55 ปาน
กลาง
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ 3.92 0.80 มาก 3.54 0.51 มาก 3.50 0.51 มาก
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้
ทั่วไป
3.54 0.51 มาก 3.57 0.50 มาก 3.68 0.57 มาก
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของ
ห้องสมุด
3.50 0.51 มาก 3.68 0.58 มาก 3.54 0.55 มาก
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็น
ระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
3.54 0.51 มาก 3.65 0.48 มาก 3.66 0.48 มาก
รวม 3.71 0.29 มาก 3.58 0.34 มาก 3.59 0.33 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 38 พบว่า บรรณารักษ์ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานบริการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก (
−X
=3.58- 3.73) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า และการบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อ
ความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ด้านงานบริการ พบว่า ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก
ขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานบริการโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ มีความต้องการในการบริการตอบ
คำถามและช่วยการค้นคว้าของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง การ
บริการแนะนำหนังสือใหม่ของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลางมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
บรรณารักษ์มีความต้องการ ในการบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า และการบริการยืม-คืน
หนังสือและวารสาร อยู่ในระดับปานกลาง
96
6. ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมห้องสมุด ตามความคิดเห็นของ
ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาดของโรงเรียน โดยหา
ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
6.1 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด ตามความ
คิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 39
ตารางที่ 39 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด ตามความคิดเห็น
ของผู้อำนวยการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
3.85 0.73 มาก 3.65 0.59 มาก 3.61 0.63 มาก
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้
ห้องสมุด
3.58 0.50 มาก 3.54 0.56 มาก 3.68 0.57 มาก
3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
รูปแบบ และความเหมาะสมกับวัย
ของนักเรียน
3.27 0.78 ปาน
กลาง
3.40 0.55 ปาน
กลาง
3.49 0.64 ปาน
กลาง
4. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและ
ต่อเนื่อง
3.58 0.58 มาก 3.43 0.56 ปาน
กลาง
3.37 0.54 ปาน
กลาง
5. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 3.54 0.65 มาก 3.27 0.65 ปาน
กลาง
3.49 0.60 ปาน
กลาง
6. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียน
3.58 0.50 มาก 3.46 0.56 ปาน
กลาง
3.61 0.49 มาก
7. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อ
นำมาปรับปรุงและพัฒนา
3.12 0.71 ปาน
กลาง
3.49 0.69 ปาน
กลาง
3.76 0.58 มาก
รวม 3.65 0.38 มาก 3.44 0.33 ปาน
กลาง
3.49 0.37 ปาน
กลาง
97
สรุปผลจากตารางที่ 39 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก มีความคิดเห็น
ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มาก (
−X
=3.65) ผู้อำนวยการโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง
(
−X
=3.44-3.49) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ มีความต้องการ
อยู่ในระดับปานกลาง การจัดกิจกรรมและนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียนขนาด
กลางและขนาดใหญ่มีความต้องการอยู่ในระดับ ปานกลาง การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียนของโรงเรียนขนาดกลาง มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
การประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลางมี
ความต้องการอยู่ในระดับ ปานกลาง
6.2 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด ตามความ
คิดเห็นของ ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 40
98
ตารางที่ 40 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดตามความคิดเห็น
ของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
3.65 0.56 มาก 3.54 0.51 มาก 3.50 0.55 มาก
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้
ห้องสมุด
3.12 0.82 ปาน
กลาง
3.03 0.76 ปาน
กลาง
3.51 0.64 มาก
3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
รูปแบบ และความเหมาะสมกับวัย
ของนักเรียน
3.38 0.57 ปาน
กลาง
3.57 0.55 มาก 3.41 0.50 ปาน
กลาง
4. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและ
ต่อเนื่อง
3.58 0.50 มาก 3.46 0.51 ปาน
กลาง
3.34 0.53 ปาน
กลาง
5. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 3.42 0.50 ปาน
กลาง
3.41 0.50 ปาน
กลาง
3.61 0.49 มาก
6. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรใน โรงเรียน
3.62 0.50 มาก 3.57 0.50 มาก 3.63 0.49 มาก
7. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อ
นำมาปรับปรุงและพัฒนา
3.54 0.51 มาก 3.56 0.51 มาก 3.59 0.50 มาก
รวม 3.62 0.36 มาก 3.27 0.33 ปาน
กลาง
3.64 0.29 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 40 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ มี
ความคิดเห็นความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับมาก (
−X
=3.62-3.64) ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดกลาง มีความคิดเห็นความ
ต้องการลักษณะของ ห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง
(
−X
=3.27) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้ห้องสมุดและ นักเรียนมี
ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง มีความต้องการอยู่ในระดับปาน
กลาง การจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ ของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีความต้องการอยู่
ในระดับปานกลาง การจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่
มีความต้องการอยู่ในระดับ ปานกลาง
99
6.3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด ตามความ
คิดเห็นของบรรณารักษ์ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 41
ตารางที่ 41 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดตามความคิดเห็นของ
บรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
3.62 0.57 มาก 3.78 0.67 มาก 3.83 0.74 มาก
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้
ห้องสมุด
3.65 0.49 มาก 3.70 0.46 มาก 3.63 0.49 มาก
3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
รูปแบบ และความเหมาะสมกับวัย
ของนักเรียน
3.50 0.51 มาก 3.59 0.50 มาก 3.56 0.50 มาก
4. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและ
ต่อเนื่อง
3.65 0.49 มาก 3.62 0.49 มาก 3.63 0.49 มาก
5. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 3.85 0.73 มาก 3.59 0.50 มาก 3.63 0.49 มาก
6. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรใน โรงเรียน
3.81 0.85 มาก 3.73 0.61 มาก 3.63 0.49 มาก
7. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อ
นำมาปรับปรุงและพัฒนา
3.69 0.55 มาก 3.65 0.59 มาก 3.73 0.71 มาก
รวม 3.61 0.42 มาก 3.79 0.39 มาก 3.70 0.36 มาก
จากตารางที่ 41 พบว่า บรรณารักษ์ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
มีความคิดเห็นความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุดโดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก(
−X =
3.61 -
3.79 )
เมื่อ
พิจาร
ณาเป็น
ราย
ข้อ


ว่า มีค
วาม
ต้อ

การ

ยู่ในระดับ
มาก ทุกรายข้อ
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ด้านงานกิจกรรมของห้องสมุด พบว่า ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียน
ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านงานกิจกรรมของ
100
ห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน
มีความต้องการในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ อยู่ในระดับปานกลาง การจัดกิจกรรมและ
นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่มีความต้องการอยู่ใน
ระดับ ปานกลาง การสนับสนุนการจัดกิจกรรมของผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียนของโรงเรียน
ขนาดกลาง มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง การประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุง
และพัฒนาของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลางมีความต้องการอยู่ในระดับ ปานกลาง
ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการมีความต้องการในการจัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้ห้องสมุดและนักเรียนมีส่วน
ร่วมในการจัดกิจกรรม ของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง
การจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ ของโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีความต้องการอยู่ใน
ระดับปานกลาง การจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องของโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ มี
ความต้องการอยู่ในระดับ ปานกลาง
7. ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ วิเคราะห์โดยแยกตามกลุ่มตัวอย่างและขนาด
ของโรงเรียน โดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม
รายละเอียดของการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละด้านของกลุ่มตัวอย่าง และขนาดของโรงเรียน
มีดังตารางต่อไปนี้
7.1 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 42
101
ตารางที่ 42 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุดตามความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษา
ทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
3.88 0.71 มาก 3.76 0.64 มาก 3.78 0.57 มาก
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด
3.96 0.72 มาก 3.73 0.69 มาก 3.76 0.66 มาก
3. ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอน
เฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุด
2.73 0.67 ปาน
กลาง
2.84 0.69 ปาน
กลาง
2.93 0.69 ปาน
กลาง
4. บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ 3.19 0.49 ปาน
กลาง
3.38 0.49 ปาน
กลาง
3.22 0.52 ปาน
กลาง
5. มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ 3.23 0.71 ปาน
กลาง
2.97 0.64 ปาน
กลาง
3.41 0.50 ปาน
กลาง
6. มีเจ้าหน้าที่ช่วยซ่อมหนังสือที่ชำรุด 2.88 0.59 ปาน
กลาง
3.35 0.63 ปาน
กลาง
3.49 0.51 ปาน
กลาง
7. มีบุคลากรช่วยงานห้องสมุด เช่น
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานทำ
ความสะอาด
3.73 0.60 มาก 3.58 0.64 มาก 3.51 0.51 มาก
รวม 3.37 0.26 ปาน
กลาง
3.34 0.36 ปาน
กลาง
3.44 0.31 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 42 พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง
กับงานห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 3.34 - 3.44 )
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุดและมีบุคคลากรช่วยงาน ห้องสมุด
อยู่ในระดับมาก (
−X
= 3.51 - 3.96 )
102
7.2 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการได้ผลดังแสดงในตารางที่ 43
ตารางที่ 43 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษา
ทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
3.85 0.54 มาก 3.76 0.68 มาก 3.85 0.57 มาก
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด
3.77 0.65 มาก 3.86 0.67 มาก 3.85 0.53 มาก
3. ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอน
เฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุด
3.42 0.86 ปาน
กลาง
3.00 0.67 ปาน
กลาง
2.88 0.75 ปาน
กลาง
4. บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ
3.19 0.75 ปาน
กลาง
3.16 0.76 ปาน
กลาง
3.46 0.55 ปาน
กลาง
5. มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ 2.88 0.71 ปาน
กลาง
3.16 0.76 ปาน
กลาง
3.07 0.79 ปาน
กลาง
6. มีเจ้าหน้าที่ช่วยซ่อมหนังสือที่ชำรุด 2.50 0.69 ปาน
กลาง
2.84 0.83 ปาน
กลาง
3.17 0.74 ปาน
กลาง
7. มีบุคลากรช่วยงานห้องสมุด เช่น
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานทำ
ความสะอาด
3.00 0.69 ปาน
กลาง
3.16 0.76 ปาน
กลาง
2.95 0.77 ปาน
กลาง
รวม 3.20 0.29 ปาน
กลาง
3.27 0.33 ปาน
กลาง
3.32 0.34 ปาน
กลาง
สรุปผลจากตารางที่ 43 พบว่า ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ มีความคิดเห็นความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับ
งานห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 3.20 - 3.32 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรงและมีความรู้เกี่ยวกับการใช้
คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุดอยู่ในระดับมาก (
−X
= 3.76 - 3.86 )
103
7.3 ความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุด ตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 44
ตารางที่ 44 ความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุดตามความคิดเห็นของบรรณารักษ์
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษา
ทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
4.08 0.84 มาก 3.95 0.74 มาก 3.93 0.79 มาก
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด
4.00 0.75 มาก 3.78 0.79 มาก 3.85 0.79 มาก
3. ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอน
เฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุด
3.45 0.63 ปาน
กลาง
3.35 0.82 ปาน
กลาง
3.34 0.73 ปาน
กลาง
4. บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ 3.85 0.78 มาก 4.03 0.73 มาก 3.54 0.81 มาก
5. มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ 3.52 0.50 มาก 3.70 0.66 มาก 3.71 0.60 มาก
6. มีเจ้าหน้าที่ช่วยซ่อมหนังสือที่ชำรุด 3.56 0.65 มาก 3.62 0.64 มาก 4.27 0.67 มาก
7. มีบุคลากรช่วยงานห้องสมุด เช่น
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานทำ
ความสะอาด
3.54 0.51 มาก 3.68 0.63 มาก 3.76 0.49 มาก
รวม 3.71 0.33 มาก 3.72 0.39 มาก 3.70 0.36 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 44 พบว่า บรรณารักษ์ในโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
มีความคิดเห็นต่อความต้องการลักษณะของห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของ ผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
= 3.70 - 3.72 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอน เฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลาง (
−X
= 3.34 - 3.45)
104
สรุป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการและบรรณารักษ์ที่มีต่อความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด พบว่า
โรงเรียนขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มีความต้องการลักษณะของห้องสมุดด้านบทบาทและหน้าที่ของ
ผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง โรงเรียนขนาดเล็ก มีความ
ต้องการโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียนมี
ความต้องการครูบรรณารักษ์ที่สำเร็จการศึกษาทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง บรรณารักษ์มี
ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุดและมีบุคคลากรช่วยงาน ห้องสมุด อยู่ในระดับมาก
ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการมีความต้องการให้ ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านบรรณารักษศาสตร์
โดยตรงและมีความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด อยู่ในระดับมาก
105
ตอนที่ 4 ศึกษาสภาพที่พึงประสงค์จากการสังเคราะห์ แบบสอบถามที่ผู้บริหารและบรรณารักษ์
ต้องการร่วมกันในระดับมากและมากที่สุด จากตารางที่ 24-44 ดังแสดงในตารางที่ 45
ตารางที่ 45 สภาพที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียน แยกตามขนาดของโรงเรียน
สภาพที่พึงประสงค์
โรงเรียนขนาด
ใหญ่
โรงเรียนขนาด
กลาง
โรงเรียนขนาด
เล็ก
ด้านการบริหาร
1. มีการกำหนดนโยบายการดำเนิน งานห้องสมุด
��
��
��
2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี/ประจำภาคเรียน �� �� ��
3. มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับ
แผนปฏิบัติงาน
��
��
��
4. มีการจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด �� �� ��
5. มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้ห้องสมุดตาม
สัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
�� --
��
6. มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของฝ่ายต่าง ๆ ในห้องสมุด �� �� ��
7. มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานประจำปี/ภาคเรียนแสดงให้
เห็นอย่างเด่นชัด
�� �� ��
8. มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน/ รายปี �� �� ��
9. มีการจัดเก็บสถิติต่าง ๆ ของห้องสมุดอย่างเป็นระบบ �� �� ��
10.มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของห้องสมุดให้
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
��
��
��
ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์
1. มีตู้และป้ายนิทรรศการในห้องสมุด
--
��
��
2. มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียพอ
ต่อการให้บริการ
�� �� ��
3. มีชั้นหนังสือเพียงพอกับจำนวน หนังสือในห้องสมุด �� �� ��
4. ชั้นหนังสือและวารสารมี ความเหมาะสมกับการใช้งาน �� �� ��
5. มีตู้บัตรรายการตู้จุลสารและตู้กฤตภาคเพียงพอกับการใช้งาน �� �� ��
6. มีวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง
มาไว้บริการในห้องสมุด
�� �� ��
7. มีวัสดุตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ มาไว้
บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
�� �� ��
106
ตารางที่ 45 (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์
โรงเรียนขนาด
ใหญ่
โรงเรียนขนาด
กลาง
โรงเรียนขนาด
เล็ก
8. มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากร
ห้องสมุด
�� �� ��
9. มีระบบการสืบค้นข้อมูลด้วย คอมพิวเตอร์ �� �� ��
ด้านงานอาคารสถานที่
1. มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องสมุด
��
��
��
2. ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่างกว้างขวางและเพียงพอ �� �� ��
3. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอ ต่อการอ่านหนังสือ �� �� ��
4. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อการเข้ามาใช้บริการ �� �� ��
5. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ไม่มีเสียงและกลิ่นรบกวน
��
��
��
ด้านงานเทคนิค
1. มีการจัดหาหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิงประกอบการ
ค้นคว้าตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ
��
��
��
2. มีการจัดหาหนังสืออ่านประกอบการเรียนการสอนตาม
สัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อวามต้องการ
�� �� ��
3. มีการจัดหาหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น นิทาน หนังสือ
สำหรับเด็ก เป็นต้น ตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อ
ความต้องการ
�� �� ��
4. มีการจัดหาวารสารและหนังสือพิมพ์อย่างเพียงพอและ
เหมาะสมกับนักเรียน
�� �� ��
5. มีการจัดหาหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือตามสัดส่วน
ที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ
�� �� ��
6. มีการจัดหาโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง วีดิทัศน์
เป็นต้น สำหรับให้บริการในห้องสมุด อย่างเพียงพอ
�� �� ��
7. มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้น เช่น บัตรรายการ หรือการ
สืบค้นทางคอมพิวเตอร์
�� �� ��
8. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็นระบบ �� �� ��
9. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อนให้บริการ เช่น ประทับตรา
ติดซอง เขียนสัน
�� �� ��
107
ตารางที่ 45 (ต่อ)
สภาพที่พึงประสงค์
โรงเรียนขนาด
ใหญ่
โรงเรียนขนาด
กลาง
โรงเรียนขนาด
เล็ก
10. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ �� �� ��
11. มีการสำรวจหนังสือประจำปี �� -- --
13. มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็นประจำทุกปี �� -- --
ด้านงานบริการ
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด
��
��
��
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า �� �� ��
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร �� �� ��
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ �� �� ��
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้ทั่วไป �� �� ��
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของห้องสมุด �� �� ��
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็นระเบียบและถูกต้อง
ตลอดเวลา
�� �� ��
ด้านการจัดกิจกรรมของห้องสมุด
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
��
��
��
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้ห้องสมุด �� -- ��
3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ และความเหมาะสม
กับวัยของนักเรียน
-- �� --
4. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง -- �� ��
5. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม �� -- --
6. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของผู้บริหารและบุคลากร
ในโรงเรียน
�� �� ��
7. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุงและ
พัฒนา
�� �� --
บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้าน
บรรณารักษศาสตร์โดยตรง
��
��
��
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับ
ห้องสมุด
�� �� ��
3. บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ -- �� --
4. มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ �� -- --
108
สรุปผลจากตารางที่ 45 พบว่า สภาพที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนจากการสังเคราะห์
แบบสอบถามที่ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ต้องการร่วมกันในระดับมากและมากที่สุด ซึ่งแยก
ตามขนาดของโรงเรียน ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ในด้านการบริหาร มี 10 รายการ
ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ มี 9 รายการ ด้านอาคารสถานที่ มี 5 รายการ ด้านงานเทคนิค
มี 10 รายการ ด้านงานบริการ มี 7 รายการ ด้านการจัดกิจกรรมของห้องสมุด มี 5 รายการ บทบาท
และหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด มี 2 รายการ
ตอนที่ 5 ศึกษาความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาตามความ
คิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิโดยนำแบบสอบถามชุดที่ 1 ที่ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ตอบ
แบบสอบถามในระดับมากและมากที่สุดมาถามความเป็นไปได้ของห้องสมุดโรงเรียน จากผู้ทรงคุณวุฒิ
10 ท่านได้ผลดังแสดงในตารางที่ 46 –52
1. ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการ
บริหารงานห้องสมุดตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 46
109
ตารางที่ 46 ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการ
บริหารงานห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการกำหนดนโยบายการดำเนินงาน
ห้องสมุด
4.30 0.48 มาก 4.20 0.42 มาก 3.80 0.63 มาก
2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี/
ประจำภาคเรียน
3.70 0.82 มาก 4.00 0.67 มาก 4.20 0.63 มาก
3. มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ
ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงาน
3.80 0.63 มาก 3.60 0.52 มาก 3.90 0.74 มาก
4. มีการจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด 3.50 0.53 มาก 3.86 0.86 มาก 4.10 0.57 มาก
5. มีการจัดสรรงบประมาณประจำปี
ให้ห้องสมุดตามสัดส่วนที่เหมาะสม
และเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
3.60 0.52 มาก 3.60 0.63 มาก 3.70 .048 มาก
6. มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของ
ฝ่ายต่าง ๆ ในห้องสมุด
3.50 0.53 มาก 3.70 0.52 มาก 4.10 0.74 มาก
7. มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน
ประจำปี/ภาคเรียนแสดงให้เห็นอย่าง
เด่นชัด
3.80 0.42 มาก 4.10 0.67 มาก 4.30 0.48 มาก
8. มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติ
งานประจำเดือน/รายปี
3.90 0.32 มาก 3.70 0.57 มาก 4.00 0.82 มาก
9. มีการจัดเก็บสถิติต่าง ๆ ของห้องสมุด
อย่างเป็นระบบ
3.60 0.70 มาก 3.30 0.48 มาก 4.30 0.67 มาก
10. มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
กิจกรรมของห้องสมุดให้ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
3.70 0.42 มาก 3.80 0.63 มาก 3.90 0.67 มาก
รวม 3.74 0.22 มาก 3.78 0.30 มาก 4.03 0.29 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 46 พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ลักษณะที่
พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการบริหาร แยกตามขนาดโรงเรียน โดยภาพรวม
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
= 3.74-4.03) ทั้ง 3 ขนาดของโรงเรียน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มี
ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
110
2. ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงานวัสดุ
อุปกรณ์และครุภัณฑ์ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 47
ตารางที่ 47 ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงานวัสดุ
อุปกรณ์และครุภัณฑ์ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีตู้และป้ายนิทรรศการในห้องสมุด 4.00 0.47 มาก 3.70 0.48 มาก 4.30 0.48 มาก
2. มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือตาม
สัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอ
ต่อการให้บริการ
3.70 0.48 มาก 4.10 0.74 มาก 3.60 0.70 มาก
3. มีชั้นหนังสือเพียงพอกับจำนวน
หนังสือในห้องสมุด
4.20 0.79 มาก 4.00 0.67 มาก 4.20 0.63 มาก
4. ชั้นหนังสือและวารสารมีความ
เหมาะสมกับการใช้งาน
3.70 0.48 มาก 3.60 0.52 มาก 3.80 0.63 มาก
5. มีตู้บัตรรายการตู้จุลสารและตู้
กฤตภาคเพียงพอกับการใช้งาน
3.50 0.53 มาก 3.90 0.57 มาก 3.70 0.67 มาก
6. มีวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก
วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง เป็นต้น มา
ไว้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.90 0.74 มาก 4.30 0.48 มาก 3.90 0.57 มาก
7. มีวัสดุตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร
หนังสือพิมพ์ เป็นต้น มาไว้บริการใน
ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
3.60 0.52 มาก 4.00 0.47 มาก 4.50 0.53 มาก
8. มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ
จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
3.70 0.67 มาก 4.20 0.48 มาก 3.60 0.52 มาก
9. มีระบบการสืบค้นข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์
3.80 0.42 มาก 4.20 0.57 มาก 4.10 0.74 มาก
รวม 3.79 0.22 มาก 3.90 0.15 มาก 3.97 0.22 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 47 พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ลักษณะที่
พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ โดยภาพรวม
111
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
= 3.79-3.97) ทั้ง 3 ขนาดของโรงเรียน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มี
ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
3. ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านอาคาร
สถานที่ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 48
ตารางที่ 48 ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านอาคาร
สถานที่ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศใน
ห้องสมุด
3.60 0.52 มาก 3.70 0.48 มาก 3.80 0.42 มาก
2. ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่าง
กว้างขวางและเพียงพอ
3.80 0.63 มาก 3.80 0.42 มาก 3.70 0.67 มาก
2. ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการ
อ่านหนังสือ
3.60 0.52 มาก 3.60 0.70 มาก 4.30 0.48 มาก
3. จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อ
การเข้ามาใช้บริการ
3.70 0.48 มาก 3.90 0.57 มาก 4.10 0.57 มาก
4. ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม ไม่มีเสียงและกลิ่นรบกวน
3.90 0.32 มาก 4.10 0.57 มาก 4.50 0.53 มาก
รวม 3.72 0.23 มาก 3.80 0.20 มาก 4.08 0.23 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 48 พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ลักษณะที่
พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านอาคารสถานที่ โดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มาก (
−X
= 3.72-4.08) ทั้ง 3 ขนาดของโรงเรียน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความเป็นไปได้อยู่ใน
ระดับมากทุกรายข้อ
4. ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงานเทคนิค
ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 49
112
ตารางที่ 49 ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงาน
เทคนิค ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิง
ประกอบการค้นคว้าที่เหมาะสมและ
เพียงพอ
3.50 0.71 มาก 3.90 0.57 มาก 3.80 0.42 มาก
2. มีหนังสืออ่านประกอบการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.80 0.42 มาก 3.70 0.48 มาก 4.0 0.57 มาก
3. มีหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น
นิทาน หนังสือสำหรับเด็กที่เหมาะสม
และเพียงพอ
3.60 0.52 มาก 4.30 0.52 มาก 3.80 0.92 มาก
4. มีวารสารและหนังสือพิมพ์อย่าง
เพียงพอและเหมาะสมกับนักเรียน
3.70 0.42 มาก 3.60 0.53 มาก 3.90 0.74 มาก
5. มีหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ
ที่เหมาะสมและเพียงพอ
3.90 0.57 มาก 3.50 มาก 4.20 0.42 มาก
6. มีโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง
วีดิทัศน์สำหรับให้บริการในห้องสมุด
อย่างเพียงพอ
3.60 0.52 มาก 3.70 0.67 มาก 3.70 0.82 มาก
7. มีเครื่องมือช่วยค้น เช่น บัตรรายการ
หรือการสืบค้นทางคอมพิวเตอร์
3.80 0.42 มาก 3.40 0.47 มาก 3.80 0.42 มาก
8. มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็น
ระบบ
3.70 0.48 มาก 3.80 0.63 มาก 4.10 0.57 มาก
9. มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อน
ให้บริการ เช่น ประทับตรา ติดซอง
เขียนสัน
3.60 0.70 มาก 3.70 0.48 มาก 4.00 0.67 มาก
10. มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ 3.50 0.53 มาก 3.60 0.52 มาก 3.80 0.79 มาก
รวม 3.67 0.18 มาก 3.78 0.15 มาก 3.92 0.23 มาก
113
สรุปผลจากตารางที่ 49 พบว่า พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้
ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงานเทคนิค โดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก (
−X
= 3.67-3.92) ทั้ง 3 ขนาดของโรงเรียน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความเป็นไปได้
อยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
5. ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงานบริการ
ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 50
ตารางที่ 50 ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงาน
บริการ ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด 3.70 0.48 มาก 4.00 0.47 มาก 3.90 0.57 มาก
2. มีบริการตอบคำถามและช่วยการ
ค้นคว้า
3.80 0.42 มาก 3.90 0.57 มาก 4.30 0.48 มาก
3. มีบริการยืม-คืน หนังสือและ วารสาร 3.70 0.48 มาก 3.70 0.48 มาก 3.70 0.48 มาก
4. มีบริการแนะนำหนังสือใหม่ 3.60 0.52 มาก 3.80 0.42 มาก 4.10 0.57 มาก
5. มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้
ทั่วไป
3.70 0.48 มาก 3.60 0.52 มาก 4.00 0.47 มาก
6. จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของ
ห้องสมุด
4.20 0.42 มาก 4.30 0.48 มาก 3.70 0.67 มาก
7. มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็น
ระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
3.60 0.52 มาก 4.10 0.57 มาก 4.30 0.48 มาก
รวม 3.75 0.28 มาก 3.94 0.24 มาก 4.00 0.18 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 50 พบว่า พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้
ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านงานบริการ โดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก (
−X = 3.75-4.00) ทั้ง
3

นาด



โรง
เรีย

เมื่อ
พิจาร
ณาเป็น
ราย
ข้อ


ว่า มีค
วาม
เป็น
ไปได้
อยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
114
6. ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการจัด
กิจกรรมของห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 51
ตารางที่ 51 ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการจัด
กิจกรรมของห้องสมุดตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
3.60 0.52 มาก 3.70 0.48 มาก 3.50 0.53 มาก
2. จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้
ห้องสมุด
3.80 0.79 มาก 3.60 0.52 มาก 4.10 0.57 มาก
3. มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและ
ต่อเนื่อง
3.90 0.74 มาก 3.50 0.53 มาก 3.9 0.57 มาก
4. มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ
ผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียน
3.50 0.53 มาก 3.80 0.42 มาก 4.20 0.42 มาก
5. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อ
นำมาปรับปรุงและพัฒนา
3.70 0.67 มาก 3.90 0.32 มาก 3.80 0.63 มาก
รวม 3.50 0.39 มาก 3.70 0.17 มาก 3.90 0.24 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 51 พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ลักษณะที่
พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการจัดกิจกรรมของห้องสมุด โดยภาพรวม
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
= 3.50-3.90) ทั้ง 3 ขนาดของโรงเรียน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
มีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
7. ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านบทบาทและ
หน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ผลดังแสดงใน
ตารางที่ 52
115
ตารางที่ 52 ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านบทบาท
และหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่
รายการข้อมูล −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป −
X S.D. สรุป
1. ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษา
ทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
3.90 0.57 มาก 3.80 0.63 มาก 3.90 0.32 มาก
2. บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด
3.50 0.53 มาก 3.60 0.52 มาก 3.60 0.52 มาก
รวม 3.70 0.35 มาก 3.70 0.42 มาก 3.75 0.35 มาก
สรุปผลจากตารางที่ 52 พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ลักษณะที่
พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุดของห้องสมุด โดยภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (
−X
= 3.70-3.75) ทั้ง 3 ขนาดของ
โรงเรียน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากทุกรายข้อ
สรุป ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา ทั้ง 3 ขนาดของโรงเรียน พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อในแต่ละด้าน พบว่า มีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก ทุกรายข้อ
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยเรื่อง ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่พึงประสงค์ตาม
แนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ ผู้วิจัยได้สรุปวิธีดำเนินการวิจัย และผลการวิจัย
ตามลำดับดังนี้
วิธีการดำเนินการวิจัย
1. ศึกษาสภาพและความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาที่พึง
ประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์
2. สรุปรูปแบบที่พึงประสงค์จากความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน
ประถมศึกษาที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์
3. ศึกษาความเป็นไปได้ของลักษณะที่พึงประสงค์ที่วิเคราะห์ได้ในข้อ 2 จากแนวคิดของ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
1. มีประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่
1.1 ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ โรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร จำนวน 431 โรงเรียน เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ 170 โรงเรียน เป็นโรงเรียน
ขนาดกลาง 152 โรงเรียน เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก 109 โรงเรียน
1.2 ผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วย นักวิชาการ ศึกษานิเทศก์ สังกัดสำนักการศึกษา
กรุงเทพมหานคร และศึกษาธิการเขต จำนวน 10 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย
2.1 ผู้อำนวยการโรงเรียนหรืออาจารย์ใหญ่ จำนวน 104 โรงเรียน เป็นโรงเรียน
ขนาดใหญ่ 41 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง 37 โรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก 26 โรงเรียน
2.2 ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการหรือผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ จำนวน 104 โรงเรียน
เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ 41 โรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง 37 โรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก
26 โรงเรียน
2.3 บรรณารักษ์ จำนวน 104 โรงเรียน เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ 41 โรงเรียน
โรงเรียนขนาดกลาง 37 โรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก 26 โรงเรียน
117
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชุด ดังนี้
1.1 แบบสอบถามชุดที่ 1 ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ
อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของโรงเรียน เป็นแบบสอบถามปลายปิด
จำนวน 6 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามสภาพและความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน
ประถมศึกษาตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียน และบรรณารักษ์ โดยศึกษาข้อมูล ด้านงานบริหาร
งานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ งานอาคารสถานที่ งานเทคนิค งานบริการ การจัดกิจกรรมของ
ห้องสมุด และบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด มีลักษณะเป็นแบบสอบถามมาตรา
ประมาณค่า จำนวน 58 ข้อ
1.2 แบบสอบถามชุดที่ 2 ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน ขนาดของโรงเรียน เป็นแบบสอบถามปลาย
ปิด จำนวน 6 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากข้อมูลที่วิเคราะห์ได้จากแบบสอบถามชุดที่ 1 ซึ่ง
ผู้บริหาร โรงเรียนและบรรณารักษ์ ที่ตอบแบบสอบได้ที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่าได้ที่ระดับ
มาก และมากที่สุด จำนวน 48 ข้อ ในด้านการบริหาร งานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ งานอาคาร
สถานที่ งานเทคนิค งานบริการ การจัดกิจกรรมของห้องสมุด และบทบาทและหน้าที่ของ
ผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ส่งแบบสอบถามชุดที่ 1 พร้อมหนังสือขอความร่วมจากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา ไปยังผู้บริหารโรงเรียน และบรรณารักษ์ ของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
2. นำแบบสอบถามชุดที่ 2 ไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิตอบแบบสอบถามความเป็นไปได้ลักษณะที่
พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 10 คน
118
3. แบบสอบถามที่ส่งไปทั้งหมด 332 ฉบับ ได้รับคืนเป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์ จำนวน
322 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
การวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อรวบรวมแบบสอบถามเรียบร้อยแล้ว โดยนำแบบสอบถามที่ตรวจสอบความสมบูรณ์แล้ว
ไปวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติด้านสังคมศาสตร์ (Statistical
Package for Social Science/Personal Computer (SPSS/PC) สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือเชิงบรรยาย
โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
1. วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้วิธีแจกแจง
ความถี่และหาค่าร้อยละ
2. วิเคราะห์สภาพและความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาตาม
แนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ โดยหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน
เป็นรายข้อและสรุปรวม โดยแยกวิเคราะห์ตามขนาดของโรงเรียน
3. สรุปรูปแบบที่พึงประสงค์จาคความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถม
ศึกษาที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์
4. วิเคราะห์ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา
วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นรายข้อและสรุปรวม แยกตามขนาด
ของโรงเรียน
สรุปผลการวิจัย
1. สภาพของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ของโรงเรียนขนาด
เล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีสภาพเหมือนกันทั้ง 7 ด้าน คือ ด้านงานบริหาร ด้านวัสดุอุปกรณ์
และครุภัณฑ์ ด้านอาคารสถานที่ ด้านงานเทคนิค ด้านงานบริการ ด้านการจัดกิจกรรมของ
ห้องสมุด ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด ผลการวิจัยโดยภาพรวม พบว่า มี
สภาพของห้องสมุดมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้อำนวยการ
โรงเรียน เห็นว่า ด้านการบริหาร ในการจัดกิจกรรม หรือโครงงานที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงาน
การจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด การจัดสรรงบประมาณประจำปี การจัดทำคู่มือและปฏิทินในการ
ปฏิบัติงาน อยู่ในระดับน้อย ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ เห็นว่า ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ มีโต๊ะ
เก้าอี้ ตู้บัตรรายการ ตู้จุลสาร ตู้กฤตภาค การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดทำฐานข้อมูล มีระบบ
119
การสืบค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ อยู่ในระดับน้อย บรรณารักษ์ เห็นว่าสภาพของห้องสมุดโรงเรียนมี
สภาพาของห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลาง
2. ความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน
และบรรณารักษ์ของห้องสมุดโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ผลการวิจัยโดย
ภาพรวม พบว่า มีความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อ พบว่า บรรณารักษ์ เห็นว่า ด้านงานบริการมีการให้บริการตอบคำถามและการช่วยการ
ค้นคว้า การบริการยืม-คืนหนังสือและวารสาร อยู่ในระดับปานกลาง ผู้อำนวยการโรงเรียน เห็นว่า
ด้านงานกิจกรรมห้องสมุด ของโรงเรียนขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มีความต้องการอยู่ในระดับ
ปานกลาง ผู้อำนวยการโรงเรียนและผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ เห็นว่าด้านบาทบาทและหน้าที่ของ
ผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด มีความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน อยู่ในระดับปานกลาง
3. สภาพที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนจากการสังเคราะห์แบบสอบถามที่ผู้บริหาร
และบรรณารักษ์ตอบแบบสอบถาม ที่ต้องการร่วมกันในระดับมากและมากที่สุด ตามขนาดของ
โรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ในด้านการบริหาร มี 10 รายการ ด้านงานวัสดุอุปกรณ์
และครุภัณฑ์ มี 9 รายการ ด้านอาคารสถาที่ มี 5 รายการ ด้านงานเทคนิคมี 10 รายการ ด้านงาน
บริการ มี 7 รายการ ด้านการจัดกิจกรรมของห้องมุดมี 5 รายการ บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง
กับงานห้องสมุด มี 2 รายการ
4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาตาม
ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า มีความเป็นไปได้ลักษณะของห้องสมุดโรงเรียน ขนาดเล็ก
ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ อยู่ในระดับมาก ทั้ง 7 ด้าน
อภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยมีประเด็นสำคัญที่ควรอภิปราย ดังนี้
ด้านการบริหาร พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์มีความเห็นว่าสภาพของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษาในปัจจุบันมีการบริหารงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ความต้องการ
ลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ โดยภาพรวมมี
ความต้องการอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียน
ประถมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยภาพรวมมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก
เนื่องจากการดำเนินงานห้องสมุดโดยการกำหนดนโยบายและโครงการของห้องสมุดให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของห้องสมุดมีการติดตามผลงานซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นของ วาณี ฐาปนวงศ์
ศานติ (2543 : 20-25) ที่ว่า การจัดและบริหารห้องสมุดต้องกำหนดนโยบายและโครงการให้สอดคล้อง
120
กัน และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ จันสี พวงสุเกด (2544 : 125-127) ที่ว่า มีการวางแผนหรือ
จัดทำโครงการห้องสมุดประจำปี มีการประสานงานกับฝ่ายอื่น ๆ มีการจัดทำรายงานและสถิติ
เกี่ยวกับห้องสมุด
ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์มีความเห็นว่า
สภาพของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาในปัจจุบันมีการบริหารงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนและ
บรรณารักษ์ โดยภาพรวมมีความต้องการอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของ
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยภาพรวมมีความเป็นไปได้อยู่
ในระดับมาก
เนื่องจาก วัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์เป็นสิ่งจำเป็นต่อการให้บริการต่อผู้ใช้ห้องสมุด โต๊ะ เก้าอี้
ชั้นหนังสือ ตู้บัตรรายการ ตู้จุลสาร ตู้กฤตภาค ตู้แลป้ายนิทรรศการ ต้องมีขนาดและสัดส่วนที่
เหมาะสมกับการใช้งานของห้องสมุด สอดคล้องกับความคิดเห็นของ กระทรวงศึกษาธิการ กรม
วิชาการ (2543 : 10-12) ที่ว่าต้องมีขนาดและสัดส่วนของวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับการ
ใช้งาน สอดคล้องกับผลการวิจัยของ ประภากรณ์ เทศประสิทธิ์ (2540 : 73-76) ที่ว่า ห้องสมุดต้องมี
โต๊ะ เก้าอี้ สำหรับนั่งอ่าน มีชั้นวางวารสาร ตู้จุลสาร ตู้กฤตภาค และตู้บัตรรายการ
ด้านงานอาคารสถานที่ พบว่า ....ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์มีความเห็นว่าสภาพ
ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ในปัจจุบันมีการบริหารงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง
ความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ โดย
ภาพรวมมีความต้องการอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยภาพรวมมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับ
มาก เนื่องจาก ต้องการให้ห้องสมุดมีพื้นที่กว้างขว้างมีแสงสว่างเพียงพอ ไม่มีเสียงและกลิ่นรบกวน
มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ควรมีการจัดบรรยากาศของห้องสมุดให้เชิญชวนต่อการเข้ามาใช้บริการ
สอดคล้องกับความคิดเห็นของ (วาณี ฐานปนวงศ์ศานติ 2543 : 121) ที่ว่า สถานที่ห้องสมุดต้อง
อำนวยความสะดวกมีพื้นที่ให้กว้างขวางและมีแสงสว่างเพียงพอ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ
(ประภาภรณ์ เทศประสิทธิ์ 2540 : 73-76) ที่ว่า สถานที่ตั้งห้องสมุดควรไปใช้ได้สะดวก มีแสงสว่าง
เพียงพอ อากาศและบรรยากาศดี สอดคล้องกับผลการวิจัยของ (นรินทร์ นันทิพงศา 2541 : 56-57)
ที่ว่า สถานที่ตั้งห้องสมุดโรงเรียนควรตั้งเป็นสัดส่วน
ด้านเทคนิค พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์มีความเห็นว่าสภาพของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา ในปัจจุบันมีการบริหารงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ โดย
121
ภาพรวมมีความต้องการอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยภาพรวมมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับ
มาก เนื่องจากต้องมีการจัดหาหนังสือ วารสารสื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ และนำมาจัดหมวดหมู่หนังสือ
ลงทะเบียนหนังสือ เพื่อเตรียมให้พร้อมก่อนให้บริการ ซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นของ
กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ 2543 : 37-40) ที่ว่าการเตรียมสื่อสิ่งพิมพ์ก่อนออกบริการเป็นการ
อำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการ
ด้านงานบริการ พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์มีความเห็นว่า สภาพของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา ในปัจจุบันมีการบริหารงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ โดย
ภาพรวมมีความต้องการอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยภาพรวมมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับ
มาก เนื่องจาก การบริการของห้องสมุดเป็นสิ่งสำคัญต่อผู้ใช้บริการโดยการแนะนำการใช้ห้องสมุด
แนะนำหนังสือใหม่ บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า จัดป้านนิทรรศการ บริการยืมคืนหนังสือ
สอดคล้องกับความคิดเห็นของ ธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์ (2548 : 13) ที่ว่า งานบริการเป็นสิ่งสำคัญ
ต้องจัดให้มีบริการการอ่านและค้นคว้าโดยเสรี มีบริการรับ-จ่ายหนังสือ บริการตอบคำถามและช่วย
การค้นคว้า
ด้านการจัดกิจกรรมของห้องสมุด พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์มีความเห็นว่า
สภาพของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ในปัจจุบันมีการบริหารงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนของ
โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง บรรณารักษ์ มีความ
ต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษามีความต้องการอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้
ลักษณะที่พึงประสงค์ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดย
ภาพรวมมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก เนื่องจากการจัดกิจกรรมของห้องสมุดจัดขึ้นเพื่อส่งเสริม
การใช้ห้องสมุดโดยการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ โดยการสอนวิชาการใช้ห้องสมุด จัด
ประกวดแข่งขันตอบปัญหา สอดคล้องกับผลการวิจัยของ (นรินทร์ นันทิพงศา 2541 : 56-63) ที่ว่า
ควรจัดกิจกรรมให้นักเรียน เข้ามาใช้ห้องสมุด
ด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนและ
บรรณารักษ์มีความเห็นว่าสภาพของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ในปัจจุบันมีการบริหารงาน
โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ความต้องการลักษณะของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของ
ผู้บริหารโรงเรียนมีความต้องการโดยภาพรวมมีความต้องการอยู่ในระดับ ปานกลาง บรรณารักษ์ มี
ความต้องการโดยภาพรวมมีความต้องการอยู่ในระดับมาก ความเป็นไปได้ลักษณะที่พึงประสงค์ของ
122
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยภาพรวมมีความเป็นไปได้อยู่
ในระดับมาก เนื่องจาก ต้องการให้ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านบรรณารักษ์โดยตรง
สอดคล้องกับผลการวิจัยของ นรินทร์ นันทิพงศา (2541 : 56-63) ที่ว่า ครูบรรณารักษ์ควรมีวุฒิ
ทางด้านบรรณารักษ์โดยตรง และมีเวลาทำงานในห้องสมุดไม่ต่ำกว่า 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งไม่
สอดคล้องกับผลการวิจัยของ จิตพร ศรีสัมพันธ์ (2540 : 89-90) ที่ว่า ครูที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ไม่ได้
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านบรรณารักษ์โดยตรง และยังทำหน้าที่สอนเหมือนกับครูท่านอื่น ทำให้มี
เวลาจำกัดในการปฏิบัติงานห้องสมุด ห้องสมุดในความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนอยู่ใน
ระดับปานกลาง แต่ในความคิดเห็นของบรรณารักษ์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูง ส่วนความต้องการมี
ความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน คือยังมีความต้องการในด้านบทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงาน
ห้องสมุด โดยต้องการให้ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านบรรณารักษศาสตร์โดยตรง
และต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับห้องสมุด มีผู้ช่วยบรรณารักษ์ มีเจ้าหน้าที่ช่วย
ซ่อมหนังสือที่ชำรุด และพนักงานทำความสะอาด
ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย
1. ข้อเสนอแนะสำหรับสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
1.1 ควรมีการจัดสรรงบประมาณในส่วนของห้องสมุดให้มากขึ้น
1.2 ควรบรรจุเจ้าหน้าที่ห้องสมุดมาช่วยงานห้องสมุดในโรงเรียนขนาดกลางและ
โรงเรียนขนาดใหญ่
1.3 ครูจัดให้มีการศึกษาดูงานห้องสมุดที่ได้รับรางวัลห้องสมุดดีเด่น
1.4 ควรให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน
1.5 ควรจัดให้มีการอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนา
ห้องสมุด
2. ข้อเสนอแนะสำหรับผู้บริหารโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร
2.1 ผู้บริหารโรงเรียนควรจัดสรรงบประมาณเพื่อการดำเนินงานห้องสมุดตามความ
เหมาะสมกับขนาดของห้องสมุดโรงเรียน
2.2 ควรกระตุ้นและสนับสนุนให้ครูในโรงเรียนใช้ห้องสมุดประกอบการเรียนการสอน
ให้มากขึ้น
2.3 ควรให้ความสำคัญต่อการพัฒนาห้องสมุดให้ทันสมัยต่อสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงไป
2.4 ควรนำคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีมาใช้ในห้องสมุดโรงเรียน
3. ข้อเสนอแนะสำหรับบรรณารักษ์
123
3.1 ควรวางแผนและกำหนดนโยบายในการดำเนินงานห้องสมุด
3.2 ควรศึกษาเอกสารคู่มือการดำเนินงานห้องสมุด
3.3 ควรจัดกิจกรรมห้องสมุดเพื่อดึงดูดความสนใจให้นักเรียนเข้ามาใช้บริการของ
ห้องสมุด
3.4 ควรประชาสัมพันธ์การดำเนินงานห้องสมุดให้บุคคลที่เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป
1. ศึกษาความต้องการในการใช้ห้องสมุดเพื่อการสืบค้นสารสนเทศของนักเรียน
โรงเรียนประถมศึกษา
2. ศึกษาความคิดเห็นของครูและนักเรียนที่มีต่อการให้บริการของห้องสมุดโรงเรียน
ประถมศึกษา
บรรณานุกรม
กุหลาบ ปั้นลายนาค. การปฏิบัติงานในห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2538.
กรมวิชาการ. คู่มือการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนระดับประถมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, 2543.
สำนักการศึกษา. นโยบายการศึกษาของ กทม. กรุงเทพฯ : สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร,
ม.ป.ป.
สำนักนโยบายและแผน. แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535-2539).
กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและแผน, 2534.
สำนักการศึกษา. สถิติจำนวนนักเรียน ห้องเรียนและข้าราชการครู สังกัดกรุงเทพมหานคร
จำแนกตามระดับชั้นรายโรงเรียน ปีการศึกษา 2548. กรุงเทพฯ : สำนักการศึกษา
กรุงเทพมหานคร, 2548.
คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2546.
จันสี พวงสุเกด. สภาพและปัญหาการดำเนินงานห้องสมุดในสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
2544.
จารุวรรณ สินธุโสภณ. หลักการบริหารและจัดการห้องสมุด. กรุงเทพฯ : ปรเมษฐ์การพิมพ์, 2541.
จิตพร ศรีสัมพันธ์. การศึกษาสภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาขนาด
ใหญ่สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540.
ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน์. การจัดและการบริหารงานห้องสมุด. กรุงเทพฯ : หนังสือและดนตรี,
2522.
เฉลียว พันธ์สีดา. คู่มือการบริหารงานห้องสมุดห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ แกรมมี่,
2539.
ณัฏฐินี ประเทืองยุคันต์. บทบาทของครูบรรณารักษ์ในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนประถม
ศึกษาจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,2536.
ธาดาศักด์ิ วชิรปรีชาพงษ์. การเขียนรายงานและการใชห้ ้องสมุด. กรุงเทพฯ :
บิสซิเนสเวิลด์, 2548.
125
นรินทร์ นันทิพงศา. การศึกษาแนวทางการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด
สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2541.
น้ำทิพย์ วิภาวิน. การใช้ห้องสมุดยุคใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลันศรีปทุม, 2547.
ประคอง กรรณสูต. สถิติเพื่อการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 2540.
ประไพ พักตรเกษม. ห้องสมุดโรงเรียนในหลักสูตรฉบับปรับปรุงในการเลือกหนังสือ
และการใช้ห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, 2534.
ประภาภรณ์ เทศประสิทธิ์. การดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี ปีการศึกษา 2540.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพฯ, 2536.
ผิวพรรณ ป้อมอุ่นเรือน. การจัดการห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาเพื่อสนองต่อการสอนที่
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์
ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2547.
พนม พงษ์ไพบูลย์. “เงื่อนไข 10 ประการ เพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน” ห้องสมุด : การอ่าน
เพื่อก้าวทันโลกาภิวัตน์. 23 (เมษายน-พฤษภาคม, 2539) : 14.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2548.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. วิธีการวิจัยทางพฤติกหรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8.
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
พวา พันธุ์เมฆา. สารนิเทศกับการศึกษาค้นคว้า. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงเทพ,
2541.
ภิญญาพร นิตยประภา. ห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2534.
มัลลิกา นาถเสวี. การจัดการห้องสมุด 1. นครราชสีมา : สถาบันราชภัฏนครราชสีมา, 2542.
แม้นมาส ชวลิต. คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพฯ : บรรณกิจ1991, 2541.
เยาวลักษณ์ สุขทัพภ์. การศึกษาเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการอบรมครู
บรรณารักษ์ในโครงการห้องสมุดโรงเรียนมาตรฐานของสำนักการศึกษา
กรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2522-2533. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2525.
รัญจวน อินทรกำแหง และนวลจันทร์ รัตนากร. ห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทมหานคร : 2531.
ลมุล รัตตากร. การใช้ห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาสน์, 2539.
126
วรพงศ์ พันธ์ศรีเพ็ชร. ปัญหาการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด
กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีสังคม, 2532.
วาณี ฐานปนวงศ์ศานติ. การจัดและบริหารงานห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร :
ศิลปาบรรณาคาร, 2543.
_________ กิจกรรมสำหรับห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2543.
สมควร อินทะรังษี. ปัญหาการดำเนินงานตามกระบวนการแผนปฏิบัติงานในโรงเรียน
ประถมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนสังกัดสำนักงาน
การประถมศึกษาจังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2536.
สายหยุด จำปาทอง. “ห้องสมุดกับการพัฒนาการเรียนการสอน” คุรุปริทัศน์. 1 (กุมภาพันธ์ 2526)
: 54-57.
สุกัญญา ศรีสายสืบ. การเลือกหนังสือและการใช้ห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ
: กรมวิชาการ, 2534.
สุนทรี โง้วธนะวัฒน์. ขวัญในการปฏิบัติงานของครูบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนในสังกัด
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร, 2536.
สุนี เลิศแสวงกิจ และพิศิษฐ์ กาญจนพิมาย. ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ. กรุงเทพฯ :
วังอักษร, 2546.
สุรเดช เวียงสิมา. การจัดมุมหนังสือและห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
การประถมศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ตามมาตรฐานขั้นต่ำห้องสมุดโรงเรียน
ประถมศึกษา พ.ศ. 2535 . วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2541.
Burks, Freda Anne Ellis. Nature and Extent of School Library Use in Selected High
School in the Greather Dallas-Fort Worth, Texas Area, Dissertation Abstracts
International. 50(8) (August, 1994) : 2286-A
McCarthy, Cheryl A. A Reality Check the Challenges of Implementing Information
Power in school Library Media Programs. Library Media Quarteriy. 25 (April),
1997.
Nolan, John Parneter. A Comparison of Two methods of Instruction in Library
Research Skills for Elementary School Student, Dissertation Abstracts
127
International. 50(8) (February, 1990) : 2285-A.
Shaw, Felecity. School Libraries in Bhutan, Asian Libraries. 1(1) (March, 1991) : 26.
Singh,Diljit. An International Comparative Study of School Libraries, Dissertation
Abstracts International. 54(7) (January, 1994) : 2369-A
Nwanosike, Eugene Ogbonia. A Study of Secondary School Library Resources in
Anglophone Cameroon : Strategies for Improvement, Dissertation Abstracts
International. 50(8) (February, 1990) : 2286-A.
Tzeng, Houy-Jia. A Comparison of User Perceptions with Official Standards of
Elementary School Libraries in Tiwan Republic of China, Dissertation
Abstracts International. 51(11) (May,1990) : 3545-A.
ภาคผนวก ก
หนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ
ภาคผนวก ข
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือการวิจัย
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือการวิจัย
1. รองศาสตราจารย์ จุมพจน์ วนิชกุล
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฎกาญจนบุรี
2. ดร.มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน
อาจารย์โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์
อาจารย์โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
5. นางสุนทรี โง้วธนะวัฒน์
นักวิชาการศึกษา กองวิชาการ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
ภาคผนวก ค
รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ
รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ
1. นางสุนทรี โง้วธนะวัฒน์ นักวิชาการศึกษา กองวิชาการ
2. นายพรวิวัฒน์ แป้นเพชร นักวิชการศึกษา กองวิชาการ
3. นางสาวพัชนี สิทธิพลากุล หัวหน้าฝ่ายพัฒนาการเรียนการสอน กองวิชาการ
4. นางมิ่งขวัญ กิตติวรรณกร ศึกษานิเทศก์ สำนักการศึกษา
5. นายสมหมาย ทัติวงษ์ ศึกษานิเทศก์ สำนักการศึกษา
6. นางวรรณชนก พิเรนทร ศึกษาธิการเขตพระโขนง
7. นายวิรัตน์ มณีเนตร ศึกษาธิการเขตลาดกระบัง
8. ศึกษาธิการเขตประเวศ
9. ศึกษาธิการเขตบางนา
10. ศึกษาธิการเขตคลองเตย
ภาคผนวก ง
แบบสอบถาม
ชุดที่ 1
แบบสอบถาม
เรื่อง ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียน
และบรรณารักษ์
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่พึง
ประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
ประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร
แบบสอบถามฉบับนี้มี 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ศึกษาสภาพและความต้องการเกี่ยวกับห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหาร
โรงเรียนและบรรณารักษ์
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย aลงใน ที่ตรงกับความเป็นจริง
1. เพศ 4. ประสบการณ์ในการณ์ทำงาน
หญิง 1 – 10 ปี
ชาย 11 –20 ปี
21 ปีขึ้นไป
2. อายุ 5. ตำแหน่งปัจจุบัน
25 - 35 ปี ผู้อำนวยการโรงเรียน/อาจารย์ใหญ่
36 - 45 ปี ผู้ช่วยผู้อำนวยการ/ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิชาการ
46 – 55 ปี บรรณารักษ์
56 ปีขึ้นไป 6. ขนาดของโรงเรียน
3. ระดับการศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก
ปริญญาตรี โรงเรียนขนาดกลาง
ปริญญาโท โรงเรียนขนาดใหญ่
ปริญญาเอก
อื่น ๆ (โปรดระบุ)……………………
ตอนที่ 2 ศึกษาสภาพและความต้องการเกี่ยวกับห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของ
ผู้บริหารโรงเรียน และบรรณารักษ์
คำชี้แจง โปรดอ่านข้อความแต่ละข้อ แล้วพิจารณาเลือกตอบสำหรับข้อความนั้น โดยใส่เครื่องหมาย a
ลงในช่องที่ตรงกับระดับลักษณะที่พึงประสงค์ของท่าน
5 หมายความว่า สภาพ/ความต้องการ/ความเป็นไปได้มากที่สุด
4 หมายความว่า สภาพ/ความต้องการ /ความเป็นไปได้มาก
3 หมายความว่า สภาพ/ความต้องการ/ความเป็นไปได้ปานกลาง
2 หมายความว่า สภาพ/ความต้องการ/ความเป็นไปได้น้อย
1 หมายความว่า สภาพ/ความต้องการ/ความเป็นไปได้น้อยที่สุด
ข้อ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ สภาพของห้องสมุด ความต้องการ
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1 ด้านการบริหาร
มีการกำหนดนโยบายการดำเนินงานห้องสมุด
2 มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี/ประจำภาคเรียน
3 มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับ
แผนปฏิบัติงาน
4 มีการจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด
5 มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้ห้องสมุดตามสัดส่วนที่
เหมาะสมและเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
6 มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของฝ่ายต่าง ๆ ในห้องสมุด
7 มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานประจำปี/ภาคเรียนแสดง
ให้เห็นอย่างเด่นชัด
8 มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน/รายปี
9 มีการจัดเก็บสถิติต่าง ๆของห้องสมุดอย่างเป็นระบบ
10 มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของห้องสมุดให้ผู้
มีส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
11
ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์
มีตู้และป้ายนิทรรศการในห้องสมุด
12 มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือตามสัดส่วนที่เหมาะสมและ
เพียงพอต่อการให้บริการ
13 มีชั้นหนังสือเพียงพอกับจำนวนหนังสือในห้องสมุด
14 ชั้นหนังสือและวารสารมีความเหมาะสมกับการใช้งาน
ข้อ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ สภาพของห้องสมุด ความต้องการ
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
15 มีตู้บัตรรายการตู้จุลสารและตู้กฤตภาคเพียงพอกับ
การใช้งาน
16 มีวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก วีดิทัศน์ แถบ
บันทึกเสียง เป็นต้น มาไว้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
17 มีวัสดุตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น
มาไว้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
18 มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดทำฐานข้อมูล
ทรัพยากรห้องสมุด
19 มีระบบการสืบค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
20 ด้านงานอาคารสถานที่
มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องสมุด
21 ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่างกว้างขวางและเพียงพอ
22 ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการอ่านหนังสือ
23 จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อการเข้ามาใช้บริการ
24 ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ไม่มีเสียง
และกลิ่นรบกวน
25
ด้านงานเทคนิค
มีการจัดหาหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิงประกอบการ
ค้นคว้าตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความ
ต้องการ
26 มีการจัดหาหนังสืออ่านประกอบการเรียนการสอนตาม
สัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ
27 มีการจัดหาหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น นิทาน หนังสือ
สำหรับเด็ก เป็นต้น ตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอ
ต่อความต้องการ
28 มีการจัดหาวารสารและหนังสือพิมพ์อย่างเพียงพอและ
เหมาะสมกับนักเรียน
29 มีการจัดหาหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ ตามสัดส่วน
ที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ
ข้อ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ สภาพของห้องสมุด ความต้องการ
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
30 มีการจัดหาโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง วีดิทัศน์ เป็น
ต้น สำหรับให้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
31 มีการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศแต่ละประเภทโดยใช้
ระบบที่เป็นสากลและเหมาะสมกับห้องสมุดโรงเรียน
32 มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้นช่วยค้น เช่น บัตรรายการ หรือ
การสืบค้นทางคอมพิวเตอร์
33 มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็นระบบ
34 มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อนให้บริการ เช่น ประทับตรา
ติดซอง เขียนสัน
35 มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ
36 มีการสำรวจหนังสือประจำปี
37 มีการจำหน่ายหนังสือเก่าล้าสมัยเป็นประจำทุกปี
38
ด้านงานบริการ
มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด
39 มีบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า
40 มีบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร
41 มีบริการแนะนำหนังสือใหม่
42 มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้ทั่วไป
43 จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของห้องสมุด
44 มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็นระเบียบและถูกต้อง
ตลอดเวลา
45
ด้านการจัดกิจกรรมของห้องสมุด
จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
46 จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้ห้องสมุด
47 มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ และความเหมาะสม
กับวัยของนักเรียน
48 มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
49 นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
ข้อ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ สภาพของห้องสมุด ความต้องการ
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
50 มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของผู้บริหารและบุคลากรใน
โรงเรียน
51 มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุงและ
พัฒนา
52
บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้าน
บรรณารักษศาสตร์โดยตรง
53 บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับ
ห้องสมุด
54 ครูบรรณารักษ์มีชั่วโมงสอนเฉพาะวิชาการใช้ห้องสมุด
55 บรรณารักษ์ทำงานโดยอิสระ
56 มีผู้ช่วยบรรณารักษ์
57 มีเจ้าหน้าที่ช่วยซ่อมหนังสือที่ชำรุด
58 มีบุคลากรช่วยงานห้องสมุด เช่น เจ้าหน้าที่ห้องสมุด
พนักงานทำความสะอาด
ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้สละเวลาตอบแบบสอบถามฉบับนี้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครในการปรับปรุงพัฒนาห้องสมุดต่อไปในอนาคต
นางสาวน้ำค้าง เกิดลิบ
ผู้วิจัย
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียน
และบรรณารักษ์
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้ 2 ตอน
1. ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
2. ตอนที่ 2 ศึกษาสภาพและความต้องการเกี่ยวกับห้องสมุดโรงเรียนที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของ
ผู้บริหารโรงเรียน และบรรณารักษ์
3. แบบสอบถามนี้ใช้สำหรับการวิจัยเท่านั้น กรุณาตอบตามความเป็นจริง และถือเป็นความลับ จะไม่
กระทบกระเทือนต่อสถานภาพ และการปฏิบัติงานของท่านแต่ประการใด ส่วนที่จะนำไปใช้นั้น
เป็นส่วนแสดงผลรวมเพื่อใช้ในการสรุปและเสนอแนะในการวิจัย
ขอขอบคุณที่กรุณาให้ความร่วมมืออย่างดียิ่งในการกรอกข้อมูล
( นางสาวน้ำค้าง เกิดลิบ )
นักศึกษาปริญญาโท สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ชุดที่ 2
แบบสอบถาม
เรื่อง ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียน
และบรรณารักษ์
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่พึง
ประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
ประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร
แบบสอบถามฉบับนี้มี 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ศึกษาความเป็นไปได้รูปแบบของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหาร
โรงเรียนและบรรณารักษ์
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย aลงใน ที่ตรงกับความเป็นจริง
1. เพศ 4. ประสบการณ์ในการณ์ทำงาน
หญิง 1 – 10 ปี
ชาย 11 –20 ปี
21 ปีขึ้นไป
2. อายุ 5. ตำแหน่งปัจจุบัน
25 - 35 ปี ศึกษานิเทศก์วิชา……………………….
36 - 45 ปี ศึกษาธิการเขต………………………….
46 – 55 ปี นักวิชาการ……………………………..
56 ปีขึ้นไป อื่น ๆ (โปรดระบุ)………………………
3. ระดับการศึกษา
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
อื่น ๆ (โปรดระบุ)……………………
1
ตอนที่ 2 ศึกษาความเป็นไปได้ร ูปแบบของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหาร
โรงเรียน และบรรณารักษ์ โดยการให้ระดับของความเป็นไปได้ แบ่งเป็น 5 ระดับดังนี้
5 หมายความว่า ความเป็นไปได้มากที่สุด
4 หมายความว่า ความเป็นไปได้มาก
3 หมายความว่า ความเป็นไปได้ปานกลาง
2 หมายความว่า ความเป็นไปได้น้อย
1 หมายความว่า ความเป็นไปได้น้อยที่สุด
คำชี้แจง โปรดใส่ ระดับความเป็นไปได้ ลงในช่องตามขนาดของโรงเรียนที่ท่านต้องการ
ความเป็นไปได้
ข้อ รูปแบบที่พึงประสงค์ โรงเรียน
ขนาดเล็ก
โรงเรียน
ขนาดกลาง
โรงเรียน
ขนาดใหญ่
1
ด้านการบริหาร
มีการกำหนดนโยบายการดำเนินงานห้องสมุด
2 มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี/ประจำภาคเรียน
3 มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติ
งาน
4 มีการจัดทำคู่มือการใช้ห้องสมุด
5 มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีให้ห้องสมุดตามสัดส่วนที่
เหมาะสมและเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
6 มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของฝ่ายต่าง ๆ ในห้องสมุด
7 มีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานประจำปี/ภาคเรียนแสดงให้
เห็นอย่างเด่นชัด
8 มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน/รายปี
9 มีการจัดเก็บสถิติต่าง ๆของห้องสมุดอย่างเป็นระบบ
10 มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของห้องสมุดให้ผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
11
ด้านงานวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์
มีตู้และป้ายนิทรรศการในห้องสมุด
12 มีโต๊ะ เก้าอี้นั่งอ่านหนังสือตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอ
ต่อการให้บริการ
13 มีชั้นหนังสือเพียงพอกับจำนวนหนังสือในห้องสมุด
14 ชั้นหนังสือและวารสารมีความเหมาะสมกับการใช้งาน
15 มีตู้บัตรรายการตู้จุลสารและตู้กฤตภาคเพียงพอกับการใช้งาน
2
ความเป็นไปได้
ข้อ รูปแบบที่พึงประสงค์ โรงเรียน
ขนาดเล็ก
โรงเรียน
ขนาดกลาง
โรงเรียน
ขนาดใหญ่
16 มีวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง
เป็นต้น มาไว้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
17 มีวัสดุตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น มาไว้
บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
18 มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดทำฐานข้อมูล
ทรัพยากรห้องสมุด
19 มีระบบการสืบค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
20
ด้านงานอาคารสถานที่
มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องสมุด
21 ห้องสมุดมีพื้นที่ให้บริการอย่างกว้างขวางและเพียงพอ
22 ห้องสมุดมีแสงสว่างเพียงพอต่อการอ่านหนังสือ
23 จัดบรรยากาศห้องสมุดให้เชิญชวนต่อการเข้ามาใช้บริการ
24 ห้องสมุดควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ไม่มีเสียงและ
กลิ่นรบกวน
25
ด้านงานเทคนิค
มีการจัดหาหนังสือ สารคดี และหนังสืออ้างอิงประกอบการ
ค้นคว้าตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ
26 มีการจัดหาหนังสืออ่านประกอบการเรียนการสอนตามสัดส่วนที่
เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ
27 มีการจัดหาหนังสือบันเทิงคดี เช่น เรื่องสั้น นิทาน หนังสือ
สำหรับเด็ก เป็นต้น ตามสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อ
ความต้องการ
28 มีการจัดหาวารสารและหนังสือพิมพ์อย่างเพียงพอและเหมาะสม
กับนักเรียน
29 มีการจัดหาหนังสือเรียนตามหลักสูตรและคู่มือ ตามสัดส่วนที่
เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ
30 มีการจัดหาโสตทัศนวัสดุ เช่น แถบบันทึกเสียง วีดิทัศน์ เป็นต้น
สำหรับให้บริการในห้องสมุดอย่างเพียงพอ
31 มีการจัดทำเครื่องมือช่วยค้นช่วยค้น เช่น บัตรรายการ หรือการ
สืบค้นทางคอมพิวเตอร์
3
ความเป็นไปได้
ข้อ รูปแบบที่พึงประสงค์ โรงเรียน
ขนาดเล็ก
โรงเรียน
ขนาดกลาง
โรงเรียน
ขนาดใหญ่
32 มีการลงทะเบียนหนังสืออย่างเป็นระบบ
33 มีการเตรียมวัสดุให้พร้อมก่อนให้บริการ เช่น ประทับตรา ติด
ซอง เขียนสัน
34 มีการซ่อมหนังสือที่ชำรุดเป็นประจำ
35
ด้านงานบริการ
มีการบริการแนะนำการใช้ห้องสมุด
36 มีบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า
37 มีบริการยืม-คืน หนังสือและวารสาร
38 มีบริการแนะนำหนังสือใหม่
39 มีบริการจัดป้ายนิทรรศการความรู้ทั่วไป
40 จัดให้ประชาสัมพันธ์งานบริการของห้องสมุด
41 มีการจัดหนังสือขึ้นชั้นอย่างเป็นระเบียบและถูกต้องตลอดเวลา
42
ด้านการจัดกิจกรรมของห้องสมุด
จัดกิจกรรมการประกวดแข่งขันตอบปัญหาเกี่ยวกับหนังสือ
43 จัดกิจกรรมการสอนวิชาการใช้ห้องสมุด
44 มีจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
45 มีการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของผู้บริหารและบุคลากร
ในโรงเรียน
46 มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนา
47
บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด
ครูบรรณารักษ์เป็นผู้สำเร็จการศึกษาทางด้าน
บรรณารักษศาสตร์โดยตรง
48 บรรณารักษ์มีความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับ
ห้องสมุด
ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้สละเวลาตอบแบบสอบถามฉบับนี้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครในการปรับปรุงพัฒนาห้องสมุดต่อไปในอนาคต
นางสาวน้ำค้าง เกิดลิบ
ผู้วิจัย
4
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียน
และบรรณารักษ์
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้ 2 ตอน
1. ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
2. ตอนที่ 2 ศึกษาความเป็นไปได้รูปแบบของห้องสมุดโรงเรียนที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของ
ผู้บริหารโรงเรียน และบรรณารักษ์
3. แบบสอบถามนี้ใช้สำหรับการวิจัยเท่านั้น กรุณาตอบตามความเป็นจริง และถือเป็นความลับ จะไม่
กระทบกระเทือนต่อสถานภาพ และการปฏิบัติงานของท่านแต่ประการใด ส่วนที่จะนำไปใช้นั้น
เป็นส่วนแสดงผลรวมเพื่อใช้ในการสรุปและเสนอแนะในการวิจัย
ขอขอบคุณที่กรุณาให้ความร่วมมืออย่างดียิ่งในการกรอกข้อมูล
( นางสาวน้ำค้าง เกิดลิบ )
นักศึกษาปริญญาโท สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ภาคผนวก จ
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา
ของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา
ของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยได้
ดำเนินการกำหนดมาตรฐานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ. 2535 โดยมีคณะกรรมการ
และอนุกรรมการของห้องสมุดได้กำหนดหัวข้อสำหรับการพิจารณาเบื้องต้น มาตรฐานที่เกี่ยวกับเรื่อง
ต่อไปนี้
1. การบริหาร กำหนดระบบงานของห้องสมุดและนโยบายในการดำเนินงาน
2. บุคลากร กำหนดจำนวนและคุณสมบัติของบุคลากรให้สอดคล้องกับห้องสมุดและ
ภาระงานของแต่ละฝ่าย
3. ทรัพยากร หมายถึง ประเภทและจำนวนวัสดุหรือสานิเทศที่ห้องสมุดควรจัดไว้
บริการ และสำหรับการดำเนินงาน
4. อาคารและครุภัณฑ์ กำหนดลักษณะอาคารและสถานที่ และมาตรฐานลักษณะ
ครุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับลักษณะของห้องสมุด
5. งานเทคนิค การกำหนดระบบการวิเคราะห์ การจัดเก็บเป็นระบบสากลให้ทันสมัย
6. งานบริการ กำหนดวิธีบริการระบบสากลและการร่วมมือระหว่างห้องสมุด
7. งบประมาณ กำหนดจำนวนและประเภทของงบประมาณที่ใช้ในห้องสมุด
หมวด ก มาตรฐานทั่วไป
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาเป็นหัวใจของการเรียนการสอนและการศึกษาค้นคว้าที่ทุก
โรงเรียนต้องจัดให้มีขึ้น เพื่อจุดมุ่งหมายดังนี้
1. เพื่อสนองกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรประถมศึกษา
2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่าน และสนใจศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
3. ให้นักเรียนมีทักษะในการใช้วัสดุสารนิเทศ
4. เตรียมนักเรียนให้มีประสบการณ์ในการใช้ห้องสมุด
5. เป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้ของนักเรียน ครู บุคลากรและชุมชน
ตอนที่ 1 หน้าที่และความรับผิดชอบ
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา เป็นแหล่งความรู้สำหรับการเรียนการสอน การศึกษา
ค้นคว้า และให้นักเรียนรู้จักใช้ประโยชน์จากห้องสมุด จึงมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
1. สนับสนุนและส่งเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตร ตลอดจนนโยบาย โครงการ
ของโรงเรียน
150
2. ให้การศึกษาค้นคว้าแก่นักเรียน และครูอาจารย์
3. ปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
4. ให้อ่านหนังสือตามความสนใจ ความต้องการและความสามารถของตน
5. ให้มีทักษะในการใช้วัสดุสารนิเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าประกอบ
การเรียน
6. เตรียมนักเรียนให้มีประสบการณ์ในการใช้ห้องสมุด เพื่อให้เข้าใจวิธีการใช้
ห้องสมุด
7. ให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ครูอาจารย์ในการเลือกและใช้วัสดุสารนิเทศ
เพื่อประโยชน์ในการสอน
8. ให้บริการชุมชนในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่
ตอนที่ 2 โครงสร้างการบริหาร
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา มีโครงสร้างการบริหารดังนี้
1. สถานภาพของห้องสมุด ห้องสมุดมีฐานะเป็นศูนย์กลุ่มวิชา โดยมีบรรณารักษ์เป็น
หัวหน้าศูนย์กลุ่มวิชา
2. การบริหารงานห้องสมุด
2.1 ห้องสมุดขึ้นตรงต่อผู้บริหารโรงเรียน ในกรณีที่ผู้บริหารมีการมอบหมายงานให้
ห้องสมุดอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายวิชาการ
2.2 มีคณะกรรมการห้องสมุด ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและวางแนวทางการดำเนิน
งานห้องสมุด โดยมีผู้บริหารโรงเรียนเป็นที่ปรึกษา ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการเป็นประธาน หัวหน้ากลุ่มวิชา
เป็นกรรมการ บรรณารักษ์เป็นกรรมการและเลขานุการ
2.3 การบริหารงานห้องสมุดเป็นไปตามมติของคณะกรรมการห้องสมุด
2.4 บรรณารักษ์ทำหน้าที่ดำเนินการในด้านงานเทคนิคและงานบริการห้องสมุด
โรงเรียน
ตอนที่ 3 บริการและความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
การให้บริการควรคำนึงถึงความสะดวกของผู้ใช้ และมีความร่วมมือกันระหว่าง
ห้องสมุดเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
1. บริการและกิจกรรมห้องสมุด มีดังนี้
1.1 บริการต่าง ๆ ที่จัดขึ้นในโรงเรียนและชุมชน ได้แก่ บริการแนะนำการใช้
ห้องสมุด
บริการให้อ่าน บริการยืม-คืน บริการหนังสือจอง บริการตอบคำถาม ช่วยการค้นคว้า บริการ
สารสนเทศ บริการจัดทำคู่มือช่วยการค้นคว้า บริการยืมคืนระหว่างห้องสมุด และบริการอื่น ๆ
151
1.2 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และกิจกรรมเพื่อการเรียนการสอน ได้แก่ เล่านิทาน
เล่าเรื่องหนังสือ จัดนิทรรศการ สนทนาเรื่องหนังสือ อภิปราย โต้วาที ทายปัญหา การค้นคว้าและ
การทำรายงาน และกิจกรรมอื่น ๆ
1.3 ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด ควรดำเนินการให้เกิดความร่วมในการใช้วัสดุสาร
นิเทศและทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเพื่อพัฒนางานเทคนิคและบริการ
ของห้องสมุดในกลุ่มโรงเรียนและห้องสมดประเภทอื่น ๆ
ตอนที่ 4 วัสดุสารนิเทศ
ห้องสมุดโรงเรียนประถม ควรมีวัสดุสารนิเทศทุกประเภท วัสดุสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ
วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค และวัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น รูปภาพ หุ่นจำลอง ของจริง ของ
ตัวอย่าง แผนที่ ลูกโลก เกมของเล่นเสริมทักษะ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แถบบันทึกเสียง
สไลด์ ฟิลม์สตริป และวีดิทัศน์
ตอนที่ 5 บุคลากร
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาควรมีบุคลากรปฏิบัติงานห้องสมุด ดังนี้
1. หัวหน้าห้องสมุด มีวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้
1.1 ปริญญาตรีสาขาบรรณารักษศาสตร์หรือสารนิเทศศาสตร์หรือสูงกว่า
1.2 ปริญญาตรีสาขาวิชาอื่น และอนุปริญญาบรรณารักษศาสตร์ หรือ
สารนิเทศศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรชั้นสูงสาขาบรรณารักษศาสตร์ หรือวุฒิบัตร
บรรณารักษศาสตร์ หรือสารนิเทศศาสตร์
1.3 ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงหรือเทียบเท่าวิชาเอกบรรณารักษศาสตร์
1.4 ประกาศนียบัตรวิชาชีพการศึกษาหรือเทียบเท่า และวุฒิบัตร
บรรณารักษศาสตร์ หรือสารนิเทศศาสตร์
2. บรรณารักษ์มีวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้
2.1 ปริญญาตรีสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ หรือสารนิเทศศาสตร์
2.2 ปริญญาตรีสาขาวิชาอื่นที่มีวิชาโทบรรณารักษศาสตร์ หรือสารนิเทศศาสตร์
2.3 ปริญญาตรีสาขาวิชาอื่น และวุฒิบัตรบรรณารักษศาสตร์
หรือสารนิเทศศาสตร์
2.4 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบเท่า และวุฒิบัตรบรรณารักษศาสตร์
หรือสารนิเทศศาสตร์
2.5 ประกาศนียบัตรวิชาชีพวิชาการศึกษาหรือเทียบเท่า และวุฒิบัตร
บรรณารักษศาสตร์หรือสารนิเทศศาสตร์
3. เจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีวุฒิอย่างต่ำประกาศนียบัตรวิชาชีพพาณิชยกรรม หรือ
152
มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า สามารถพิมพ์ดีดภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
นักการภารโรง มีวุฒิอย่างตำจบการศึกษาภาคบังคับนอกจากนี้ควรมีนักเรียนช่วยงานห้องสมุดที่ผ่าน
การอบรมและฝึกปฏิบัติงานห้องสมุดจากโรงเรียนหรือกลุ่มโรงเรียน
ตอนที่ 6 การดำเนินงานด้านเทคนิค
การดำเนินงานด้านเทคนิค โดยใช้บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานให้
ถูกต้องตามหลักวิชา ดังนี้
1. จัดหาวัสดุสารนิเทศตามหลักสูตรประถมศึกษาตามนโยบายของโรงเรียน และตาม
ความต้องการของนักเรียน ครู อาจารย์ และชุมชน
2. จัดหมวดหมู่สารนิเทศ และทำบัตรรายการตามระบบสากล
3. จัดหาอุปกรณ์สำหรับดำเนินงานด้านเทคนิคอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
4. ดูแล สำรวจ และบำรุงรักษาวัสดุสารนิเทศให้อยู่ในสภาพที่ดีตลอดเวลา
ตอนที่ 7 อาคารห้องสมุดและครุภัณฑ์
1. อาคารสถานที่
1.1 ควรตั้งอยู่ในสถานที่ที่สะดวกแก่ผู้ใช้บริการ เป็นศูนย์กลางของโรงเรียนและ
ไกลจากเสียงรบกวน ถ้าอยู่ในอาคารเรียน ไม่ควรเกินชั้นที่ 2 ของอาคาร
1.2 ห้องสมุดควรได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงความสะดวก
ปลอดภัยต่อทรัพย์สินของห้องสมุด และดึงดูดใจให้เข้าใช้บริการ
1.3 ห้องสมุดควรมีพื้นที่เพียงพอสำหรับ บริการการอ่าน การศึกษาค้นคว้าเป็น
ชั้นเรียน การจัดบริการและกิจกรรมของห้องสมุด การดำเนินงานของบุคลากรในห้องสมุด การ
จัดเก็บวัสดุสารนิเทศแลการขยายงานในอนาคต
1.3 ห้องสมุดควรมีแสงสว่างเพียงพอและไม่เป็นอันตรายต่อสายตามีอากาศถ่ายเท
สะดวก
2. ครุภัณฑ์ห้องสมุด ควรเป็นครุภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน คงทน สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย
และรักษาความสะอาด มีขนาดและสัดส่วนเหมาะสมกับผู้ใช้และบุคลากรของห้องสมุด
ตอนที่ 8 งบประมาณ
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาควรได้รับงบประมาณอย่างเพียงพอ เพื่อให้สามารถดำเนิน
งานตามหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะได้มาจาก งบประมาณโดยผ่านหน่วยงานต้นสังกัด เงิน
บริจาค เงินรายได้จากสมาคมผู้ปกครองและครู มูลนิธิ หรือรายได้จากการจัดกิจกรรมอื่น ๆ
153
หมวด ข. มาตรฐานเชิงปริมาณ
ตอนที่ 9 จำนวนวัสดุสารนิเทศ
1. วัสดุตีพิมพ์
1.1 หนังสือ 7 เล่มต่อนักเรียน 1 คนโดยจัดให้มีหนังสือทุกประเภท
1.2 วารสารวิชาการและวารสารทั่วไป 5 ชื่อต่อนักเรียน 400 คน ถ้ามีนักเรียน
มากกว่า 400 คน ให้เพิ่มตามความเหมาะสม
1.3 หนังสือพิมพ์ 3 ชื่อ ชื่อละ 1 ฉบับ ต่อนักเรียน 400 คน หารมีนักเรียน
มากกว่า 400 คน ให้เพิ่มได้ตามความเหมาะสม
2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ เช่น แผนที่ ลูกโลก แถบบันทึกเสียง รูปภาพ และอื่น ๆ ควรมี
จำนวนเพียงพอตามความต้องการและความจำเป็นของผู้ใช้บริการ
ตอนที่ 10 จำนวนบุคลากร
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ควรมีบุคลากรปฏิบัติงานเต็มเวลาโดยมีบุคลากรคิดเป็น
สัดส่วนเทียบกับจำนวนนักเรียน ดังนี้
1. จำนวนนักเรียน 400 คน มีหัวหน้างานห้องสมุด จำนวน 1 คน เจ้าหน้าที่
ห้องสมุด จำนวน 1 คน นักการภารโรง จำนวน 1 คน รวมเป็น 3 คน
2. จำนวนนักเรียน 600 คน มีหัวหน้างานห้องสมุด จำนวน 1 คน บรรณรักษ์ 1 คน
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 2 คน นักการภารโรง จำนวน 1 คน รวมเป็น 5 คน
3. จำนวนนักเรียน 800 คน มีหัวหน้างานห้องสมุด จำนวน 1 คน บรรณรักษ์ 2 คน
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 3 คน นักการภารโรง จำนวน 1 คน รวมเป็น 7 คน
4. จำนวนนักเรียน 1,000 คน มีหัวหน้างานห้องสมุด จำนวน 1 คน บรรณรักษ์ 2 คน
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 4 คน นักการภารโรง จำนวน 1 คน รวมเป็น 8 คน
5. จำนวนนักเรียน 1,200 คน มีหัวหน้างานห้องสมุด จำนวน 1 คน บรรณรักษ์ 3 คน
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 4 คน นักการภารโรง จำนวน 1 คน รวมเป็น 9 คน
6. จำนวนนักเรียน 1,200 คนขึ้นไป มีหัวหน้างานห้องสมุด จำนวน 1 คน
บรรณรักษ์ 3 คน เจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 5 คน นักการภารโรง จำนวน 1 คน รวมเป็น 10 คน
ตอนที่ 11 อาคารห้องสมุดและครุภัณฑ์
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ควรมีอาคารสถานที่และครุภัณฑ์สำหรับเป็นที่
ปฏิบัติงาน ที่นั่งอ่าน ที่เก็บและที่ให้บริการวัสดุสารนิเทศ และที่จัดกิจกรรมอย่างเพียงพอ ดังนี้
1. ขนาดของห้องสมุด ควรมีขนาด 1 ห้องเรียนสำหรับโรงเรียน ที่มีนักเรียนไม่เกิน 400
คน และมีขนาดเพิ่มขึ้นหนึ่งห้องเรียนต่อจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นทุก 200 คน โดยให้คำนึงถึงเนื้อที่
สำหรับครุภัณฑ์ห้องสมุด ที่ทำงานบุคลากร และที่นั่งอ่าน
154
2. ครุภัณฑ์ห้องสมุด
2.1 โต๊ะ เก้าอี้สำหรับบุคลากรปฏิบัติงาน ให้มีเท่าจำนวนบุคลากร
2.2 โต๊ะเก้าอี้สำหรับนั่งอ่านหนังสือ ให้มีจำนวน 40 ที่นั่งต่อ นักเรียน 400 คน
2.3 ชั้นหนังสือ และชั้นวารสาร ให้มีขนาดพอเหมาะและมีจำนวนเพียงพอสำหรับ
จัดเก็บวัสดุสารนิเทศ
2.4 ตู้ชนิดต่าง ๆ
2.4.1 ตู้บัตรรายการ 30 ลิ้นชัก 1 ตู้
2.4.2 ตู้เหล็ก 4 ลิ้นชัก สำหรับเก็บจุลสาร และกฤตภาค 1 ตู้
2.4.3 ตู้เหล็ก 2 บาน สำหรับเก็บวัสดุอุปกรณ์ห้องสมุด
2.4.4 ตู้นิทรรศการ 1 ตู้
2.4.5 ตู้เก็บแผนที่ 1 ตู้
2.4.6 ตู้เก็บแผ่นภาพ 1 ตู้
2.4.7 ตู้เก็บวีดิทัศน์และโสตทัศนวัสดุอื่น ๆ 1 ตู้
2.4.8 ตู้เก็บวารสารและหนังสือพิมพ์ฉบับย้อนหลัง 1 ตู้
2.5 ครุภัณฑ์โสตทัศนวัสดุ
2.5.1 เครื่องฉายสไลด์ 1 เครื่อง พร้อมจอ
2.5.2 เครื่องเล่นวิทยุเทปเสียง 1 เครื่อง พร้อมหูฟังชนิดครอบศีรษะ 5 ชุด
2.5.3 เครื่องรับโทรทัศน์ 1 เครื่อง
2.5.4 เครื่องเล่นวีดิทัศน์ 1 เครื่อง
2.6 ป้ายนิเทศ 1 ป้าย
2.7 เคาน์เตอร์ให้บริการยืม-คืน 1 ชุด
2.8 เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมโต๊ะและเก้าอี้พิมพ์ดีด
อย่างละหนึ่งชุด
2.9 รถเข็นหนังสือ 1 คัน
2.10 ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ซ่อมและเขียนสัน 1 ชุด
2.11 ที่ปีนหยิบหนังสือ 1 ที่
2.12 ชั้นวางสิ่งของก่อนเข้าห้องสมุด ตามความเหมาะสม 1ที่
ตอนที่ 12 งบประมาณ
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาควรได้รับงบประมาณอย่างน้อยร้อยละ 10 ของ
งบประมาณการเรียนการสอนทั้งหมดของโรงเรียน
ภาคผนวก ฉ
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ-สกุล นางสาวน้ำค้าง เกิดลิบ
วัน เดือน ปีเกิด 17 ตุลาคม 2512
สถานที่เกิด บ้านเลขที่ 34 หมู่ 1 ตำบลโพงาม อำเภอสรรคบุรี
จังหวัดชัยนาท
ประวัติการศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาบรรณารักษศาสตร์ พ.ศ. 2535
วิทยาลัยครูเทพสตรี จังหวัดลพบุรี
ตำแหน่งและสถานที่ทำงาน ข้าราชการครู สังกัด โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม
สำนักงานเขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร

ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ (ตอนที่ 1)
ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาที่พึงประสงค์ตามแนวคิดของผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น