วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด (ตอนที่ 2)



สรุปสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ในด้านการรับรู้ข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวกับโรคเอดส์มากที่สุดได้แก่ นักสังคมสงเคราะห์ รองลงมาเป็น พ่อแม่ ญาติพี่น้อง แพทย์
พยาบาล นักจิตวิทยา และหนังสือพิมพ์ ตามลำดับ
แสดงความสนใจสื่อที่มีอ ตารางที่ ิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ด้าน 9
เชื่อถือในคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
อันดับที่เลือก
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ไม่
ตอบ
จำนวน(คน)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
(ร้อยละ)
ประเภทสื่อ
)
13
(14.4)
5
(5.6)
1
(1.1)
2
(2.2)
2
(2.2)
20
(22.2)
0
(0.0
9
(10.0)
12
(13.3
1.พ่อแม่ ญาติ
พี่น้อง )
60
(66.7 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0)
2.)
12
(
แพทย์
พยาบาล
60
(66.70 13.30)
20
(22.20
)
15
(16.7)
10
(11.1)
5
(5.6)
3
(3.3)
9
(10.0)
13
(14.4)
0
(0.0 0 0 0 0 0 0 0)
3.
5
()
5
()
13
(14.4)
7
(7.8)
5
(5.6)
4
(4.4)
13
(14.4)
12
(13.3)
0
(0.0
นักจิตวิทยา
)
26
(28.9 5.60 5.60 0 0 0 0 0 0 0 0)
4.
13
(14.4)
5
(5.6)
8
(8.9)
6
(6.7)
13
(14.4)
8
(8.9)
7
(7.8)
10
()
13
(10.3)
0
(0.0
นักสังคม
สงเคราะห์ 0 0 0 0 0 0 0 11.10 0 0 )
5.
7
(7.8)
4
()
4
()
7
(7.8)
6
(6.7)
5
()
12
(13.3)
21
(23.3)
4
(4.4
หนังสือพิมพ์
)
20
(22.2 0 4.40 4.40 0 0 5.60 0 0 0 0)
6.
0
()
1
(1.1)
2
(2.2)
2
(2.2)
4
(4.4)
2
(2.2)
3
(3.3)
2
(2.2)
2
(2.2)
0
(0.0
วารสาร
0.00 0 0 0 0 0 0 0 0 0)
61
0
()
0
()
2
(2.2)
1
(1.1)
2
(2.2)
4
()
3
(3.3)
4
()
0
(0.0)
0
(0.0
แผ่นพับ 7.
0.00 0.00 0 0 0 0 4.40 0
4.40
0)
2
(2.2)
0
(0.0)
0
(0.0)
1
(1.1)
2
(2.2)
4
(4.4)
4
()
2
(2.2)
1
(1.1)
0
(0.0
8.วิทยุ
0 0 0 4.4 0 0 0 0)
9.
2
(2.2)
1
(1.1)
1
(1.1)
0
()
1
(1.1)
2
(2.2)
3
(3.3)
1
(1.1)
4
(4.4)
75
(
โทรทัศน์
0 0 0 0.00 0 0 0 0 0 83.30)
ผลการวิเคราะห์พบว่า สื่อที่มีอิทธิพลในด้านเชื่อถือในคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์ อันดับที่ 1
หรือมีอิทธิพลในการยอมรับในคำแนะนำ ระดับมากที่สุดได้แก่ แพทย์พยาบาล จำนวน 60 คน คิดเป็น
ร้อยละ 66.70 อันดับที่ 2 หรือมีอิทธิพลในระดับมากได้แก่ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง ได้รับเลือกจำนวน 60 คน
คิดเป็นร้อยละ 66.70 อันดับที่ 3 หรือมีอิทธิพลในระดับปานกลางได้แก่ แพทย์พยาบาล จำนวน 20
คน คิดเป็นร้อยละ 22.20 อันดับที่ 4 หรือมีอิทธิพลในระดับน้อย ได้แก่ นักจิตวิทยา จำนวน 26 คน
คิดเป็นร้อยละ 28.90 และอันดับที่ 5 หรือเป็นสื่อที่มีอิทธิพลในระดับน้อยที่สุด ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ประเภท
หนังสือพิมพ์ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 22.20
สรุปสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ในด้านเชื่อถือในคำ
แนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์มากที่สุด ได้แก่ แพทย์ พยาบาล รองลงมาเป็น พ่อแม่ ญาติพี่น้อง นักจิต
วิทยา และนักหนังสือพิมพ์ ตามลำดับ
62
ตารางที่ 10 แสดงความสนใจสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์
ใน
ด้านยอมรับในคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
อันดับที่เลือก
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ไม่
ตอบ
จำนวน(คน)
(ร้อยละ)
ประเภทสื่อ
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
1.
8
(8.9
พ่อแม่ ญาติ
0
พี่น้อง )
63
(70.00)
2
(2.20)
7
(7.80)
0
(0.00)
0
(0.00)
0
(0.00)
2
(2.20)
8
(8.90)
0
(0.00)
2.
11
(12.20)
2
(2.20)
27
(30.00)
24
(26.70
แพทย์
พยาบาล )
4
(4.40)
2
(2.20)
3
(3.30)
1
(1.10)
12
(13.30)
0
(0.00)
3.นักจิตวิทยา
10
(11.10)
3
(3.30)
21
(23.30)
25
(27.80)
5
(5.60)
2
(2.20)
4
(4.40)
12
(13.30)
8
(8.90)
0
(0.00)
4.นักสังคม
สงเคราะห์
10
(11.10)
4
(4.40)
11
(12.20)
13
(14.40)
5
(5.60)
5
(5.60)
7
(7.80)
23
(25.60)
88
(97.80)
2
(2.20)
5.หนังสือพิมพ์
7
(7.80)
6
(6.70)
5
(5.60)
2
(2.20)
26
(28.90)
4
(4.40)
6
(6.70)
14
(15.60)
15
(16.70)
5
(5.60)
6.วารสาร
2
(2.20)
0
(0.00)
2
(2.20)
5
(5.60)
5
(5.60)
5
(5.60)
3
(3.30)
1
(1.10)
1
(1.10)
68
(75.60)
7.แผ่นพับ
1
(1.10)
0
(0.00)
1
(1.10)
3
(3.30)
2
(2.20)
3
(3.30)
3
(3.30)
5
(5.60)
1
(1.10)
71
(78.90)
8.
1
(1.10)
0
(0.00)
0
(0.00)
1
(1.10)
1
(1.10)
5
(5.60)
6
(6.70)
1
(1.10)
1
(1.10)
74
(82.2
วิทยุ
0)
63
2
(2.20)
1
(1.10)
1
(1.10)
0
(0.00)
1
(1.10)
2
(2.20)
2
(2.20)
3
(3.30)
3
(3.30)
75
(83.30)
โทรทัศน์ 9.
ผลการวิเคราะห์พบว่า สื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ใน
ด้านยอมรับในคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์ อันดับที่ 1 หรือมีอิทธิพลในด้านยอมรับคำแนะนำ ระดับมาก
ที่สุดได้แก่ แพทย์พยาบาล จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 12.20 อันดับที่ 2 หรือมีอิทธิพลในระดับมาก
ได้แก่ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 70.00 อันดับที่ 3 หรือมีอิทธิพลในระดับปาน
กลางได้แก่ แพทย์พยาบาล จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 อันดับที่ 4 หรือมีอิทธิพลในระดับน้อย
ได้แก่ นักจิตวิทยา จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 27.80 และอันดับ 5 หรือเป็นสื่อที่มีอิทธิพลในระดับ
น้อยที่สุด ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 28.90
สรุปสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ในด้านยอมรับในคำ
แนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์มากที่สุด ได้แก่ แพทย์พยาบาล รองลงมาเป็น พ่อแม่ ญาติพี่น้อง นักจิต
วิทยา และหนังสือพิมพ์ ตามลำดับ
แสดงความสนใจสื่อที่มีอ ตารางที่ ิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ใน 11
ด้านยินดีปฏิบัติตามคำแนะนำเกี่ยวกับเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
อันดับที่เลือก
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ไม่
ตอบ
จำนวน(คน)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
(ร้อยละ)
ประเภทสื่อ
1.พ่อแม่ ญาติ
พี่น้อง
6
(6.70)
58
(64.40)
4
(4.40)
11
(12.20)
1
(1.10)
1
(1.10)
1
(1.10)
1
(1.10)
8
(8.90)
0
(0.00)
2.แพทย์
พยาบาล
14
(15.60)
5
(5.60)
29
(32.20)
23
(25.60)
4
(4.40)
3
(3.30)
1
(1.10)
5
(5.60)
6
(6.70)
0
(0.00)
3.นักจิตวิทยา
7
(7.80)
8
(8.90)
17
(18.90)
28
(31.10)
4
(4.40)
3
(3.30)
9
(10.00)
5
(5.60)
9
(10.00)
0
(0.00)
4.
5
(5.60)
4
(4.40)
7
(
นักสังคม
สงเคราะห์ 7.80)
12
(13.30)
8
(8.90)
6
(6.70)
5
(5.60)
15
(16.70)
25
(27.80)
2
(2.20)
5.หนังสือพิมพ์
4
(4.40)
3
(3.30)
4
(4.4)
0
(0.00)
23
(25.60)
9
(10.00)
8
(8.90)
12
(13.30)
22
(24.40)
5
(5.60)
64
1
(1.10)
1
(1.10)
1
(1.10)
2
(2.20)
5
(
วารสาร 6.
5.60)
2
(2.20)
3
(3.30)
4
(4.40)
0
(0.00)
71
(78.90)
7.แผ่นพับ
1
(1.10)
0
(0.00)
4
(4.40)
1
(1.10)
2
(2.20)
4
(4.40)
4
(4.40)
1
(1.10)
0
(0.00)
73
(81.10)
8.วิทยุ
1
(1.10)
2
(2.20)
0
(0.00)
1
(1.10)
1
(1.10)
5
(5.60)
2
(2.20)
2
(2.20)
2
(2.20)
74
(82.20)
9.
4
(4.40)
0
(0.00)
0
(0.00)
1
(1.10)
0
(0.00)
2
(2.20)
3
(3.30)
3
(3.30)
2
(2.20)
75
(83.30)
โทรทัศน์
ผลการวิเคราะห์พบว่า สื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ใน
ด้านยินดีปฏิบัติตามคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์ อันดับที่ 1 หรือมีอิทธิพลในด้านยินดีปฏิบัติตามคำ
แนะนำ ระดับมากที่สุดได้แก่ แพทย์พยาบาล จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 15.60 อันดับที่ 2 หรือมี
อิทธิพลในระดับมากได้แก่ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 64.40 อันดับที่ 3 หรือมี
อิทธิพลในระดับปานกลางได้แก่ แพทย์พยาบาล จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 32.20 อันดับที่ 4 หรือมี
อิทธิพลในระดับน้อย ได้แก่ นักจิตวิทยา ได้รับเลือกมากที่สุดจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 31.10 และ
อันดับที่ 5 หรือเป็นสื่อที่มีอิทธิพลในระดับน้อยที่สุด ได้แก่สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ จำนวน 23 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.60
สรุปสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอส์ในด้านยินดีปฏิบัติตาม
คำแนะนำมากที่สุด ได้แก่ แพทย์พยาบาล รองลงมาเป็น พ่อแม่ ญาติพี่น้อง นักจิตวิทยา และหนังสือพิมพ์
65
แสดงความสนใจสื่อที่มีอ ตารางที่ ิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ใน 12
ด้านมีปัญหาหรือข้อสงสัยใดๆเกี่ยวกับโรคเอดส์ เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
อันดับที่เลือก
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ไม่
ตอบ
จำนวน(คน)
(ร้อยละ)
ประเภทสื่อ
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
n
(%)
1.พ่อแม่ ญาติ
พี่น้อง
7
(7.80)
59
(65.60)
7
(7.80)
10
(11.10)
0
(0.00)
3
(3.30)
0
(0.00)
1
(1.10)
3
(3.30)
0
(0.00)
2.แพทย์ พยาบาล
12
(13.30)
13
(14.40)
26
(28.90)
31
(34.40)
2
(2.20)
1
(1.10)
0
(0.00)
2
(2.20)
3
(3.30)
0
(0.00)
3.นักจิตวิทยา
6
(6.70)
10
(11.10)
33
(36.70)
27
(30.00)
0
(0.00)
3
(3.30)
3
(3.30)
3
(3.30)
0
(0.00)
3
(3.30)
4.
19
(21.10)
1
(1.10
นักสังคม
สงเคราะห์ )
7
(7.80)
11
(12.20)
8
(8.90)
4
(4.40)
3
(3.30)
8
(8.90)
14
(15.60)
15
(16.70)
5.หนังสือพิมพ์
2
(2.20)
1
(1.10)
3
(3.30)
1
(1.10)
20
(22.20)
6
(6.70)
6
(6.70)
13
(14.40)
18
(20.00)
20
(22.20)
6.วารสาร
0
(0.00)
1
(1.10)
2
(2.20)
0
(0.00)
5
(5.60)
2
(2.20)
2
(2.20)
2
(2.20)
2
(2.20)
74
(82.20)
7.แผ่นพับ
1
(1.10)
0
(0.00)
0
(0.00)
2
(2.20)
1
(1.10)
5
(5.60)
2
(2.20)
5
(5.60)
0
(0.00)
74
(82.20)
8.วิทยุ
2
(2.20)
0
(0.00)
0
(0.00)
1
(1.10)
0
(0.00)
3
(3.30)
4
(4.40)
3
(3.30)
2
(2.20)
75
(83.30)
66
2
(2.20)
1
(1.10)
1
(1.10)
0
(0.00)
2
(2.20)
1
(1.10)
4
(4.40)
2
(2.20)
2
(2.20)
75
(83.30)
โทรทัศน์ 9.
ผลการวิเคราะห์พบว่า สื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ใน
ด้านมีปัญหาหรือข้อสงสัยใด ๆเกี่ยวกับโรคเอดส์ อันดับที่ 1 หรือมีอิทธิพลที่ปรึกษาเมื่อมีปัญหาหรือข้อ
สงสัยใด ๆ ระดับมากที่สุดได้แก่ นักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 21.10 อันดับที่ 2
หรือมีอิทธิพลในระดับมากได้แก่ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 65.60 อันดับที่ 3
หรือมีอิทธิพลในระดับปานกลางได้แก่ นักจิตวิทยา จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 36.70 อันดับที่ 4
หรือมีอิทธิพลในระดับน้อย ได้แก่ แพทย์พยาบาล จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 34.40 และอันดับที่ 5
หรือเป็นสื่อที่มีอิทธิพลในระดับน้อยที่สุด ได้แก่สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ จำนวน 20 คน คิดเป็น
ร้อยละ 22.20
สรุปสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ในด้านมีปัญหาหรือ
ข้อสงสัยใด ๆ เกี่ยวกับโรคเอดส์มากที่สุด ได้แก่ นักสังคมสงเคราะห์ รองลงมาเป็น พ่อแม่ ญาติพี่น้อง
แพทย์พยาบาล และ หนังสือพิมพ์ตามลำดับ
สรุปสื่อที่มีอ ตารางที่ ิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์แยกตาม 13
ประเภทของสื่อที่ได้รับเลือก 5 อันดับแรก
ระดับการเลือกประเภทสื่อ
เลือกอันดับที1
เลือกอันดับที2
เลือกอันดับที3
เลือกอันดับที4
เลือกอันดับที5
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
(n)
(n)
(n)
(n)
อิทธิพลของสื่อ
(n)
1.
นักสังคม
สงเคราะห์
พ่อแม่ ญาติพี่
น้อง
แพทย์
พยาบาล
การรับข้อมูล นัก
หนังสือพิมพ์
ข่าวสาร
จิตวิทยา
18
8
30
20
26
2.
แพทย์
พยาบาล
พ่อแม่ ญาติพี่
น้อง
แพทย์
พยาบาล
เชื่อถือในคำแนะนำ นัก
หนังสือพิมพ์
จิตวิทยา
60
26
60
20
20
3.ยอมรับใน
แพทย์
พยาบาล
พ่อแม่ ญาติพี่
น้อง
แพทย์
พยาบาล
นัก
หนังสือพิมพ์
คำแนะนำ จิตวิทยา
63
27
25
11
26
67
4. ยินดีปฏิบัติตามคำ
แนะนำ
แพทย์
พยาบาล
พ่อแม่ ญาติพี่
น้อง
แพทย์
พยาบาล
นัก
หนังสือพิมพ์
จิตวิทยา
58
28
14
29
23
5.มีปัญหาหรือข้อ
สงสัยใดๆ
นักสังคม
สงเคราะห์
พ่อแม่ ญาติพี่
น้อง
แพทย์
พยาบาล
แพทย์
พยาบาล
หนังสือพิมพ์
20
33
19
59
31
จากตารางที่ 13 แสดงข้อมูลปัจจัยสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติด
เชื้อโรคเอดส์ ที่ได้รับเลือก 5 อันดับแรกแยกตามประเภทของสื่อ โดยผู้วิจัยได้กำหนดให้สื่อที่ได้รับเลือก
เป็นอันดับ1 เป็นสื่อที่อยู่ในระดับที่มีอิทธิพลมากที่สุด อันดับ 2 เป็นสื่อที่อยู่ในระดับที่มีอิทธิพลมาก
อันดับ 3 เป็นสื่อที่อยู่ในระดับที่มีอิทธิพลปานกลาง อันดับ 4 เป็นสื่อที่อยู่ในระดับที่มีอิทธิพลน้อย และ
อันดับ 5 เป็นสื่อที่อยู่ในระดับที่มีอิทธิพลน้อยที่สุด โดยประเภทของสื่อที่มีอิทธิพลเรียงลำดับจากมากที่
สุดไปหาน้อยที่สุด 5 อันดับวิเคราะห์จากอันดับที่เลือกด้วยคะแนนสูงสุดในแต่ละอันดับ
สรุปผลการศึกษาได้ว่าสื่อที่มีอิทธิพลต่อการรับข้อมูลข่าวสาร เชื่อถือในคำแนะนำ ยอมรับใน
คำแนะนำ ยินดีปฏิบัติตามคำแนะนำ และมีปัญหาหรือข้อสงสัยใดๆ เกี่ยวกับโรคเอดส์มากที่สุด คือ สื่อ
ประเภทบุคลากรทางสาธารณสุข ได้แก่ นักสังคมสงเคราะห์ แพทย์ พยาบาล รองลงมาเป็นสื่อประเภท
บุคคลในครอบครัว ได้แก่ พ่อ แม่ ญาติพี่น้อง และในอันดับน้อยที่สุด คือ สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์
ตารางที่ 14 แสดงจำนวนและค่าร้อยละด้านพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของ
กลุ่มตัวอย่าง
68
ตัวแปรตาม
จำนวน(คน)
ร้อยละ
1. ท่านมีวิธีการเสพยาเสพติดของท่านอย่างไร
1. เสพยาโดยวิธีสูบอย่างเดียว (ข้ามไปตอบข้อ 4)
2
2.20
2. เสพยาโดยวิธีฉีดอย่างเดียว
77
85.60
2.1 ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น
20
26.00
2.1.1 ทุกครั้ง
0
0.00
2.1.2 บางครั้ง
20
26.00
2.2 ไม่ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น
57
74.00
3. เสพยาโดยทั้งวิธีสูบและฉีด
11
12.20
3.1 ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกยาร่วมกับบุคคลอื่น
6
54.50
3.1.1 ทุกครั้ง
0
0.00
3.1.2 บางครั้ง
6
54.50
3.2 ไม่ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น
5
45.50
ตัวแปรตาม
จำนวน(คน)
ร้อยละ
2. ท่านทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาหลังใช้ซ้ำเฉพาะ
ของตนหรือหลังใช้ร่วมกับบุคคลอื่นก่อนฉีดหรือไม่
ทำทุกครั้ง
76
86.40
1.
ทำบางครั้ง
11
12.50
2.
3. ไม่ได้ทำความสะอาด
1
(สูบอย่างเดียว 2 คน)
1.10
3. ท่านมีวิธีการทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาของท่าน
อย่างไร
1. ล้างในน้ำสะอาดก่อนนำไปใช้
2. ล้างในน้ำสะอาดที่ใส่น้ำยาล้างเข็มจุ่มลงไปแล้วฉีดทิ้งข้างนอก
3-5 ครั้ง นำไปล้างต่อในน้ำสะอาดอีก 3- 5 ครั้งฉีดทิ้งข้างนอก
40
45.50
40
45.50
ก่อนนำไปใช้
6
3. ล้างด้วยน้ำอะไรก็ได้ก่อนนำไปใช้ (โปรดระบุ………………..)
2
4. ไม่ได้ทำความสะอาด
6.80
2.20
69
4.ท่านใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนของท่านหรือไม่
1. ใช้ทุกครั้ง
2. ใช้บางครั้ง
39
43.30
30
33.30
ไม่ใช้ 21 3.
23.30
5.ท่านตรวจสอบวันหมดอายุของถุงยางอนามัยก่อนใช้หรือไม่
1. ทุกครั้ง
47 52.20
2 2. บางครั้ง
4
26.70
3. ไม่เคย
19
21.10
ตัวแปร
จำนวน(คน)
ร้อยละ
6.ท่านมีวิธีการเลือกใช้ถุงยางอนามัยอย่างไร
1. เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีราคาถูก ข้อความพิมพ์บนซองอาจ
เลอะเลือนหรือสีซีดก็สามารถใช้ป้องกันโรคเอดส์ได้อย่างมีคุณภาพ
2
2. เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีขนาดใหญ่กว่าอวัยวะเพศของตนเพื่อ
จะได้รองรับน้ำอสุจิได้มาก
3. เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่ซองบรรจุสะอาด ไม่จำเป็นต้องดูวันหมด
อายุ อาจมีรอยฉีกขาดเล็กน้อยก็ยังใช้ได้
4. เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีขนาดเหมาะสมกับอวัยวะเพศของตน
โดยมีวันผลิตและวันหมดอายุพิมพ์บนซองบรรจุ
0
0
88
2.20
0.00
0.00
97.80
จากตารางที่ 14 ผลการวิเคราะห์พบว่า ผู้ติดยาเสพติดมีวิธีการเสพยาเสพติดโดยวิธีการสูบ
อย่างเดียว จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.20 โดยวิธีฉีดอย่างเดียว จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 85.60
โดยทั้งวิธีการสูบและฉีดจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 12.20 เสพยาโดยวิธีฉีดยาอย่างเดียวใช้เข็มฉีดหรือ
กระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น ทุกครั้งไม่มีเลย เสพยาโดยวิธีฉีดอย่างเดียวใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีด
70
ผู้ติดยาเสพติดมีการทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาหลังใช้ซ้ำเฉพาะของตนหรือ
หลังใช้ร่วมกับบุคคลอื่นก่อนฉีดทุกครั้ง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 86.40 ทำบางครั้ง จำนวน 11 คน
คิดเป็นร้อยละ 12.50 ไม่ได้ทำความสะอาด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.10
ผู้ติดยาเสพติดมีวิธีการทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาโดยวิธีล้างในน้ำสะอาด
ก่อนนำไปใช้ จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 45.50 ล้างในน้ำสะอาดที่ใส่น้ำยาล้างเข็มจุ่มลงไปแล้วฉีดทิ้ง
ข้างนอก 3-5 ครั้ง นำไปล้างต่อในน้ำสะอาดอีก 3-5 ครั้ง ฉีดทิ้งข้างนอกก่อนนำไปใช้ จำนวน 40 คน คิด
เป็นร้อยละ 45.50 ล้างด้วยน้ำอะไรก็ได้ก่อนจะนำไปใช้ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6.80 และไม่ได้ทำ
ความสะอาด จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.20
ผู้ติดยาเสพติดมีการใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนทุกครั้ง จำนวน 39 คน คิด
เป็นร้อยละ 43.30 ใช้บางครั้ง จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 และไม่ใช้ถุงยางอนามัยจำนวน 21 คน
คิดเป็นร้อยละ 23.30
ผู้ติดยาเสพติดมีการตรวจสอบวันหมดอายุของถุงยางอนามัยก่อนใช้ทุกครั้ง จำนวน 47 คน คิด
เป็นร้อยละ 52.20 ตรวจสอบบางครั้ง จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 26.70 ไม่เคยตรวจสอบ จำนวน 19
คน คิดเป็นร้อยละ 21.10
ผู้ติดยาเสพติดมีวิธีการเลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีราคาถูก ข้อความพิมพ์บนซองอาจเลอะเลือน
หรือสีซีดก็สามารถใช้ป้องกันโรคเอดส์ได้อย่างมีคุณภาพ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.20 เลือกใช้ถุง
ยางอนามัยที่มีขนาดใหญ่กว่าอวัยวะเพศของตน เพื่อรองรับน้ำอสุจิได้มากไม่มีเลย เลือกใช้ถุงยางอนามัย
ที่ซองบรรจุสะอาดไม่จำเป็นต้องดูวันหมดอายุอาจมีรอยฉีกเล็กน้อยก็ยังใช้ได้ไม่มีเลย เลือกใช้ถุงยาง
อนามัยที่มีขนาดเหมาะสมกับอวัยวะเพศของตนโดยมีวันผลิตและวันหมดอายุพิมพ์บนซองบรรจุ จำนวน
88 คน คิดเป็นร้อยละ 97.80
สรุปผลการศึกษาได้ว่า ผู้ติดยาเสพติดส่วนใหญ่เสพยาโดยวิธีฉีดอย่างเดียว จำนวน 77 คน คิด
เป็นร้อยละ 85.60 ไม่ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น จำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ
74.00 มีการทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาหลังใช้ซ้ำเฉพาะของตนหรือใช้ร่วมกับบุคคลอื่น
ทุกครั้ง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 86.40 มีวิธีการทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาโดยวิธี
ล้างในน้ำสะอาดก่อนนำไปใช้ จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 45.50 และล้างในน้ำสะอาดที่ใส่น้ำยาล้าง
71
ผู้ติดยาเสพติดส่วนใหญ่ใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนทุกครั้ง จำนวน 39 คน คิด
เป็นร้อยละ 43.30 ตรวจสอบวันหมดอายุของถุงยางอนามัยก่อนใช้ทุกครั้ง จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ
52.20
-0.31 มีวิธีเลือกถุงยางอนามัยที่มีขนาดเหมาะสมกับอวัยวะเพศของตน
โดยมีวันผลิตและวันหมดอายุ
พิมพ์บนซองบรรจุ จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 97.80
ส่วนที่ 2 การทดสอบสมมติฐาน
จากการทดสอบได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ตามคะแนนเฉลี่ยของตัวแปรที่นำมา
ทดสอบ โดยกำหนดตั้งแต่คะแนนเฉลี่ยที่ตำแหน่งเปอร์เซนต์ไตล์ที่ 75 ขึ้นไปเป็นกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยใน
ระดับสูง และคะแนนเฉลี่ยที่ตำแหน่งเปอร์เซนต์ไตล์ที่ 25 ลงไปเป็นกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยในระดับต่ำ นำ
มาทดสอบเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ จำแนกตามประเภทของ
ตัวแปร มีผลการทดสอบดังต่อไปนี้
เปรียบเทียบพฤติกรรมตารางที่ 15 การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์จำแนกตามความรู้ 1
เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย 5
การ ป้องกันตนเองจาก
พฤติกรรม
การติดเชื้อโรคเอดส์
n
Mean
S.D.
t
p 27
0.33
0.00 ระดับสูง
ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย
ระดับต่ำ
38
0.33
0.01
0 79 .
ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05(α)
สมมติฐานที่ 1 ผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่ต่ำ
72
ผลการวิเคราะห์จากตารางที่ 15 พบว่า ผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่ต่ำ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
เปรียบเทีตารางที่ ยบพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์จาํ แนกตามปัจจัย 16
การประเมินอันตราย ด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์
พฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก
การติดเชื้อโรคเอดส์
n
Mean
SD.
t
p
ระดับสูง
22
0.33
0.00
การรับรู้ความรุนแรงของ
24
0.33
0.00
0.05 
ระดับต่ำ
0.01*
ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05(α)
สมมติฐานที่ 2 ผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ในระดับที่ต่ำ
6 พบว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ใน ผลการวิเคราะห์จากตารางที่ 1
73
ระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ในระดับที่ต่ำ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้
เปร ตารางที่ ียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์จาํ แนกตาม 17
ปัจจัยการ ประเมินอันตราย ด้าน การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
0.74
0.47
พฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก
การติดเชื้อโรคเอดส์
n
Mean
SD.
t
p
ระดับสูง
31
0.33
0.04
การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อโรคเอดส์
ระดับต่ำ
37
0.32
0.02
ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05(α)
ต่อ สมมติฐานที่ 3 ผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่ต่ำ
ผลการวิเคราะห์จากตารางที่ 17 พบว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่ต่ำ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้ เปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ จำแนกตามปัจจัย
การประเมินการเผชิญปัญหาด้าน
ตารางที่ 18
ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยง
พฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก
การติดเชื้อโรคเอดส์
n
Mean
SD.
t
p
ความคาดหวังในผลลัพธ์
ระดับสูง
23
0.32
0.04
167
012
74
ระดับต่ำ
29
0.32
0.07
ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05(α)
สมมติฐานที่ 4 ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่ต่ำ
8 ผลการวิเคราะห์จากตารางที่1 พบว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่ต่ำ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
เปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ จำแนกตามปัจจัยการ
ประเมินการเผชิญปัญหาด้าน
ตารางที่ 19
ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง
พฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก
การติดเชื้อโรคเอดส์
n
Mean
SD.
t
p
ระดับสูง
41
0.33
0.07
ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง
25
0.33
0.00
0.70
0.49
ระดับต่ำ
ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05(α)
สมมติฐานที่ 5 ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในความสามารถของตนเองในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในความสามารถของตนเองในระดับที่ต่ำ
9 พบว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในความสามารถของ ผลการวิเคราะห์จากตารางที่ 1
75
ตนเองในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในความสามารถของตนเองในระดับที่ต่ำ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
สรุปผลการศึกษาได้ว่า
ปัจจัยความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย ปัจจัยการประเมินอันตรายด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ ปัจจัยการประเมินการเผชิญปัญหาด้านความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงและความคาดหวังในความสามารถของตน มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงว่าปัจจัยดังกล่าวไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติด ขอ ปัจจัยการประเมินอันตรายด้านการรับรู้ความรุนแรงงโรคเอดส์ มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 แสดงว่าปัจจัยด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติด
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกรุงเทพมหานคร เป็นการศึกษาผู้ติดยาเสพติดในเพศชายทั้งชนิดฉีดเข้าเส้นและชนิดสูบเฮโรอีน เฉพาะผู้ที่มีผลเลือดปกติ(ไม่พบเชื้อเอชไอวี)ที่มารับการบำบัดรักษายาเสพติดในคลินิกยาเสพติดของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร จำนวน 15 แห่ง ในเดือนมิถุนายน 2546 เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดและปัจจัยต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติด ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดมาทำการศึกษาโดยแยกเป็นตัวแปรอิสระ คือ ปัจจัยความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย ปัจจัยการประเมินอันตราย ได้แก่ ด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ ปัจจัยการประเมินการเผชิญปัญหา ได้แก่ ด้านความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยง ด้านความคาดหวังในความสามารถของตนเอง และปัจจัยสื่อ ได้แก่ สื่อบุคคล แบ่งเป็น บุคคลในครอบครัว บุคลากรทางสาธารณสุข สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ และตัวแปรอธิบาย คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ประสบการณ์ทางเพศ อาชีพ รายได้ต่อเดือน
สำหรับการวิจัยครั้งนี้ได้ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 90 คน การศึกษาวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย(Simple Random Samping) โดยใช้เกณฑ 15% ในการคัดเลือกขั้นตอนแรกและใช้เกณฑ์ 30% เป็นการคัดเลือกขั้นตอนสุดท้าย โดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น
จากกรอบแนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและผู้ติดยาเสพติดในเพศชายทั้งชนิดฉีดเข้าเส้น
และชนิดสูบเฮโรอีนเฉพาะผู้ที่มีผลเลือดปกติ(ไม่พบเชื้อเอชไอวี) ที่มารับการบำบัดรักษายาเสพติดใน
คลินิกยาเสพติด ของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลในการวิจัย เป็นลักษณะแบบสอบถามที่ผู้วิจัยดำเนินการติดต่อกับหน่วยงานกลุ่มตัวอย่าง
จัดทำแบบสอบถามด้วยตัวเองทั้งหมด 90 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งได้นำข้อมูลมาประมวลผลโดยใช้
โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ตามลำดับ
76
สรุปผลของการวิจัย
1. ข้อมูลของปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดใน
เพศชายทั้งชนิดฉีดเข้าเส้นและชนิดสูบเฮโรอีนเฉพาะผู้ที่มีผลเลือดปกติ(ไม่พบเชื้อเอชไอวี) ที่มารับการ
บำบัดรักษายาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกรุงเทพมหานครในภาพรวมอยู่ในระดับสูง
2. ปัจจัยสื่อที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์มากที่สุด คือ
สื่อประเภทบุคลากรทางสาธารณสุข ได้แก่ นักสังคมสงเคราะห์ แพทย์ พยาบาล รองลงมาคือ สื่อประเภท
บุคคลในครอบครัว ได้แก่ พ่อแม่ ญาติพี่นี้อง และในอันดับน้อยที่สุด คือ สื่อประเภทสิ่งพิมพ์ ได้แก่
หนังสือพิมพ์
ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง 3.
3.1 อายุ ส่วนใหญ่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 42.20 รองลงมาอายุ 25-29 ปี คิดเป็น
ร้อยละ 27.80 และอายุ 15-24 ปี คิดเป็นร้อยละ 6.70
3.2 ระดับการศึกษาสูงสุด ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 51.10
รองลงมาเป็นระดับประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 33.00 และระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่าคิดเป็นร้อยละ
2.20
3.3 สถานภาพสมรส ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสเป็นโสด คิดเป็นร้อยละ 48.90 รองลง
มาเป็นผู้ที่สมรส คิดเป็นร้อยละ 26.70 และแยกกันอยู่ คิดเป็นร้อยละ 11.10
ประสบการณ์ทางเพศ ส่วนใหญ่เคยมีเพศสัมพันธ์ คิดเป็นร้อยละ 94.40 และไม่เคยมี 3.4
เพศสัมพันธ์ คิดเป็นร้อยละ 5.60
3.5 อาชีพ ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาอาชีพว่างงาน คิดเป็น
ร้อยละ 25.50 และอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 2.20
3.6 รายได้ต่อเดือน ส่วนใหญ่มีระดับรายได้น้อยกว่า 5,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 53.30
รองลงมามีรายได้ระหว่าง 5,001-10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 33.30 และรายได้ 15,001 บาทขึ้นไปคิด
เป็นร้อยละ 4.40
4. ข้อมูลด้านพฤติกรรมการป้องกันตนจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในเพศชาย
ทั้งชนิดฉีดเข้าเส้นและชนิดสูบเฮโรอีน เฉพาะผู้ที่มีผลเลือดปกติ(ไม่พบเชื้อเอชไอวี) ที่มารับการบำบัด
รักษายาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกรุงเทพมหานคร
ผู้ติดยาเสพติดส่วนใหญ่เสพยาโดยวิธีฉีดอย่างเดียว คิดเป็นร้อยละ 85.60 ไม่ใช้เข็มฉีดยาหรือ
กระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น คิดเป็นร้อยละ 74.00 ทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาหลัง
77
ผู้ติดยาเสพติดส่วนใหญ่ใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ
43.30 มีการตรวจสอบวันหมดอายุของถุงยางอนามัยก่อนนำไปใช้ทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 52.20 และมีวิธี
การเลือกใช้ถุงยางอนามัยที่ขนาดเหมาะสมกับอวัยวะเพศของตนโดยมีวันผลิตและวันหมดอายุพิมพ์บน
ซองบรรจุ คิดเป็นร้อยละ 97.80
ผลการทดสอบสมมติฐาน 5.
จากการวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยาง
อนามัย ปัจจัยการประเมินอันตราย ได้แก่ ด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์และด้านการรับรู้โอกาส
เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ ปัจจัยการประเมินการเผชิญปัญหา ได้แก่ ด้านความคาดหวังในผลลัพธ์
ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงและด้านความคาดหวังในความสามารถของตนเองกับพฤติกรรมการป้อง
กันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกรุงเทพมหานคร มีทิศทาง
ความสัมพันธ์ดังนี้
5.1 ปัจจัยความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยกับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจาก
การติดเชื้อโรคเอดส์ ผลการทดสอบพบว่า ผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย
ในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ ไม่ดีกว่า ผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้
เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่ต่ำ
ปัจจัยการประเมินอันตรายกับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ ผล 5.2
การทดสอบพบว่า
ผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ในระดับที่สูงจะมีพฤติ 5.2.1
กรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์
ในระดับที่ต่ำ
ผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่สูงจะมี 5.2.2
พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ ไม่ดีกว่า ผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อ
การติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่ต่ำ
ปัจจัยการประเมินการเผชิญปัญหากับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรค 5.3
78
เอดส์ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า
5.3.1 ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงใน
ระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ ไม่ดีกว่า ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาด
หวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่ต่ำ
ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในความสามารถของตนเองในระดับที่สูงจะมี 5.3.2
พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ ไม่ดีกว่า ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในความ
สามารถของตนเองในระดับที่ต่ำ
อภิปรายผลการวิจัย
จากการศึกษา เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกรุงเทพมหานคร ครั้งนี้ผู้วิจัยสามารถจะอภิปรายผลดังนี้
พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในเพศชายทั้งชนิดฉีด
เข้าเส้นและชนิดสูบเฮโรอีนเฉพาะผู้ที่มีผลเลือดปกติ(ไม่พบเชื้อเอชไอวี) ที่มารับการบำบัดรักษายาเสพติด
ในคลินิกยาเสพติดของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ภาพรวมอยู่ในระดับสูง
โดยประกอบด้วย ปัจจัยความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย ปัจจัยการประเมินอันตราย ได้แก่
การรับรู ้ความรุนแรงของโรคเอดส์ และการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ ปัจจัยการประเมินการเผชิญปัญหา ได้แก่ ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงและความคาดหวังในความสามารถของตนเอง
ผลจากการทดสอบสมมติฐาน สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้
1.ปัจจัยความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย ผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่สูงจะมี พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่ต่ำ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
ผลการศึกษาเป็นดังนี้ เนื่องจาก ผู้ติดยาเสพติดถึงแม้นว่าจะมีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัยในระดับที่สูง แต่เมื่อติดยาเสพติดแล้วก็ยังมีความต้องการที่จะเสพสารเสพติดอยู่เพราะเฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง มีฤทธิ์กดระบบประสาทระงับอาการปวด ง่วงซึม มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงในทางรู้สึกสบายและเป็นสุข(Euphoria) หรือฝันกลางวันจึงทำให้หลังฉีดยาผู้ติดยาเสพติดรู้สึกสบาย ผ่อนคลายจึงถึงระดับเคลิ้ม จนในที่สุด ผู้ติดยาเสพติดติดใจในรสชาดความรู้สึกหลัง
79
จากได้เสพยาเสพติดจึงทำให้ไม่สามารถเลิกพฤติกรรมการเสพยาเสพติดได้โดยง่ายซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ เช่น การใช้เข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาร่วมกัน หรือการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ติดเชื้อเอดส์
2. ปัจจัยการประเมินอันตราย
2.1 ด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ ผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรค
เอดส์ในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการ
รับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ในระดับที่ต่ำ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้
ผลการศึกษาเป็นดังนี้ แสดงให้เห็นว่า ผู้ที่รับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์จะรู้ว่า การเป็นเอดส์
ไม่สามารถรักษาให้หายได้ ทำให้เกิดความกลัวที่จะติดโรคเอดส์และถึงแก่ความตายในที่สุด เพราะยังไม่มี
ยาหรือวัคซีนที่จะรักษาให้หายขาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะมีการทดลองวัคซีนที่ผลิตขึ้นมาแต่ก็ยัง
เป็นเพียงแค่ความหวังในการที่จะยับยั้งโรคเอดส์ไม่ให้แพร่ออกไปแต่ก็คงเป็นไปไม่ได้ถ้ายังมีกลุ่มเสี่ยง
จากการมั่วเพศและมั่วเข็มอยู่ จึงทำให้มีพฤติกรรมในการป้องกันตนเองสูง ดังนั้นจึงมีทางเดียวคือ การไม่
ไปเอาหรือรับเชื้อมาสู่ตนเอง เนื่องจากพฤติกรรมของมนุษย์ส่วนมากเอื้อต่อการรับและแพร่เชื้อโรคเอดส์
เช่นการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยหรือมีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยหรือใช้อย่าง
ไม่สม่ำเสมอ การใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน เป็นต้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเน้นมาตรการการป้องกัน
ไม่ให้เป็นโรคเอดส์คือ การให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์เพื่อก่อให้เกิดการรับรู้ถึงความ
รุนแรงของโรคและความเสี่ยงของการเป็นโรคซึ่งขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของบุคคลแต่ละคนว่าถ้าไม่ปฏิบัติ
ตนเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดขึ้นก็จะทำให้ตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคได้
2.2 ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ ผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับที่ต่ำอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
ผลการศึกษาเป็นดังนี้ เนื่องจากผู้ติดยาเสพติดแม้รู้ว่าตนเองกำลังตกอยู่ในภาวะเสี่ยงของการติดเชื้อโรคเอดส์ แต่ผลจากการเสพยาเสพติดจึงมีพฤติกรรมการใช้เข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น และการร่วมเพศกับบุคคลที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยหรือใช้ถุงยางอนามัยอย่างไม่สม่ำเสมอ เนื่องจากการติดยาเป็นการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจที่ทำให้เกิดอาการเคลิ้ม หรือลืมปัญหาของตนเองที่กำลังเผชิญอยู่ทำให้มีสภาพติดยา ไม่สามารถลืมหรือหยุดใช้ได้ซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรม ทำให้ผู้ติดยาเสพติดยังคงมีพฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าว
80
3. ปัจจัยการประเมินการเผชิญปัญหา
3.1 ด้านความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยง ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่สูง จะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่ต่ำ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
ผลการศึกษาเป็นดังนี้ แสดงให้เห็นว่า ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังในผลลัพธ์ของการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในระดับที่สูง ก็ใช่ว่าจะมีพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ในระดับ
สูงด้วย เนื่องจากการมีพฤติกรรมที่ขาดความระมัดระวัง มีความประมาท และป้องกันอย่างไม่จริงจังหรือสม่ำเสมอ ประกอบกับการเสพยาเสพติดทำให้ขาดสติ มีอารมณ์เคลิ้มเพ้อฝัน ทำให้ละเลยคำแนะนำในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์หรือละเลยจากความตั้งใจของตนที่จะลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อ
การป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ได้
3.2 ด้านความคาดหวังในความสามารถของตนเอง ผู้ติดยาเสพติดที่มีความคาดหวังใน
ความสามารถของตนเองในระดับที่สูงจะมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ดีกว่าผู้ติด
ยาเสพติดที่มีความคาดหวังในความสามารถของตนเองในระดับที่ต่ำอย่างมีไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้
ผลการศึกษาเป็นดังนี้ เนื่องจากเฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง มี
ฤทธิ์กดระบบประสาท ระงับอาการปวด ง่วงซึม อารมณ์เปลี่ยนแปลงในทางรู้สึกสบาย เป็นสุข(Euphoria)
หรือฝันกลางวัน ผู้ติดยาเสพติดจึงติดใจในรสชาดเพราะสภาพการติดยาเป็นการเสพติดทั้งทางร่างกาย
และจิตใจ ทำให้ไม่อาจลืมหรือหยุดใช้ได้ แม้ว่าผู้ติดยาเสพติดจะมีความคาดหวังในความสามารถของตน
เองในระดับที่สูง แต่ก็ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนจากการเสพยาเสพติดได้ ยังคงมีพฤติ
กรรมการใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่น และการมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเอดส์โดยไม่ใช้ถุง
ยางอนามัยหรือใช้ถุงยางอนามัยอย่างไม่สม่ำเสมอได้เนื่องจากสภาพการติดดังกล่าว
81
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
จากผลการศึกษา ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการ
ติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกรุงเทพมหานคร พอสังเขปดังนี้
1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการพัฒนาการอบรม สัมมนาทางวิชาการและเชิงปฏิบัติการใน
การป้องกันการแพร่กระจายเกี่ยวกับโรคเอดส์ สำหรับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ
2. ผู้ติดยาเสพติดควรมีการได้รับคำปรึกษาแนะแนวทั้งเป็นรายบุคคล(Individual Consulling)
และรายกลุ่ม(Group Consulling) อย่างสม่ำเสมอตลอดระยะเวลาการบำบัดรักษาในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันตนเองจากโรคเอดส์อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการสาธิต แนะนำวิธีล้างเข็มอย่างสะอาดก่อนนำไปใช้ในครั้งต่อ 3.
ไปอย่างถูกวิธี โดยเชิงปฏิบัติการของผู้ติดยาเสพติดเพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคซึ่งก่อให้เกิดพฤติกรรม
เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีการส่งเสริมให้มีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยโดยเน้นการใช้ถุงยาง
อนามัยทุกครั้งที่มีเพศสมันธ์กับหญิงบริการหรือผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเอดส์ หรือ วิธีป้องกันชนิดอื่นที่
เหมาะสมแก่ผู้ติดยาเสพติดที่มารับการบำบัดในคลินิกยาเสพติด หรือ สถานพยาบาลอื่น ๆ รวมทั้งการให้
ความรู้ถึงวิธีการใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกต้อง
ข้อเสนอแนะในครั้งต่อไป
ในการวิจัยครั้งต่อไป การศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์
ของผู้ติดยาเสพิติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกุรงเทพมหานคร ควรที่จะศึกษาเพิ่มเติมในด้านการมีส่วน
ร่วมต่อการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัด
กรุงเทพมหานคร การศึกษาแรงจูงใจที่ทำให้เกิดพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์
ของกลุ่มผู้ติดยาเสพติด ศึกษาด้านการให้คำปรึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มเพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติ
กรรมการป้องกันการแพร่กระจายของโรคเอดส์สู่ประชาชน เป็นต้น อันจะนำมาซึ่งเป็นแนวทางในการ
พิจารณาแก้ไข ปรับปรุง หรือกำหนดเป็นแนวทางในการส่งเสริมและควบคุมโรคเอดส์ในกลุ่มเสี่ยงอื่น ๆ
ต่อไป
82
บรรณานุกรม
83
บรรณานุกรม
กรรณิการ์ อัศวดรเดชา . (2543). สื่อและเครื่องมือเพื่อการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ :
บริษัทประชาชน จำกัด.
กรมควบคุมโรคติดต่อ.(2537).ความรู้เกี่ยวกับเอดส์.พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข.
กระทรวงสาธารณสุข. (2537). โครงการวางแผนครอบครัว มาตราฐานการตรวจคุณภาพ
ถุงยางอนามัย. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์องค์กรสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
กองควบคุมโรคเอดส์. (2544). กรุงเทพฯรู้ทันเอดส์. เกาะติดสถานการณ์, กรุงเทพฯ.
(กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2544) : 2.
กองควบคุมโรคเอดส์. (2544). กรุงเทพฯรู้ทันเอดส์. เกาะติดสถานการณ์ . กรุงเทพฯ.
(มิถุนายน – กันยายน 2545) : 2.
กันยา สุวรรณแสง. (2532). การศึกษาความรู้เรื่องโรคเอดส์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.
กิตติ บุญรัตนเนตร. (2540). พฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มแรงงานชายในเขต
นิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมสงเคราะห์มหาบัณฑิต
สาขาการจัดการโครงการสวัสดิการสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม
พระเกียรติ .
เกษม จันทร์น้อย. (2537). สื่อประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : บริษัทนานมีบุคส์ จำกัด.
จำเนียร ช่วงโชติ และคณะ. (2519). จิตวิทยาการรับรู้และการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
กรมศาสนา.
นารีรัตน์ เอกปัญญากุล. (2541). การศึกษาการให้บริการแก่ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยโรคเอดส์
ของนักสังคมสงเคราะห์. ศึกษากรณีศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย
กรุงเทพมหานคร . วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาสังคมวิทยา และมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
ประคอง กรรณสูตร .(2535). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชา
การวิจัยการศึกษาคณะคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
ประเสริฐ ทองเจริญ. (2531). เอดส์ : กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
อักษรสมัย.
ฝ่ายแผนงาน กองป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด.(2544). เอกสารอัดสำเนา.
84
พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล. (2541). หนังสือประกอบชุดการเรียนด้วยตนเองหลักป้องกันโรค
กรณีศึกษาการป้องกันโรคติดเชื้อเอชไอวีเอดส์. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ :
เจริญดีการพิมพ์.
พิมพ์พรรณ ศิลป์สุวรรณและคณะ . (2531). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกสารอัดสำเนา.
มัลลิกา ตั้งเจริญ. (2534). การรับรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์กับความสามารถในการดูแลตนเอง
เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ในหญิงอาชีพพิเศษ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยา
ศาสตร์มหาบันฑิต สาขาพยาบาลศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล .
ยุทธพงษ์ กัยวรรณ. (2543). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ :สุวีริยาสาส์น.
รัตนา มุขธระโกษา. (2538). ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของผู้ติดเชื้อเอดส์ในโรง
พยาบาล จุฬาลงกรณ์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ .
รัจรี นพเกต. (2536). การรับรู้ ทัศนคติ ประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องเพศและโรคเอดส์
กรุงเทพฯ.
วรชัย ทองไทย และ อรพันธ์ พิทักษ์มหาเกตุ.(2536). ความรู้ การรับข้อมูลข่าวสารและ
พฤติกรรมเกี่ยวกับโรคเอดส์ : โครงการสำรวจประสิทธิผลของสื่อสารเรื่อง
โรคเอดส์ต่อพฤติกรรมและค่านิยม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศิริวรรณ แสงอินทร์.(2536).ทัศนคติต่อการบริการทางเพศ ความเชื่อ อำนาจภายในภาย
นอกด้านสุขภาพและพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์.
สถาพร มานัสสถิตย์.(2533). ถามตอบปัญหาโรคเอดส์. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์เมดีคัลมีเดีย.
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.(2543).คู่มือการสอนสุขศึกษา สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข:
กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชวนพิมพ์:56.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (ม.ป.ป.).(2544). ไทยเข้าใจเอดส์ : ความรู้คู่มือป้องกันเอดส์ฉบับสมบูรณ์.
กรุงเทพฯ.
สำเริง แสงชื่อ และสมชัย จิรโรจน์วัฒนะ. (2530). ภาวะความวิตกกังวลและพฤติกรรมใน.
การป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ของกลุ่มบุคคลที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
ที่พัทยา จังหวัดชลบุรี.
สุพรรณี สฤษดิ์อภิรักษ์. (2536). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการป้องกันโรคเอดส์
ของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
85
เสมอจันทร์ อะนะเทพ.(2535). ความสัมพันธ์เกี่ยวกับโรค ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองกับ พฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดทางเส้นเลือดที่ได้รับ การรักษา
ด้วยเมธาโดน. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมสงเคราะห์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
เสาวนีย์ พันธ์พัฒนกุล.(2537). การรับรู้ของประชาชนเกี่ยวกับบทบาทของครอบครัวในการ
ดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
โสภา ชปิลมันน์.(2536). การศึกษาที่เกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติและพฤติกรรม
ของบุคคลทั่วไปของบุคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับโรคเอดส์ของบุคคลที่มีพฤติ
กรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์ของผู้ป่วยโรคเอดส์และของครอบครัวผู้ป่วยโรคเอดส์ต่อ
คำว่า “เอดส์” และต่อผู้ป่วยโรคเอดส์. โครงการวิจัยคณะกรรมการและวางแผนสภา
สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย.
อรอุษา สถิตยุทธการ.(2538). การให้คำปรึกษารายบุคคลเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมป้องกัน
การแพร่กระจายเชื้อของผู้ป่วยหลังคลอดที่ติดเชื้อเอชไอวี โรงพยาบาลศิริราช.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
Bandura, A.(1977). “Self-efficacy : Toward a Unifying Theory of Behavioral Change
Psychological.” In Psychologic, New York : Holt, Rincchart and Winston.
Mackay and Bruce Campbell. (1992). AIDS and Protection. Motivation.
Theory (PMT) : Effects of Imagined Scenarios on Intent to use Condoms.
Michigan : A Bell and Howell Information Company.
Rogers, R.W.(1975)“A Protection Motivation Theory of Fear Appeals and Attitude Chang.”
The Journal of Psychology . 93 – 114.
Rogers, R.W. & Mewborn, C.R. (1976) “Fear Appeals and Attitude Chang : The Effects of
a Theat’s Noxiunsness, Probability of Occurrence and the Efficacy of Coping
Response. Journal of Personality and Social Psychology. 54-61.
Rogers,R.W. (1986) Health Education Research : 55.
Steven,Prentice - dunn and Ronald W.Rogers. (1986). Health Education Research:
154 – 155.
Walstan, B.S. , & Wallston, K.A. (1978) .Locus of Control and Health : A Review of the
Literature Health Education Monographs. : 107 – 117 .
86
ภาคผนวก ก
รายนามอาจารย์ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ
87
รายนามอาจารย์ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ
รองศาสตราจารย์ ดร.นงลักษณ์ เทพสวัสดิ์ ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ระดับ 9
ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำ
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วุฒิการศึกษาสูงสุด สังคมสงเคราะห์ศาสตร์
ดุษฎีบัณฑิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทร์วิภา ดิลกสัมพันธ์ ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
ตำแหน่งปัจจุบัน รองอธิการบดี
ฝ่ายกิจการนักศึกษา
สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วุฒิการศึกษาสูงสุด สาธารณสุขศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต
สาขาสุขศึกษาและพฤติกรรม
ศาสตร์
ดร.ประเทือง อัมพรภักดิ์ ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ 2 ระดับ 7
ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำคณะวิทยา
ศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
วุฒิการศึกษาสูงสุด Ph.D.(Education Research)
นายแพทย์ชัชชัย วัชรพฤกษาดี ตำแหน่งทางการ นายแพทย์ 8
ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้อำนวยการศูนย์บริการ
สาธารณสุข 23 (สี่พระยา)
วุฒิการศึกษาสูงสุด แพทย์ศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหิดล
นายแพทย์ชวินทร์ ศิรินาค ตำแหน่งทางการ เจ้าหน้าที่บริหารงาน
สาธารณสุข 8
ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้อำนวยการกองควบคุม
โรคเอดส์
88
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
วุฒิการศึกษาสูงสุด แพทย์ศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร.อรทัย หรูเจริญพรพาณิชย์ ตำแหน่งทางการ นักวิชาการควบคุมโรค 6
ตำแหน่งปัจจุบัน นักวิชาการควบคุมโรค 6
กองควบคุมโรคเอดส์
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
(ประชากรศาสตร์)
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล
89
ภาคผนวก ข
แบบสอบถาม
90
แบบสอบถาม
เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์
ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด สังกัดกรุงเทพมหานคร
คำชี้แจง
1. ไม่ต้องระบุชื่อ นามสกุลและที่อยู่
2. แบบสอบถามนี้ประกอบด้วย 5 ส่วน (10 หน้า) กรุณาตอบให้ครบทุกข้อตามความเป็นจริง
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล
ส่วนที่ 2 ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย
ส่วนที่ 3 ข้อมูลการรับรู้ต่อโรคเอดส์
ส่วนที่ 4 ข้อมูลปัจจัยด้านสื่อ
ส่วนที่ 5 ข้อมูลด้านพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์
3. เมื่อทำแบบสอบถามเสร็จแล้ว กรุณาตรวจสอบคำตอบครบถ้วนหรือไม่ แล้วนำคืนที่เจ้าหน้าที่
.----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอขอบพระคุณที่กรุณา สละเวลาให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
91
No.
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล
1-2
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงใน ให้ตรงกับข้อเท็จจริงมากที่สุด
1. อายุ
1. 15-24 ปี 2. 25-29 ปี
3. 30-34 ปี 4. 35-39 ปี
5.40 ปีขึ้นไป
2. ระดับการศึกษาสูงสุด
1. ไม่เคยได้รับการศึกษา 2. ระดับประถมศึกษา
3. ระดับมัธยมศึกษา 4. ระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า
5.ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า
3. สถานภาพสมรส
1. โสด 2. สมรส
3. หย่า/หม้าย 4. แยกกันอยู่
4. ประสบการณ์ทางเพศ
1. ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ 2. เคยมีเพศสัมพันธ์
5. อาชีพ
1. นักเรียน/นักศึกษา 2. ว่างงาน
3. รับจ้าง 4. ค้าขายหรือมีกิจกรรมของตนเอง
สำหรับผู้วิจัย
3
4
5
6
7
8
5. รับราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ 6. พนักงานบริษัทเอกชน
7. อื่นๆ (โปรดระบุ………………………………………..)
6. รายได้ต่อเดือน
1. ไม่เกิน 5,000 บาท 2. 5,001-10,000 บาท
3. 10,001-15,000 บาท 4. 15,001 บาทขึ้นไป
92
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ให้ตรงกับข้อเท็จจริงมากที่สุด
ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และถุงยางอนามัย
ใช่
ไม่ใช่
สำหรับ
ผู้วิจัย
1.ในปัจจุบันโรคเอดส์เป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากก่อให้เกิดอาการรุนแรงและเสียชีวิตในที่สุด
9
2. โรคแทรกซ้อนที่สำคัญเป็นอันดับหนึ่งทำให้ผู้ป่วยโรคเอดส์เสียชีวิตคือวัณโรค
10
3.กลุ่มผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจเสียชีวิตได้มากกว่าบุคคลธรรมดาทั่วไปจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
11
4. ผู้ติดเชื้อเอดส์แล้วไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันอย่างปกติได้
12
5. เชื้อเอดส์ติดต่อกันได้ทางเลือดเท่านั้น
13
6.การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันกับกลุ่มผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดไม่สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อเอดส์ได้
14
7. ในปัจจุบันมีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคเอดส์แล้ว
15
8. ยาสมุนไพรสามารถรักษาโรคเอดส์ให้หายขาดได้
16
9.การรักษาโรคเอดส์ในปัจจุบันคือ การให้ยายับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสเอดส์
17
10.การตรวจเลือดก่อนการสมรสเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ได้
18
11.การป้องกันตนเอง เช่น งดการใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่นหรือการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์จะช่วยลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับและการแพร่เชื้อเอดส์
19
12.การป้องกันตนเองจากโรคเอดส์วิธีหนึ่ง คือการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์
20
13. การร่วมเพศโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
21
14. ประโยชน์ของการใช้ถุงยางอนามัย คือ ใช้เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์
22
15. การใช้ถุงยางอนามัยที่เสื่อมคุณภาพสามารถป้องกันโรคเอดส์ได้อย่างดี
23
93
ส่วนที่ 3 ข้อมูลการรับรู้ต่อโรคเอดส์
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่อง ความรู้สึกหรือความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
การรับรู้ต่อโรคเอดส์
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ไม่เห็นด้วย
ไม่
แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
สำหรับ
ผู้วิจัย
1. โรคเอดส์เป็นโรคติดต่อที่ไม่ร้ายแรงต่อชีวิตมนุษย์
24
2. ในปัจจุบันไม่มียารักษาโรคเอดส์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
25
3. การติดเชื้อเอดส์ไม่ก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่าย
26
4. โรคแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเอดส์ เช่นวัณโรคจะไม่
ทำให้ ผู้ป่วยเสียชีวิต
27
5. ถ้าทราบว่าญาติหรือเพื่อนของท่านติดเชื้อเอดส์
ท่านจะมีความรู้สึกไม่อยากเข้าใกล้เพราะกลัวติดเชื้อ
เอดส์
28
6. การใส่ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีต้องใส่ขณะที่
อวัยวะเพศแข็งตัว ค่อยๆ ดึงถุงยางอนามัยออกจาก
ซองบรรจุด้วยปลายนิ้วมืออย่าใช้เล็บจิกออกมาเพราะ
เล็บมืออาจทำให้ถุงยางอนามัยมีรูรั่ว ทำให้ท่านติด
เชื้อเอดส์ได้
29
7. การมีเพศสัมพันธ์กับผู้หญิงที่รู้จักคุ้นเคยดี จะมีความปลอดภัยต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
30
8. ยาหม่องที่นำมาใช้ทาอวัยวะเพศเพื่อช่วยหล่อลื่นในการร่วมเพศ สามารถป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ได้
31
9. การใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์สามารถป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ได้
32
10.การหลีกเลี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์กับบุคคล
แปลกหน้า เป็นวิธีหนึ่งที่ป้องกันการติดเชื้อเอดส์ได้
33
94
การรับรู้ต่อโรคเอดส์
ไม่เห็นด้วย่างยิ่ง
ไม่เห็นด้วย
ไม่
แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
สำหรับ
ผู้วิจัย
11. การใช้อุปกรณ์ฉีดยา ได้แก่ เข็ม และ กระบอกฉีด
ที่ไม่ได้ทำความสะอาดร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์จะไม่ทำ
ให้ท่านติดเชื้อเอดส์ด้วย
34
12. การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในกลุ่มผู้เสพยาเสพติดไม่
ทำให้ท่านมีโอกาสติดเชื้อเอดส์ได้
35
13. การเตรียมถุงยางอนามัยเพื่อใช้ในการมีเพศ
สัมพันธ์กับผู้หญิงใดๆ ก็ตาม ทำให้ท่านไม่ต้องกังวล
ต่อการติดเชื้อเอดส์
36
14. การเลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีคุณภาพจะช่วยป้อง
กันการติดเชื้อเอดส์ได้
37
15. การใช้อุปกรณ์ฉีดยาได้แก่ เข็ม และกระบอกฉีด
ของตนเองไม่ปะปนกับบุคคลอื่นในการเสพทุกครั้งทำ
ให้ท่านไม่ต้องกังวลต่อการติดเชื้อเอดส์
38
16. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านตั้งใจจะ
งดหรือลดการมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
39
17. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านจะเตรียมถุงยาง
อนามัยติดตัวเสมอ เพื่อความสะดวกที่จะใช้หาก
ต้องการมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
40
18. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านตั้งใจจะปฏิเสธการ
มีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่ไม่ยินยอมให้ใช้ถุงยาง
อนามัย
41
19. ภายใน 2 เดือนข้างหน้าท่านจะใช้อุปกรณ์ฉีดยา
ได้แก่ เข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาเฉพาะของตนเท่า
นั้นในการเสพยาไม่ปะปนกับบุคคลอื่น
42
20. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านจะทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาของตนอย่างถูกวิธีทุกครั้งก่อนนำมาใช้ในครั้งต่อไป
43
95
ส่วนที่ 4 ข้อมูลปัจจัยด้านสื่อ
คำชี้แจง กรุณาใส่หมายเลขให้ตรงกับความรู้สึกหรือความคิดเห็นตามประเภทของสื่อที่มีอิทธิพล
ต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของท่านตามลำดับ จากอันดับมากที่สุดไปหา
น้อยที่สุด
อิทธิพลของสื่อที่มีต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์แบ่งออกเป็น 3
ประเภท ดังนี้
1. สื่อบุคคล ได้แก่
1.1 บุคคลในครอบครัวได้แก่ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง
1.2 บุคลากรทางสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์
2. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร แผ่นพับ
3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์
ตัวอย่าง ท่านสนใจดูรายการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพทางโทรทัศน์ช่องใดบ้าง ให้เรียงอันดับ
จากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด
4 1.ช่อง 3
1 2.ช่อง 5
3.ช่อง 7
2 4.ช่อง 9
5.ช่อง 11
3 6.ITV
5 7.UBC
จากตัวอย่าง หมายความว่าท่านสนใจดูรายการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพทางโทรทัศน์ช่อง 5
มากที่สุด รองลงมาคือช่อง 9 และน้อยที่สุดคือ UBC
96
1. ท่านได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคเอดส์ จากประเภทของสื่อทางใดหรือบุคคลใดดังต่อไปนี้
ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของท่าน (กรุณาใส่หมายเลขเรียงลำดับ
มากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
สำหรับผู้วิจัย
44-52
1. พ่อแม่ ญาติพี่น้อง
2. แพทย์ พยาบาล
3. นักจิตวิทยา
4. นักสังคมสงเคราะห์
5. หนังสือพิมพ์
6. วารสาร
7. แผ่นพับ
8. วิทยุ
9. โทรทัศน์
2. ท่านเชื่อถือในคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์ จากประเภทของสื่อทางใดหรือบุคคลใดดังต่อไปนี้ ที่มีผล
ต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของท่าน (กรุณาใส่หมายเลขเรียงลำดับมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
สำหรับผู้วิจัย
53-61
1. พ่อแม่ ญาติพี่น้อง
2. แพทย์ พยาบาล
3. นักจิตวิทยา
4. นักสังคมสงเคราะห์
5. หนังสือพิมพ์
6. วารสาร
7. แผ่นพับ
8. วิทยุ
9. โทรทัศน์
97
3. ท่านยอมรับในคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์ จากประเภทของสื่อทางใดหรือบุคคลใดดังต่อไปนี้
ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของท่าน (กรุณาใส่หมายเลขเรียงลำดับ
มากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
สำหรับผู้วิจัย
62-70
1. พ่อแม่ ญาติพี่น้อง
2. แพทย์ พยาบาล
3. นักจิตวิทยา
4. นักสังคมสงเคราะห์
5. หนังสือพิมพ์
6. วารสาร
7. แผ่นพับ
8. วิทยุ
9. โทรทัศน์
4. ท่านยินดีปฏิบัติตามคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเอดส์ จากประเภทของสื่อทางใดหรือบุคคลใดดังต่อไปนี้
ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของท่าน (กรุณาใส่หมายเลขเรียงลำดับ
มากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
สำหรับผู้วิจัย
71-79
1. พ่อแม่ ญาติพี่น้อง
2. แพทย์ พยาบาล
3. นักจิตวิทยา
4. นักสังคมสงเคราะห์
5. หนังสือพิมพ์
6. วารสาร
7. แผ่นพับ
8. วิทยุ
9. โทรทัศน์
98
5. ถ้าท่านมีปัญหาหรือข้อสงสัยใดๆ เกี่ยวกับโรคเอดส์ ท่านจะปรึกษาพูดคุยหรือหาคำตอบจากประเภทของสื่อทางใดหรือบุคคลใดดังต่อไปนี้ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของท่าน (กรุณาใส่หมายเลขเรียงลำดับมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
สำหรับผู้วิจัย
80-88
1. พ่อแม่ ญาติพี่น้อง
2. แพทย์ พยาบาล
3. นักจิตวิทยา
4. นักสังคมสงเคราะห์
5. หนังสือพิมพ์
6. วารสาร
7. แผ่นพับ
8. วิทยุ
9. โทรทัศน์
99
ส่วนที่ 5 ข้อมูลด้านพฤติกรรมป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงใน ให้ตรงกับพฤติกรรมของท่านมากที่สุด
1.ท่านมีวิธีการเสพยาเสพติดของท่านอย่างไร
1.เสพยาโดยวิธีการสูบอย่างเดียว (ข้ามไปตอบข้อ 4)
2.เสพยาโดยวิธีการฉีดอย่างเดียว
2.1 ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น
2.1.1 ทุกครั้ง
2.1.2 บางครั้ง
2.2 ไม่ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น
3.เสพยาโดยทั้งวิธีการสูบและฉีด
3.1 ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น
3.1.1 ทุกครั้ง
3.1.2 บางครั้ง
3.2 ไม่ใช้เข็มฉีดยาหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับบุคคลอื่น
2.ท่านทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยา หลังใช้ซ้ำเฉพาะตนหรือหลังใช้
ร่วมกับบุคคลอื่น ก่อนฉีดหรือไม่
1.ทำทุกครั้ง
2.ทำบางครั้ง
3.ไม่ได้ทำความสะอาด
3.ท่านมีวิธีการทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาของท่านอย่างไร
1.ล้างในน้ำสะอาดก่อนนำไปใช้
2.ล้างในน้ำสะอาดที่ใส่น้ำยาล้างเข็มจุ่มลงไปแล้วฉีดทิ้งข้างนอก
3-5 ครั้ง นำไปล้างต่อในน้ำสะอาดอีก 3-5 ครั้ง ฉีดทิ้งข้างนอกก่อนน้ำไปใช้
93
92
สำหรับผู้วิจัย
89 – 91
3.ล้างด้วยน้ำอะไรก็ได้ก่อนจะนำไปใช้ (โปรดระบุ……………………..)
4.ไม่ได้ทำความสะอาด
100
4.ท่านใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนของท่านหรือไม่
สำหรับผู้วิจัย
94
95
96
1.ใช้ทุกครั้ง
2.ใช้บางครั้ง
3.ไม่ใช้
5.ท่านตรวจสอบวันหมดอายุของถุงยางอนามัยก่อนใช้หรือไม่
1.ทุกครั้ง
2.บางครั้ง
3.ไม่เคย
6.ท่านมีวิธีการเลือกใช้ถุงยางอนามัยอย่างไร
1.เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีราคาถูก ข้อความพิมพ์บนซองอาจ
เลอะเลือนหรือสีซีดก็สามารถใช้ป้องกันโรคเอดส์ได้อย่างมีคุณภาพ
2.เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีขนาดใหญ่กว่าอวัยวะเพศของตน เพื่อจะได้รองรับ
น้ำอสุจิได้มาก
3.เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่ซองบรรจุสะอาด ไม่จำเป็นต้องดูวันหมดอายุ อาจมี
รอยฉีดขาดเล็กน้อยก็ยังใช้ได้
4.เลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีขนาดเหมาะสมกับอวัยวะเพสของตน โดยมีวันผลิต
และวันหมดอายุพิมพ์บนซองบรรจุ
101
ภาคผนวก ค
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
102
ตารางผนวกที่ 20 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ
โรคเอดส์และถุงยางอนามัย
ใช่
ไม่ใช่
ข้อความ
จำนวน(คน)
ร้อยละ
จำนวน(คน)
ร้อยละ x
SD.
1.ในปัจจุบันโรคเอดส์เป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากก่อให้เกิดอาการรุนแรงและเสียชีวิตในที่สุด
84
93.30
6
6.70
0.93
0.25
2. โรคแทรกซ้อนที่สำคัญเป็นอันดับหนึ่งทำให้ผู้ป่วยโรคเอดส์เสียชีวิตคือวัณโรค
81
90.00
9
10.00
0.90
0.30
3.กลุ่มผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจเสียชีวิตได้มากกว่าบุคคลธรรมดาทั่วไปจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
80
88.90
10
11.10
0.89
0.32
4. ผู้ติดเชื้อเอดส์แล้วไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันอย่างปกติได้
79
87.80
11
12.20
0.88
0.33
5. เชื้อเอดส์ติดต่อกันได้ทางเลือดเท่านั้น
61
67.80
29
32.20
0.68
0.47
6.การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันกับกลุ่มผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดไม่สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อเอดส์ได้
81
9.00
9
10.00
0.90
0.30
7. ในปัจจุบันมีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคเอดส์แล้ว
78
86.70
12
13.30
0.87
0.34
8. ยาสมุนไพรสามารถรักษาโรคเอดส์ให้หายขาดได้
84
93.30
6
6.70
0.93
0.25
9.การรักษาโรคเอดส์ในปัจจุบันคือ การให้ยายับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสเอดส์
71
78.90
19
21.10
0.79
0.41
10.การตรวจเลือดก่อนการสมรสเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ได้
87
96.70
3
3.30
0.97
0.18
11.การป้องกันตนเอง เช่น งดการใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่นหรือการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์จะช่วยลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับและการแพร่เชื้อเอดส์
88
97.80
2
2.20
0.98
0.15
103
ใช่
ไม่ใช่
ข้อความ
จำนวน(คน)
ร้อยละ
จำนวน(คน)
ร้อยละ x
SD.
12.การป้องกันตนเองจากโรคเอดส์วิธีหนึ่ง คือการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์
88
97.80
2
2.20
0.98
0.15
13. การร่วมเพศโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
89
98.90
1
1.10
0.99
0.11
14. ประโยชน์ของการใช้ถุงยางอนามัย คือ
ใช้เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์
86
95.60
4
4.40
0.96
0.21
15. การใช้ถุงยางอนามัยที่เสื่อมคุณภาพสามารถป้องกันโรคเอดส์ได้อย่างดี
87
96.70
3
3.30
0.97
0.18
104
ตารางผนวกที่ 21 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อมูลการรับรู้ต่อโรคเอดส์
ข้อความ
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ไม่เห็นด้วย
ไม่
แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง x
SD.
1.
11
13
3
14
(
49
(
โรคเอดส์เป็นโรคติดต่อที่ไม่ร้ายแรงต่อ
ชีวิตมนุษย์
(12.20%)
(14.40%)
(3.30%) 15.60%) 54.40%)
3.86
1.50
2.
1
5
11
38
ในปัจจุบันไม่มียารักษาโรคเอดส์ได้อย่าง 35
มีประสิทธิภาพ
(1.10%)
(5.60%)
(12.20%)
(42.20%)
(38.90%)
4.12
0.91
3.
การติดเชื้อเอดส์ไม่ก่อให้เกิดโรคแทรก 3
11
3
36
37
ซ้อนได้ง่าย
(3.30%)
(12.20%)
(3.30%)
(40.00%)
(41.10%)
4.03
1.12
4.
โรคแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเอดส์ 5
12
22
33
18 เช่นวัณ
โรคจะไม่ทำให้ ผู้ป่วยเสียชีวิต
(5.60%)
(13.30%)
(24.40%)
(36.70%)
(20.00%)
3.52
1.12
5. ถ้าทราบว่าญาติหรือเพื่อนของท่านติดเชื้อ
เอดส์ ท่านจะมีความรู้สึกไม่อยากเข้าใกล้
เพราะกลัวติดเชื้อเอดส์
4
8
10
52
16
(4.40%)
(8.90%)
(11.10%)
(57.80%)
(17.80%)
3.76
1.00
6. การใส่ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธีต้องใส่
ขณะที่อวัยวะเพศแข็งตัว ค่อยๆ ดึงถุงยาง
อนามัยออกจากซองบรรจุด้วยปลายนิ้วมือ
อย่าใช้เล็บจิกออกมาเพราะเล็บมืออาจทำให้
ถุงยางอนามัยมีรูรั่ว ทำให้ท่านติดเชื้อเอดส์
ได้
10
7
5
45
23
(11.10%)
(7.80%)
(5.60%)
(50.00%)
(25.60%)
3.71
1.25
7. การมีเพศสัมพันธ์กับผู้หญิงที่รู้จักคุ้นเคยดี จะมีความปลอดภัยต่อการติดเชื้อโรคเอดส์
2
17
12
33
26
(2.20%)
(18.90%)
(13.30%)
(36.70%)
(28.90%)
3.71
1.14
8. ยาหม่องที่นำมาใช้ทาอวัยวะเพศเพื่อช่วยหล่อลื่นในการร่วมเพศ สามารถป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ได้
7
5
3
45
30
(7.80%)
(5.60%)
(3.30%)
(50.00%)
(33.30%)
3.96
1.14
9. การใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์สามารถป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ได้
1
8
13
3
32
(1.10%)
(8.90%)
(14.40%)
(40.00%)
(35.60%)
4.00
0.98
10.การหลีกเลี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลแปลกหน้า เป็นวิธีหนึ่งที่ป้องกันการติดเชื้อเอดส์ได้
6
12
2
40
30
(6.70%)
(13.30%)
(2.20%)
(44.40%)
(33.30%)
3.84
1.22
105
ข้อความ
ไม่เห็นด้วย่างยิ่ง
ไม่เห็นด้วย
ไม่
แน่ใจ
เห็นด้วย
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง x
SD.
11. การใช้อุปกรณ์ฉีดยา ได้แก่ เข็ม และ กระบอกฉีด ที่ไม่ได้ทำความสะอาดร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์จะไม่ทำให้ท่านติดเชื้อเอดส์ด้วย
4
9
3
31
43
(4.40%)
(10.00%)
(3.30%)
(34.40%)
(47.80%)
4.11
1.15
12.
11
5
3
50
การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในกลุ่มผู้เสพยา 21
เสพติดไม่ทำให้ท่านมีโอกาสติดเชื้อเอดส์ได้
(12.20%)
(5.60%)
(3.30%)
(55.60%)
(23.30%)
3.72
1.24
13.
การเตรียมถุงยางอนามัยเพื่อใช้ในการมี 2
6
11
51
20
เพศสัมพันธ์กับผู้หญิงใดๆ ก็ตาม ทำให้ท่าน
ไม่ต้องกังวลต่อการติดเชื้อเอดส์
(2.20%)
(6.70%)
(12.20%)
(56.70%)
(22.20%)
3.90
0.90
14. การเลือกใช้ถุงยางอนามัยที่มีคุณภาพ
จะช่วยป้องกันการติดเชื้อเอดส์ได้
1
(1.10%)
5
(5.60%)
4
(4.40%)
52
(57.80%)
28
(31.10%)
4.12
0.82
15. การใช้อุปกรณ์ฉีดยาได้แก่ เข็ม และ
กระบอกฉีดของตนเองไม่ปะปนกับบุคคลอื่น
ในการเสพทุกครั้งทำให้ท่านไม่ต้องกังวลต่อ
การติดเชื้อเอดส์
5
(5.60%)
8
(8.90%)
8
(8.90%)
39
(43.30%)
30
(33.30%)
3.90
1.13
16. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านตั้งใจจะ
งดหรือลดการมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
6
(6.70%)
11
(12.20%)
19
(21.10%)
40
(44.40%)
14
(15.60%)
3.50
1.10
17. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านจะเตรียม
ถุงยางอนามัยติดตัวเสมอ เพื่อความสะดวก
ที่จะใช้หากต้องการมีเพศสัมพันธ์กับบุคคล
อื่น
6
(6.70%)
12
(13.30%)
15
(16.70%)
39
(43.30%)
18
(20.00%)
3.57
1.15
18. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านตั้งใจจะ
ปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลที่ไม่ยิน
ยอมให้ใช้ถุงยางอนามัย
7
(7.80%)
9
(10.00%)
25
(27.80%)
34
(37.80%)
15
(16.70%)
3.46
1.12
19. ภายใน 2 เดือนข้างหน้าท่านจะใช้
อุปกรณ์ฉีดยาได้แก่ เข็มฉีดยาและกระบอก
ฉีดยาเฉพาะของตนเท่านั้นในการเสพยาไม่
ปะปนกับบุคคลอื่น
3
(3.30%)
7
(7.80%)
6
(6.70%)
52
(57.80%)
22
(24.40%)
3.92
0.96
20. ภายใน 2 เดือนข้างหน้า ท่านจะทำความสะอาดเข็มฉีดยาและกระบอกฉีดยาของตนอย่างถูกวิธีทุกครั้งก่อนนำมาใช้ในครั้งต่อไป
2
(2.20%)
2
(2.20%)
2
(2.20%)
51
(56.70%)
33(36.70%)
4.23
0.79
106
ตารางผนวกที่ 22 แสดงตัวแปร รหัสตัวแปร สเกลการวัดและค่าตัวแปร
ลำดับ
ตัวแปร
ระดับการวัด
การวัดและการให้ค่าตัวแปร
1
อายุ
Nominal Scale
- อายุ 15 – 24 ปี = 1
- อายุ 25 – 29 ปี = 2
- อายุ 30 – 34 ปี = 3
- อายุ 35 – 39 ปี = 4
- อายุ 40 ปีขึ้นไป = 5
2
ระดับการศึกษา สูงสุด
Nominal Scale
- ไม่เคยได้รับการศึกษา = 1
- ระดับประถมศึกษา = 2
- ระดับมัธยมศึกษา = 3
- ระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า = 4
- ระดับปริญญาตรี หรือสูงกว่า = 5
3
สถานภาพสมรส
Nominal Scale
- โสด = 1
- สมรส = 2
- หย่า / หม้าย = 3
- แยกกันอยู่ = 4
4
ประสบการณ์ทางเพศ
Nominal Scale
- ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ = 1
- เคยมีเพศสัมพันธ์ = 2
5
อาชีพ
Nominal Scale
- นักเรียน / นักศึกษา = 1
- ว่างงาน = 2
- รับจ้าง = 3
- ค้าขายหรือมีกิจการของตนเอง = 4
- รับราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ = 5
- พนักงานบริษัทเอกชน = 6
- อื่นๆ (โปรดระบุ ……………) = 7
6
รายได้ต่อเดือน
Nominal Scale
- ไม่เกิน 5000 บาท = 1
- 5,001 – 10,000 บาท = 2
- 10,001 – 15,000 บาท = 3
- 15,001 บาทขึ้นไป = 4
107
ภาคผนวก ง
เอกสารรับรองโครงการวิจัยในคน
108
เอกสารเลขที่ พ.129
เอกสารรับรองโครงการวิจัยในคน
คณะกรรมการพิจารณาและควบคุมการวิจัยในคนของกรุงเทพมหานคร
ขอรับรองว่า
โครงการ : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์
ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด กรุงเทพมหานคร
โครงการเลขที่ : 0057
ชื่อหัวหน้าโครงการ : นางวันเพ็ญ ปริยพฤทธ์
สังกัด : สำนักการอนามัย กรุงเทพมหานคร
โครงการได้มาตรฐานทางวิชาการ ไม่ขัดต่อหลักจริยธรรมสากลและเป็นไปตามคำประกาศเฮลศิงกิ
จึงเห็นสมควรให้ดำเนินการวิจัยในขอบข่ายของโครงการที่เสนอได้ ณ วันที่ 9 เดือน กรกฎาคม
พ.ศ. 2546
ลงชื่อ …………………………
(นายอุดมศักดิ์ สังฆ์คุ้ม)
รองปลัดกรุงเทพมหานคร
ประธานคณะกรรมการพิจารณาและควบคุมการวิจัยในคน
ของกรุงเทพมหานคร
109
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ สกุล นางวันเพ็ญ ปริยพฤทธ์
วันเดือนปีเกิด 17 กันยายน 2507
ประวัติการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาการพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2529
วิทยาลัยพยาบาลนราธิวาส
วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิชาเอก สุขศึกษา) พ.ศ.2542
สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการทำงาน พยาบาลงานผู้ป่วยใน พ.ศ.2530-2533
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
สำนักแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
พยาบาลงานผู้ป่วยใน พ.ศ.2534-2540
ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
สำนักการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
พยาบาลงานคลินิกยาเสพติด พ.ศ.2541-ปัจจุบัน
ศูนย์บริการสาธารณสุข 23 (สี่พระยา)
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด (ตอนที่ 1)
ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคเอดส์ของผู้ติดยาเสพติดในคลินิกยาเสพติด (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น