วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว (ตอนที่ 2)



4. การตรวจสอบความเที่ยง หรือระดับความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability) หลัง
จากคัดเลือกข้อคำถามที่ได้จากการตรวจสอบอำนาจจำแนกแล้ว จึงนำข้อคำถามในแบบวัด ดังกล่าวไปตรวจสอบความเที่ยง เพื่อวัดความสอดคล้องภายในด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient) ของครอนบาคช์ (Cornbach) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ เพื่อทำการคัดข้อที่มีความเที่ยงต่ำออก แบบสอบถามมีระดับความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8636
5. ทำการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของเครื่องมือขั้นสุดท้าย ภายใต้ข้อค้นพบที่ได้จาก
การตรวจสอบทั้งหมดที่กล่าวมาแล้ว ทั้งด้านการใช้สำนวนภาษาในข้อคำถามให้เข้าใจง่าย และเข้าใจตรงกัน มีความสมบูรณ์ของเนื้อหาที่ต้องการทราบ มีความสามารถในการจำแนก และมีความเที่ยง ตลอดทั้งมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ภายใต้เงื่อนไขด้านเวลา และสภาพแวดล้อม หลังจากนั้นจึงนำแบบสอบถามไปทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มประชากร
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้ดำเนินการวิจัยจะทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการแจกแบบสอบถามให้กลุ่มประชากรที่ศึกษา ซึ่งจะดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
1. ขอหนังสือแนะนำตัวพร้อมแจ้งวัตถุประสงค์ของการวิจัยจากคณบดี บัณฑิต
วิทยาลัย เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการประสานงานกับเจ้าหน้าที่บุคคล เพื่อขอความร่วมมือและอำนวยความสะดวกต่อการนัดหมาย และทำการสอบถามลูกจ้างประจำในช่วงระยะเวลาหลังจากเสร็จสิ้นการทำงานแล้ว
2. ผู้วิจัยประสานงานกับเจ้าหน้าที่บุคคล เพื่อศึกษาข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลตามวัน และเวลาที่ได้นัดหมายกลุ่มประชากรไว้ ซึ่งผู้วิจัยจะ
61
ใช้เวลาเก็บรวบรวมข้อมูลจากลูกจ้างประจำ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี รวมเป็นเวลาทั้งสิ้น 2 เดือน
4. ในระหว่างการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม ผู้วิจัยทำการจดบันทึกปัญหา วิธีการแก้
ปัญหา บรรยากาศ และข้อสังเกตอื่น ๆ ไว้เพื่อนำมาศึกษา ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการแก้ปัญหา การบริหารงานภาคสนาม และการอภิปรายผลการวิจัย
5. รวบรวมและจัดระเบียบข้อมูลที่ได้จากการสอบถาม เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
และนำเสนอผลการวิจัยต่อไป
4. การจัดทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มประชากรมาวิเคราะห์ โดยจำแนกกลุ่ม ประชากร 2 กลุ่มและศึกษาเปรียบเทียบ คือ ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ซึ่งตอบโดยลูกจ้างประจำ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จะใช้วิธีการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณ โดยการแปลงเป็นค่าคะแนน หรือกำหนดรหัสคำตอบเป็นตัวเลข แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามระเบียบวิธีทางสถิติด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1. ใช้สถิติเชิงพรรณนา สำหรับวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวกับกลุ่มประชากรที่ศึกษา
และข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานการณ์การเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อันได้แก่
1.1 ค่าสถิติร้อยละ (Percentage) ใช้สำหรับอธิบายข้อมูลทั่วไปของกลุ่มประชากร และ
สถานการณ์การเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
1.2 ค่าเฉลี่ย (mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
การนำคะแนนดังกล่าวไปอธิบายปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเขาเป็นสมาชิกกองทุนฯ โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ (วิเชียร เกตุสิงห์. 2538 : 9)
พิสัย = คะแนนสูง – คะแนนต่ำ
ช่วงคะแนนเฉลี่ย = (2 - 0) / 3
= 0.66
คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.00 - 0.66 แปลความว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับต่ำ
62
คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.67 - 1.33 แปลความว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง
คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.34 - 2.00 แปลความว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูง
2. การทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับอิทธิพลของปัจจัยต่าง ๆ ที่จัดเป็นตัวแปรต้น หรือ
ตัวแปรอิสระที่ส่งผลต่อตัวแปรตาม โดยการวิเคราะห์หาค่า t-test เปรียบเทียบค่า ( Χ ) 2 กลุ่มอิสระระหว่างการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ กับตัวแปร (John T. Roscoe. 1975 : 217-223)
สูตร t-test คือ t = M1 - M2
SM1 - M2
สำหรับค่านัยสำคัญทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ กำหนดไว้ที่ระดับ 0.05
การทดสอบสมมติฐาน
1. ลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับ
ลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัว
2. ลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์
ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ
3. ลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของ
ส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความ เชื่อมั่นในกองทุนฯ
4. ลูกจ้างประจำที่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำ
ของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุน ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์สมมติฐานที่ 1-4 ใช้ ค่า t-test
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของมหาวิทยาลัยฯ การวิจัยนี้เก็บข้อมูลจากประชากร จำนวนทั้งสิ้น 104 คน ผลการวิเคราะห์พบว่า
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป
ตารางที่ 4.1 การเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
การเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
กลุ่มที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
60
57.7
กลุ่มที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
44
42.3
รวม
104
100.0
จากตารางที่ 4.1 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เข้าเป็นสมาชิก กองทุนฯ ร้อยละ 57.7 และไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 42.3
ตารางที่ 4.2 เพศจำแนกตามกลุ่มที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
เพศ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
1) ชาย
2) หญิง
41
19
35
9
76
28
39.4
18.3
33.7
8.7
73.1
26.9
รวม
60
44
104
57.7
42.3
100.0
64
จากตารางที่ 4.2 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 73.1 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 26.9
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 39.4 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 18.3 และกลุ่มประชากรที่ศึกษาที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 33.7 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 8.7
ตารางที่ 4.3 อายุจำแนกตามกลุ่มที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
อายุ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
1) ไม่เกิน 30 ปี
2) 31 – 40 ปี
3) 41 – 50 ปี
4) สูงกว่า 50 ปี
2
15
28
15
1
10
27
6
3
25
55
21
1.9
14.4
26.9
14.4
1.0
9.6
26.0
5.8
2.9
24.0
52.9
20.2
รวม
60
44
104
57.7
42.3
100.0
จากตารางที่ 4.3 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี ร้อยละ 52.9 และมีอายุอยู่ระหว่าง 31 - 40 ปี ร้อยละ 24.0 มีอายุสูงกว่า 50 ปี ร้อยละ 20.2 มีอายุไม่เกิน 30 ปี ร้อยละ 2.9 ตามลำดับ
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี ร้อยละ 26.9 และมีอายุอยู่ระหว่าง 31 - 40 ปี / สูงกว่า 50 ปี ร้อยละ 14.4 มีอายุไม่เกิน 30 ปี ร้อยละ 1.9 ตามลำดับ และกลุ่มประชากรที่ศึกษาที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี ร้อยละ 26.0 และมีอายุอยู่ระหว่าง 31 - 40 ปี ร้อยละ 9.6 มีอายุสูงกว่า 50 ปี ร้อยละ 5.8 มีอายุไม่เกิน 30 ปี ร้อยละ 1.0 ตามลำดับ
65
ตารางที่ 4.4 วุฒิการศึกษาจำแนกตามกลุ่มที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
วุฒิการศึกษา
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
1) ประถมศึกษา
2) มัธยมศึกษาตอนต้น
3.1) มัธยมศึกษาตอนปลาย
3.2) ปวช.
4.1) ปวส.
4.2) อนุปริญญา
5) ปริญญาตรี
6) สูงกว่าปริญญาตรี
25
18
7
2
2
2
4
-
25
9
5
2
-
-
3
-
50
27
12
4
2
2
7
-
24.0
17.3
6.7
1.9
1.9
1.9
3.9
-
24.0
8.7
4.8
1.9
-
-
2.9
-
48.0
26.0
11.5
3.8
1.9
1.9
6.8
-
รวม
60
44
104
57.6
42.3
100.0
จากตารางที่ 4.4 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 48.0 และจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 26.0 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 11.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 6.8 จบการศึกษาระดับ ปวช. ร้อยละ 3.8 จบการศึกษาระดับ ปวส. / อนุปริญญา ร้อยละ 1.9 ตามลำดับ
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 24.0 และจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 17.3 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 6.7 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 3.9 จบการศึกษาระดับ ปวส. อนุปริญญา และ ปวช. ร้อยละ 1.9 ตามลำดับ และกลุ่มประชากรที่ศึกษาที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 24.0 และจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 8.7 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 4.8 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 2.9 จบการศึกษาระดับ ปวช. ร้อยละ 1.9 ตามลำดับ
66
ตารางที่ 4.5 เงินเดือนและรายได้พิเศษจำแนกตามกลุ่มที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิก กองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
เงินเดือนและรายได้พิเศษ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
1) ไม่เกิน 5,000 บาท
2) 5,001 – 10,000 บาท
3) มากกว่า 10,000 บาท
1
41
18
2
24
18
3
65
36
1.0
39.4
17.3
1.9
23.1
17.3
2.9
62.5
34.6
รวม
60
44
104
57.7
42.3
100.0
จากตารางที่ 4.5 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท ร้อยละ 62.5 และมีเงินเดือนและรายได้พิเศษมากกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 34.6 มีเงินเดือนและรายได้พิเศษไม่เกิน 5,000 บาท ร้อยละ 2.9 ตามลำดับ
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท ร้อยละ 39.4 และมีเงินเดือนและรายได้พิเศษมากกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 17.3 มีเงินเดือนและรายได้พิเศษไม่เกิน 5,000 บาท ร้อยละ 1.0 ตามลำดับ และกลุ่มประชากรที่ศึกษาที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท ร้อยละ 23.1 และมีเงินเดือนและรายได้พิเศษมากกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 17.3 มีเงินเดือนและรายได้พิเศษไม่เกิน 5,000 บาท ร้อยละ 1.9 ตามลำดับ
67
ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของมหาวิทยาลัยฯ
ตารางที่ 4.6 การมีความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำจำแนกตามกลุ่มที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ท่านทราบข้อมูลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว (กสจ.) จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและเอกสารประชาสัมพันธ์
1.57
0.83
สูง
0.97
1.01
ปานกลาง
การอบรมเกี่ยวกับ กสจ. ทำให้ท่านตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิก กองทุนฯ (กรณีที่ท่านเคยเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับ กสจ.)
0.91
0.78
ปานกลาง
0.80
0.82
ปานกลาง
ท่านมีภาระในการใช้จ่าย นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายประจำ
1.48
0.65
สูง
1.69
0.53
สูง
การจ่ายเงินเข้า กสจ. ร้อยละ 3 ของค่าจ้างไม่กระทบต่อรายจ่าย ประจำของท่าน
1.58
0.79
สูง
0.79
0.91
ปานกลาง
ท่านพอใจในอัตราเรียกเก็บ เงินสะสมของ กสจ.
1.90
0.35
สูง
1.18
0.87
ปานกลาง
ท่านมีความเข้าใจใน กฎระเบียบ ข้อมูลเกี่ยวกับ กสจ.
0.95
0.65
ปานกลาง
0.68
0.73
ปานกลาง
68
ตารางที่ 4.6 การมีความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำจำแนกตามกลุ่มที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ท่านมีความเข้าใจในการจ่ายเงินสะสมเข้า กสจ.
1.27
0.66
ปานกลาง
0.65
0.69
ต่ำ
ท่านมีความเข้าใจในสิทธิและผลประโยชน์ของ กสจ.
1.08
0.70
ปานกลาง
0.76
0.74
ปานกลาง
ท่านพอใจในอัตราเงินสมทบร้อยละ 3 ของค่าจ้างที่รัฐจ่ายเข้า กสจ.
1.62
0.76
สูง
1.29
0.87
ปานกลาง
การมีความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำ
1.32
0.39
ปานกลาง
0.96
0.47
ปานกลาง
จากตารางที่ 4.6 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 100.0 มีความพร้อมส่วนตัวอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.32 และ S.D. = 0.39 ) และกลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 88.6 มีความพร้อมส่วนตัวอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 0.96 และ S.D. = 0.47 )
อย่างไรก็ตามพบว่า ในเรื่องการทราบข้อมูลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและเอกสารประชาสัมพันธ์ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ทราบข้อมูลอยู่ในระดับสูง ( x = 1.57 และ S.D. = 0.83 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ทราบข้อมูลอยู่ในระดับ ปานกลาง ( x = 0.97 และ S.D. = 1.01 )
เรื่องการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จากการอบรมเกี่ยวกับกองทุนฯ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความเข้าใจอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 0.72 และ S.D. = 0.90 )
69
แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ทราบข้อมูลอยู่ในระดับต่ำ ( x = 0.45 และ S.D. = 0.67 )
เรื่องการจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนฯ ร้อยละ 3 ของค่าจ้างเข้ากองทุนฯ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จ่ายเงินสะสมโดยไม่กระทบต่อรายจ่ายประจำอยู่ในระดับสูง ( x = 1.57 และ S.D. = 0.83 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จ่ายเงินสะสมโดยไม่กระทบต่อรายจ่ายประจำอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 0.97 และ S.D. = 1.01 )
เรื่องความพอใจในอัตราเรียกเก็บเงินสะสมของกองทุนฯ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความพอใจอยู่ในระดับสูง ( x = 1.90 และ S.D. = 0.35 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.18 และ S.D. = 0.87 )
เรื่องความเข้าใจในการจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนฯ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุน มีความเข้าใจอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.27 และ S.D. = 0.66 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความเข้าใจอยู่ในระดับต่ำ ( x = 0.65 และ S.D. = 0.69 )
และเรื่องความพอใจในอัตราเงินสมทบร้อยละ 3 ของค่าจ้างที่รัฐจ่ายเข้ากองทุนฯ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความพอใจอยู่ในระดับสูง ( x = 1.62 และ S.D. = 0.76 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.29 และ S.D. = 0.87 )
70
ตารางที่ 4.7 ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
สมาชิก กสจ. สามารถนำ เงินสะสมเข้ากองทุนมาหักเป็น ค่าลดหย่อน เพื่อคำนวณภาษี ประจำปีได้ไม่เกิน 10,000 บาท และส่วนที่เกิน 10,000 บาท จะ ได้รับการยกเว้นไม่ต้องนำไปคำนวณภาษี แต่ต้องไม่เกินปีละ 290,000 บาท
1.41
0.65
สูง
1.03
0.58
ปานกลาง
เมื่อออกจากราชการ สมาชิก กสจ. จะได้รับเงินบำเหน็จ = (เงินเดือนสุดท้าย * จำนวนเดือนที่
ทำงาน) / 12
1.45
0.63
สูง
1.09
0.68
ปานกลาง
การเป็นสมาชิก กสจ. สามารถเพิ่มรายได้ ได้มากกว่าการออมทรัพย์ด้วยวิธีการอื่น (เงินฝากธนาคาร ประกันชีวิต เล่นแชร์ ฯลฯ)
1.02
0.81
ปานกลาง
0.97
0.59
ปานกลาง
สมาชิก กสจ. สามารถกู้เงินจากกองทุนฯ ในส่วนของ “เงินสะสม เงินสมทบ และ ผลประโยชน์ตอบแทน” เพื่อที่อยู่อาศัยได้
1.29
0.73
ปานกลาง
1.24
0.66
ปานกลาง
71
ตารางที่ 4.7 ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ความคาดหวังใน ผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ
1.29
0.38
ปานกลาง
1.06
0.49
ปานกลาง
จากตารางที่ 4.7 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 96.7 มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.29 และ S.D. = 0.38 ) และกลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิก กองทุนฯ ร้อยละ 77.3 มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.06 และ S.D. = 0.49 )
อย่างไรก็ตามพบว่า ในเรื่องสมาชิกสามารถนำเงินสะสมมาหักเป็นค่าลดหย่อน เพื่อคำนวณภาษีประจำปีได้ไม่เกิน 10,000 บาท และส่วนที่เกิน 10,000 บาท จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องนำไปคำนวณภาษี แต่ต้องไม่เกินปีละ 290,000 บาท กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุน คาดหวังในค่าลดหย่อนอยู่ในระดับสูง ( x = 1.41 และ S.D. = 0.65 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ คาดหวังในค่าลดหย่อนอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.03 และ S.D. = 0.58 )
และเรื่องสมาชิกกองทุนฯ จะได้รับเงินบำเหน็จเมื่อออกจากราชการ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ คาดหวังในค่าลดหย่อนอยู่ในระดับสูง ( x = 1.45 และ S.D. = 0.63 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ คาดหวังในค่าลดหย่อนอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.09 และ S.D. = 0.68 )
72
ตารางที่ 4.8 ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิก
กองทุนฯ
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ท่านมีความเชื่อมั่นในความมั่นคงของ กสจ.
1.85
0.36
สูง
1.21
0.73
ปานกลาง
การนำเงินจาก กสจ. ไปลงทุนในพันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือ พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นส่วนใหญ่ ทำให้เกิด ผลประโยชน์มากขึ้น
1.15
0.69
ปานกลาง
1.03
0.67
ปานกลาง
การลงทุนในสินทรัพย์อื่นในอัตราร้อยละ 40 เช่น ตั๋วสัญญา ใช้เงินหน่วยลงทุน และหลักทรัพย์ ถือเป็นการลงทุนที่ไม่เสี่ยงจนเกินไป
0.95
0.57
ปานกลาง
1.03
0.39
ปานกลาง
การบริหาร กสจ. ในรูปของคณะกรรมการที่มาจากผู้แทนที่นายจ้างแต่งตั้งร่วมกับผู้แทน ลูกจ้างประจำที่มาจากการ เลือกตั้งเป็นรูปแบบที่เหมาะสม
1.55
0.60
สูง
1.33
0.54
ปานกลาง
ท่านเชื่อมั่นว่าเจ้าหน้าที่ที่ ได้รับการแต่งตั้งและเลือกตั้งมาทำหน้าที่ผู้บริหาร มีความสามารถในการบริหาร กสจ.
1.39
0.62
สูง
1.24
0.50
ปานกลาง
73
ตารางที่ 4.8 ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิก
กองทุนฯ (ต่อ)
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
กิจการของ กสจ. สามารถดำเนินไปจนกระทั่งท่านเกษียณอายุราชการ
1.71
0.53
สูง
1.39
0.50
สูง
การที่กระทรวงการคลังเข้ามามีบทบาทเป็นผู้กำกับดูแล กสจ. ทำให้กองทุนฯ เกิดความมั่นคง
1.80
0.44
สูง
1.55
0.51
ปานกลาง
ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ
1.50
0.26
สูง
1.17
0.44
ปานกลาง
จากตารางที่ 4.8 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 100.0 มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ อยู่ในระดับสูง ( x = 1.50 และ S.D. = 0.26 ) และกลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 100.0 มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.17 และ S.D. = 0.44 )
อย่างไรก็ตามพบว่า ในเรื่องความเชื่อมั่นในความมั่นคงของกองทุนฯ กลุ่มประชากรที่ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความเชื่อมั่นอยู่ในระดับสูง ( x = 1.85 และ S.D. = 0.36 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความเชื่อมั่นอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.21 และ S.D. = 0.73 )
เรื่องการบริหารกองทุนฯ ที่คณะกรรมการมาจากผู้แทนที่นายจ้างแต่งตั้งร่วมกับผู้แทน ลูกจ้างประจำที่มาจากการเลือกตั้งเป็นรูปแบบที่เหมาะสม กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุน มีความคิดเห็นว่ารูปแบบการบริหารกองทุนฯ เหมาะสมอยู่ในระดับสูง ( x = 1.55 และ S.D. = 0.60 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความคิดเห็นว่ารูปแบบการบริหารกองทุน เหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.33 และ S.D. = 0.54 )
74
และเรื่องความสามารถของผู้บริหารกองทุนฯ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความเชื่อมั่นอยู่ในระดับสูง ( x = 1.39 และ S.D. = 0.62 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความเชื่อมั่นอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.24 และ S.D. = 0.50 )
ตารางที่ 4.9 การรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ส่งเสริมให้ท่านสมัครเข้าเป็นสมาชิก กสจ.
1.19
0.88
ปานกลาง
1.38
0.70
สูง
มจธ. มีบริการด้านข่าวสารและประชาสัมพันธ์เรื่อง กสจ. แก่ท่านอย่างสม่ำเสมอ
0.95
0.87
ปานกลาง
1.00
0.69
ปานกลาง
การประชาสัมพันธ์เรื่องกฎ ระเบียบ สิทธิประโยชน์ และการบริหาร กสจ. ของ มจธ. ละเอียด ชัดเจนเพียงพอ
0.98
0.81
ปานกลาง
0.91
0.77
ปานกลาง
มจธ. มีการผลิตสื่อเพื่อ เผยแพร่ข้อมูล กสจ. ให้ท่าน ได้รับทราบ
0.90
0.88
ปานกลาง
1.00
0.70
ปานกลาง
ผู้บริหาร มจธ. สนับสนุนให้ท่านได้รับการอบรมเกี่ยวกับ กสจ.
0.85
0.83
ปานกลาง
0.67
0.54
ปานกลาง
75
ตารางที่ 4.9 การรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นสมาชิก
ข้อมูล
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ค่าเฉลีย
( x )
S.D.
ระดับ
ผู้บริหาร มจธ. สนับสนุน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมของ กสจ. ทุกด้าน
0.86
0.75
ปานกลาง
0.76
0.56
ปานกลาง
ผู้บริหาร มจธ. สนับสนุนบุคลากรในการให้บริการเกี่ยวกับ กสจ. แก่ท่าน
1.15
0.78
ปานกลาง
0.91
0.63
ปานกลาง
ท่านพร้อมที่จะตอบสนองนโยบายส่งเสริม กสจ. ของ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
1.86
0.35
สูง
1.20
0.83
ปานกลาง
การรับทราบนโยบาย ส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ
1.10
0.55
ปานกลาง
0.95
0.45
ปานกลาง
จากตารางที่ 4.9 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 100.0 รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ อยู่ในระดับ ปานกลาง ( x = 1.10 และ S.D. = 0.55 ) และกลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 100.0 รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ อยู่ในระดับ ปานกลาง ( x = 0.95 และ S.D. = 0.45 )
อย่างไรก็ตามพบว่า ในเรื่องการรับทราบนโยบายส่งเสริมให้สมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุน ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ รับทราบนโยบายอยู่ในระดับ
76
ปานกลาง ( x = 1.19 และ S.D. = 0.88 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ รับทราบนโยบายอยู่ในระดับสูง ( x = 1.38 และ S.D. = 0.70 )
และเรื่องความพร้อมที่จะตอบสนองนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความพร้อมที่จะตอบสนองนโยบายอยู่ในระดับสูง ( x = 1.86 และ S.D. = 0.35 ) แต่กลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนมีความพร้อมที่จะตอบสนองนโยบายอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.20 และ S.D. = 0.83 )
ผู้วิจัยได้กำหนดข้อคำถามให้เป็นคำถามแบบปลายเปิด เพื่อสอบถามกลุ่มประชากรจำนวนทั้งสิ้น 104 คน เกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการปรับปรุงการบริหารและการ ประชาสัมพันธ์กองทุนฯ ซึ่งสามารถสรุปรายละเอียดข้อมูลและข้อเสนอแนะทั้งหมดได้ดังนี้
ข้อเสนอแนะจากแบบสอบถาม
ตารางที่ 4.10 ความคิดเห็นที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ความคิดเห็นที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
1. จะเก็บออมไว้ยามเกษียณอายุ หรือ ลาออก ต้องการมีเงินก้อน เป็นหลักประกัน ไว้เป็นค่าใช้จ่าย เป็นเงินสะสมที่ดี มีเงินออม มีทุนไว้ใช้ส่วนตัว
2. เห็นชอบ เป็นสิ่งที่ดี ตอบสนองดีมาก
3. ทราบข้อมูลน้อย เนื่องจากมีการประชาสัมพันธ์น้อยมาก
4. การเข้าเป็นสมาชิกในอนาคตข้างหน้าเกิดความมั่นคงดี
5. การเข้าเป็นสมาชิกในภายหน้าจะได้ผลแค่ไหน เพราะเป็นเรื่องใหม่
14
5
1
1
1
1
3
1
14
6
4
2
1
35.9
12.8
2.6
2.6
2.6
2.6
7.7
2.6
35.9
15.4
10.3
5.2
2.6
77
ตารางที่ 4.10 ความคิดเห็นที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ความคิดเห็นที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
6. เข้าใจในระเบียบของกองทุนฯ
7. เข้าใจน้อยมาก แต่ต้องการรู้มากกว่านี้
8. ทำตามสิทธิที่พึงกระทำ
9. เพื่อนร่วมงาน
10. กองทุนจ่ายค่าตอบแทนดี แต่ถ้าหักเงินสะสมแล้ว จะเกิดผลกระทบ เพราะรายได้น้อย ค่าใช้จ่ายมาก กลัวไม่พอส่ง
11. ไม่ทราบข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ
12. ผลประโยชน์ตอบแทนที่จะได้รับ
13. ไม่สนใจจะสมัคร
14. ต้องการเป็นสมาชิก แต่ยังไม่ได้เข้าเป็นสมาชิก
1
1
1
3
2
1
1
1
1
1
1
1
3
2
1
1
1
2.6
2.6
2.6
2.6
7.7
5.1
2.6
2.6
2.6
2.6
2.6
2.6
2.6
7.7
5.1
2.6
2.6
2.6
รวม
26
13
39
66.9
33.5
100.0
จากตารางที่ 4.10 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่จะเก็บออมไว้ยามเกษียณอายุ หรือลาออก ต้องการมีเงินก้อน เป็นหลักประกัน เพื่อประโยชน์ในอนาคต จะได้ไม่เดือดร้อนและลำบาก ไว้เป็นค่าใช้จ่าย เป็นเงินสะสมที่ดี มีเงินออม มีทุนไว้ใช้สวนตัว ร้อยละ 35.9 และเห็นชอบ เป็นสิ่งที่ดี ตอบสนองดีมาก ร้อยละ 15.4
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่จะเก็บออมไว้ยามเกษียณอายุ หรือลาออก ต้องการมีเงินก้อน เป็นหลักประกัน เพื่อประโยชน์ในอนาคต จะได้ไม่เดือดร้อนและลำบาก ไว้เป็นค่าใช้จ่าย เป็นเงินสะสมที่ดี มีเงินออม มีทุนไว้ใช้ส่วนตัว ร้อยละ 35.9 และเห็นชอบ เป็นสิ่งที่ดี ตอบสนองดีมาก ร้อยละ 12.8 ทราบข้อมูลน้อย เนื่องจากมีการประชาสัมพันธ์น้อยมาก / การเข้าเป็นสมาชิกในอนาคตข้างหน้าเกิดความมั่นคงดี / การเข้าเป็นสมาชิกใน
78
ภายหน้าจะได้ผลแค่ไหน เพราะเป็นเรื่องใหม่ / เข้าใจในระเบียบของกองทุน / เข้าใจน้อยมาก แต่ต้องการรู้มากกว่านี้ / ทำตามสิทธิที่พึงกระทำ และเพื่อนร่วมงาน ร้อยละ 2.6
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ทราบข้อมูลน้อย เนื่องจาก มีการประชาสัมพันธ์น้อยมาก และกองทุนฯ จ่ายค่าตอบแทนดี แต่ถ้าหักเงินสะสมแล้ว จะเกิด ผลกระทบ เพราะรายได้น้อย ค่าใช้จ่ายมาก กลัวไม่พอส่ง ร้อยละ 7.7 และไม่ทราบข้อมูล รายละเอียดต่าง ๆ ร้อยละ 5.1 เห็นชอบ เป็นสิ่งที่ดี ตอบสนองดีมาก / การเข้าเป็นสมาชิกในอนาคตข้างหน้าเกิดความมั่นคงดี / ผลประโยชน์ตอบแทนที่จะได้รับ / ไม่สนใจจะสมัคร และต้องการเป็นสมาชิก แต่ยังไม่ได้เข้าเป็นสมาชิก ร้อยละ 2.6
ตารางที่ 4.11 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
1. ออมเงินในอนาคต มีเงินสะสมใน ภายภาคหน้า มองการณ์ไกล ได้ ออมทรัพย์ ต้องการมีเงินเก็บก้อนหนึ่งไว้ยามเกษียณ
2. ไม่แน่ใจว่าจะสามารถเก็บเงินออมได้หรือไม่ จึงเข้าเป็นสมาชิก จะได้มีเงินออมเพื่อวันข้างหน้ายามชราที่ทำงานไม่ไหว ไว้ใช้ยามเจ็บไข้
3. ได้เงินเพิ่ม เงินสมทบมาก ๆ ออก ค่าใช้จ่ายคนละครึ่ง
4. ต้องการได้เงินสมทบ
5. พร้อมที่จะเป็นสมาชิกกองทุนฯ ด้านการเงินดีอยู่แล้ว ไม่กระทบต่อ เงินเดือน
8
3
3
2
1
8
3
3
1
2
23.5
8.8
8.8
5.9
2.9
23.5
8.8
8.8
2.9
5.9
79
ตารางที่ 4.11 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
6. ต้องการเข้า เพราะเป็นผลดีสำหรับครอบครัว
7. มีความมั่นคง หน่วยงานราชการเข้ามาดูแล
8. ถ้าเงินเดือนน้อยแล้วเข้าเป็นสมาชิก จะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายประจำ เพราะมีค่าใช้จ่ายหลายด้าน เช่น ค่าเช่าที่อยู่อาศัย และค่าเล่าเรียนบุตร จะเกิด ผลกระทบต่อรายได้ ค่าใช้จ่ายมาก จึงไม่สามารถเข้าร่วมกองทุนฯ ได้ ต้องส่งเงินสหกรณ์ออมทรัพย์มาก ยังเป็นหนี้กับสหกรณ์ออมทรัพย์อยู่
9. การประชาสัมพันธ์ข้อมูล
10. ข่าวสาร ข้อมูลที่ไม่ค่อยแน่นอน มองภาพไม่เห็น
11. มีสวัสดิการอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสมาชิก
12. การกู้เงินจากกองทุนฯ มีระเบียบมาก ไม่สามารถกู้เงินได้
13. การหักรายได้เข้ากองทุนฯ
14. ขาดความเข้าใจ
15. ความรู้
2
1
1
1
1
3
2
1
1
1
1
1
3
1
4
1
2
1
1
1
1
1
5.9
2.9
2.9
2.9
2.9
8.8
5.9
2.9
2.9
2.9
2.9
2.9
8.8
2.9
11.7
2.9
5.9
2.9
2.9
2.9
2.9
2.9
80
ตารางที่ 4.11 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
16. ไม่ทราบรายละเอียด
1
1
2.9
2.9
รวม
21
13
34
61.6
37.9
100.0
จากตารางที่ 4.11 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่ออมเงินในอนาคต มีเงินสะสมในภายภาคหน้า มองการณ์ไกล ได้ออมทรัพย์ ต้องการมีเงินเก็บก้อนหนึ่งไว้ยามเกษียณ ร้อยละ 23.5 และถ้าเงินเดือนน้อย แล้วเข้าเป็นสมาชิก จะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายประจำ เพราะมี ค่าใช้จ่ายหลายด้าน เช่น ค่าเช่าที่อยู่อาศัย และค่าเล่าเรียนบุตร จะเกิดผลกระทบต่อรายได้ ค่าใช้จ่ายมาก จึงไม่สามารถเข้าร่วมกองทุนฯ ได้ ต้องส่งเงินสหกรณ์ออมทรัพย์มาก ยังเป็นหนี้กับสหกรณ์ออมทรัพย์อยู่ ร้อยละ 11.7
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ออมเงินในอนาคต มี เงินสะสมในภายภาคหน้า มองการณ์ไกล ได้ออมทรัพย์ ต้องการมีเงินเก็บก้อนหนึ่งไว้ยามเกษียณ ร้อยละ 23.5 และไม่แน่ใจว่าจะสามารถเก็บเงินออมได้หรือไม่ จึงเข้าเป็นสมาชิก จะได้มีเงินออม เพื่อวันข้างหน้ายามชราที่ทำงานไม่ไหว ไว้ใช้ยามเจ็บไข้ และได้เงินเพิ่ม เงินสมทบมาก ๆ ออก ค่าใช้จ่ายคนละครึ่ง ร้อยละ 8.8 พร้อมที่จะเป็นสมาชิกกองทุน ด้านการเงินดีอยู่แล้ว ไม่กระทบ ต่อเงินเดือน และต้องการเข้า เพราะเป็นผลดีสำหรับครอบครัว ร้อยละ 5.9 มีความมั่นคง หน่วยงานราชการเข้ามาดูแล / ถ้าเงินเดือนน้อย แล้วเข้าเป็นสมาชิก จะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายประจำ เพราะมีค่าใช้จ่ายหลายด้าน เช่น ค่าเช่าที่อยู่อาศัย และค่าเล่าเรียนบุตร จะเกิดผลกระทบต่อ รายได้ ค่าใช้จ่ายมาก จึงไม่สามารถเข้าร่วมกองทุนฯ ได้ ต้องส่งเงินสหกรณ์ออมทรัพย์มาก ยังเป็นหนี้กับสหกรณ์ออมทรัพย์อยู่ และการประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ร้อยละ 2.9
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ถ้าเงินเดือนน้อยแล้วเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จะส่งผลต่อค่าใช้จ่ายประจำ เพราะมีค่าใช้จ่ายหลายด้าน เช่น ค่าเช่าที่อยู่อาศัย และค่าเล่าเรียนบุตร จะเกิดผลกระทบต่อรายได้ ค่าใช้จ่ายมาก จึงไม่สามารถเข้าร่วมกองทุนฯ ได้ ต้องส่งเงินสหกรณ์ออมทรัพย์มาก ยังเป็นหนี้กับสหกรณ์ออมทรัพย์อยู่ ร้อยละ 8.8 และข่าวสาร ข้อมูลที่ไม่ค่อยแน่นอน มองภาพไม่เห็น ร้อยละ 5.9 ต้องการได้เงินสมทบ / ต้องการเข้าเพราะ
81
เป็นผลดีต่อครอบครัว / มีสวัสดิการอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสมาชิก / การกู้เงินจากกองทุนฯ มีระเบียบมาก ไม่สามารถกู้เงินได้ / การหักรายได้เข้ากองทุน / ขาดความเข้าใจ / ความรู้ และ ไม่ทราบรายละเอียด ร้อยละ 2.9
ตารางที่ 4.12 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
1. ควรรายงานผลการดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง / ควรจัดข้อมูลให้สมาชิกทราบ 3 เดือน ครั้ง / ไม่มี ข่าวสารให้สมาชิกทราบ / ควรเผยแพร่ให้มากกว่านี้ แจ้งทุกเดือน เพื่อเกิดความมั่นใจมากขึ้น / ไม่ค่อยมีหรือมีเอกสารน้อยนาน ๆ จะมีให้ทราบสักครั้ง
2. ควรเผยแพร่ข่าวสารให้มากกว่านี้ อย่างน้อยเดือนละ 2-3 ครั้งต่อคน
3. จัดอบรมสัมมนาเกี่ยวกับกองทุนฯ ให้มาก สมาชิกที่ไม่เข้าใจจะได้เข้าใจความหมาย ความเป็นมาของ กสจ. / ควรจัดอบรมในมหาวิทยาลัย
4. ควรสนับสนุนให้ลูกจ้างประจำได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับ กสจ. มากกว่าที่เป็นอยู่ เพื่อเป็นแรงชักจูงให้ เข้าร่วม / จัดอบรมความรู้ให้ลูกจ้างประจำเข้าใจในรายละเอียด ข้อมูล สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับมากกว่านี้
9
5
1
2
9
1
5
2
27.3
15.2
3.0
6.1
27.3
3.0
15.2
6.1
82
ตารางที่ 4.12 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
5. ออมเพื่อมีเงินมาก ๆ / กสจ. ควรเปิดโอกาสให้สมาชิกออมได้มากกว่า ร้อยละ 3 ตามความเหมาะสมของสมาชิกที่ไม่มีผลกระทบต่อรายจ่ายประจำ
6. ถ้ากองทุนฯ ไม่หักเงินมากเกินไปก็สามารถเป็นสมาชิกได้
7. สมาชิกบางท่านยังไม่ค่อยเข้าใจ กสจ. มาก อ่านเอกสาร หรือข่าวสาร กสจ. แล้วไม่ค่อยเข้าใจ
8. ได้สมัครเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มแรก
9. ตอนแรก ๆ ไม่ได้สมัครไว้ก่อน จึงไม่คิดจะสมัคร เนื่องจากช้าไปและอายุมาก
10. ไม่เข้าเป็นสมาชิก ทำให้ไม่ได้เรียนรู้ ข้อมูล
11. ต้องการให้มีบทบาทมากกว่านี้ ในเรื่องเงินกู้ และการกู้เพื่อที่อยู่อาศัย
12. ระเบียบการกู้มาก
13. ควรได้รับสิทธิเท่ากับข้าราชการในการสะสม หรือค่าตอบแทน
5
2
1
1
1
1
1
1
1
5
1
2
1
1
1
1
1
1
15.2
6.1
3.0
3.0
3.0
3.0
3.0
3.0
3.0
15.2
3.0
6.1
3.0
3.0
3.0
3.0
3.0
3.0
83
ตารางที่ 4.12 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ (ต่อ)
ความถี่ (คน)
ร้อยละ
ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
เป็น
ไม่เป็น
รวม
เป็น
ไม่เป็น
รวม
14. ทุกอย่างขึ้นอยู่ที่ระบบราชการ ตราบใดที่ผู้บริหารยังมองไม่เห็นความสำคัญของลูกจ้าง มันก็ไม่มีอะไรที่จะดีไปกว่านี้
15. เหตุใดยอดยกมาของแต่ละ 6 เดือน จึงไม่ตรงกัน
1
1
1
1
3.0
3.0
3.0
3.0
รวม
27
6
33
66.6
33.3
100.0
จากตารางที่ 4.12 ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่ควรรายงานผลการ
ดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง / ควรจัดเอกสาร ข้อมูล ข่าวสารให้สมาชิกทราบ 3 เดือน ครั้ง / ไม่มีข่าวสารให้สมาชิกทราบ ควรเผยแพร่ให้มากกว่านี้ แจ้งทุกเดือน เพื่อสร้างความมั่นใจมากขึ้น และไม่ค่อยมี หรือมีเอกสารน้อย นาน ๆ จะมีให้ทราบสักครั้ง ร้อยละ 27.3 และจัดอบรมสัมมนาเกี่ยวกับกองทุนฯ ให้มาก สมาชิกที่ไม่เข้าใจจะได้เข้าใจความหมาย ความเป็นมาของ กสจ. / ควรจัดอบรมในมหาวิทยาลัย / ออมเพื่อมีเงินมาก ๆ และ กสจ. ควรเปิดโอกาสให้สมาชิกออมได้ มากกว่าร้อยละ 3 ตามความเหมาะสมของสมาชิกที่ไม่มีผลกระทบต่อรายจ่ายประจำ ร้อยละ 15.2
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ควรรายงานผลการดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง / ควรจัดข้อมูลให้สมาชิกทราบ 3 เดือน ครั้ง / ไม่มีข่าวสารให้สมาชิกทราบ ควรเผยแพร่ให้มากกว่านี้ แจ้งทุกเดือน เพื่อเกิดความมั่นใจมากขึ้น และไม่ค่อยมี หรือมีเอกสารน้อย นาน ๆ จะมีให้ทราบสักครั้ง ร้อยละ 27.3 และออมเพื่อมีเงินมาก ๆ / กสจ. ควรเปิดโอกาสให้สมาชิกออมได้มากกว่าร้อยละ 3 ตามความเหมาะสมของสมาชิกที่ ไม่มีผลกระทบต่อรายจ่ายประจำ ร้อยละ 15.2 สมาชิกบางท่านยังไม่ค่อยเข้าใจ กสจ. มาก / อ่านเอกสาร หรือข่าวสาร กสจ. แล้วไม่ค่อยเข้าใจ ร้อยละ 6.1 ได้สมัครเป็นสมาชิกตั้งแต่เริ่มแรก / ต้องการให้มีบทบาทมากกว่านี้ในเรื่องเงินกู้ และการกู้เพื่อที่อยู่อาศัย / ระเบียบการกู้มาก / ควรได้รับสิทธิเท่ากับ
84
ข้าราชการในการสะสม หรือค่าตอบแทน / ทุกอย่างขึ้นอยู่ที่ระบบราชการ ตราบใดที่ผู้บริหารยังมองไม่เห็นความสำคัญของลูกจ้าง มันก็ไม่มีอะไรที่จะดีไปกว่านี้ / เหตุใดยอดยกมาของแต่ละ 6 เดือน จึงไม่ตรงกัน ร้อยละ 3.0
กลุ่มประชากรที่ศึกษาที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่จัดอบรมสัมมนาเกี่ยวกับกองทุนให้มาก สมาชิกที่ไม่เข้าใจจะได้เข้าใจความหมาย / ความเป็นมาของ กสจ. / ควรจัดอบรมในมหาวิทยาลัย ร้อยละ 15.2 และควรสนับสนุนให้ลูกจ้างประจำได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับ กสจ. มากกว่าที่เป็นอยู่ เพื่อเป็นแรงชักจูงให้เข้าร่วม และจัดอบรม ความรู้ให้ลูกจ้างประจำเข้าใจในรายละเอียด ข้อมูล สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับมากกว่านี้ ร้อยละ 6.1 ควรเผยแพร่ข่าวสารให้ มากกว่านี้ อย่างน้อยเดือนละ 2-3 ครั้งต่อคน / ถ้ากองทุนฯ ไม่หักเงินมากเกินไป ก็สามารถเป็นสมาชิกได้ / ตอนแรก ๆ ไม่ได้สมัครไว้ก่อน จึงไม่คิดจะสมัคร เนื่องจากช้าไปและอายุมาก ไม่เข้าเป็นสมาชิก ทำให้ไม่ได้เรียนรู้ข้อมูล ร้อยละ 3.0
การทดสอบสมมติฐาน
ตารางที่ 4.13 แสดงการทดสอบสมมติฐานความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
ตัวแปร
N
ค่าเฉลีย ( x )
S.D.
T
การเข้าเป็นสมาชิก กองทุนฯ
60
1.3238
0.3897
ความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิก
การไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
39
0.9593
0.4700
4.190
Sig.
0.000
การทดสอบสมมติฐานที่ 1 ลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัว
ผลการศึกษาจากตารางที่ 4.13 พบว่า ลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วมากกว่า
85
ลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัว ( X = 1.3238 , S.D. = 0.3897 , X = 0.9593 , S.D. = 0.4700 และ T = 4.190 ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
ตารางที่ 4.14 แสดงการทดสอบสมมติฐานความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยฯ ที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ตัวแปร
N
ค่าเฉลีย ( x )
S.D.
T
การเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
58
1.2931
0.3750
ความคาดหวังใน ผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิก
การไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
34
1.0588
0.4926
0.2571
Sig.
0.0012
การทดสอบสมมติฐานที่ 2 ลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ
ผลการศึกษาจากตารางที่ 4.14 พบว่า ลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความคาดหวังใน ผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ( X = 1.2931 , S.D. = 0.3750 , X = 1.0588 , S.D. = 0.4926 และ T = 0.2571 ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
86
ตารางที่ 4.15 แสดงการทดสอบสมมติฐานความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนแตกต่างกัน
ตัวแปร
N
ค่าเฉลีย ( x )
S.D.
T
การเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
60
1.4967
0.2624
ความเชื่อมั่นใน กองทุนของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิก
การไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
39
1.1740
0.4399
4.128
Sig.
0.000
การทดสอบสมมติฐานที่ 3 ลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่า ลูกจ้างประจำที่ไม่มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ
ผลการศึกษาจากตารางที่ 4.15 พบว่า ลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ( X = 1.4967 , S.D. = 0.2624 , X = 1.1740 , S.D. = 0.4399 และ T = 4.128 ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่ง สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
ตารางที่ 4.16 แสดงการทดสอบสมมติฐานการรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนแตกต่างกัน
ตัวแปร
N
ค่าเฉลีย ( x )
S.D.
T
การเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
60
1.0951
0.5522
การรับทราบนโยบาย ส่งเสริมกองทุนฯ ของ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิก
การไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
37
0.9532
0.4474
1.386
Sig.
0.169
87
การทดสอบสมมติฐานที่ 4 ลูกจ้างประจำที่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ
ผลการศึกษาจากตารางที่ 4.16 พบว่า ลูกจ้างประจำที่รับทราบและไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ไม่แตกต่างกัน ( X = 1.0951 , S.D. = 0.5522 , X = 0.9532 , S.D. = 0.4474 และ T = 1.386 ) อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สรุปผลการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จำนวน 130 คน ได้รับแบบสอบถามคืนมา 104 คน คิดเป็นร้อยละ 80.0
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองมี 3 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยฯ ตามตัวแปรที่ศึกษา เป็นคำถามปลายปิด จำนวน 5 ข้อ
ส่วนที่ 2 ระดับความเกี่ยวข้องของปัจจัยกับการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของมหาวิทยาลัยฯ จำนวน 29 ข้อ คะแนนแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ใช่ = 2 ไม่แน่ใจ = 1 และ ไม่ใช่ = 0
ส่วนที่ 3 เป็นคำถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น
การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ (Statistical Package for the Social Science / Personal Computer Plus) การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยฯ กระทำด้วยการแจกแจงความถี่ และคิดค่าร้อยละ แล้วนำมาเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง การวิเคราะห์ระดับความเกี่ยวข้องของปัจจัยกับการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของมหาวิทยาลัยฯ กระทำด้วยการแจกแจงคะแนนเฉลี่ย แล้วนำมาเสนอในรูปตารางประกอบความเรียงและการวิเคราะห์คำถามปลายเปิด กระทำด้วยการแจกแจงความถี่ และคิดค่าร้อยละ แล้วนำมาเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง
1. ข้อมูลทั่วไป
การสมัครเป็นสมาชิก
ประชากรส่วนใหญ่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 57.7 และไม่เข้าเป็นสมาชิก กองทุนร้อยละ 42.3
เพศ
ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 73.1 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 26.9 กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 39.4 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 18.3 และกลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 33.7 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 8.7
อายุ
ประชากรส่วนใหญ่มีอายุ 41-50 ปี ร้อยละ 52.9 และมีอายุสูง 31-40 ปี ร้อยละ24.0 กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี ร้อยละ 26.9 และมีอายุอยู่ระหว่าง 31 - 40 ปี / สูงกว่า 50 ปี ร้อยละ 14.4 และกลุ่มประชากรที่ ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี ร้อยละ 26.0 และมีอายุอยู่ระหว่าง 31 - 40 ปี ร้อยละ 9.6
ระดับการศึกษา
ประชากรส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 48.0 และจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 26.0 กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่จบ การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 24.0 และจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 17.3 และกลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 24.0 และจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 8.7
เงินเดือนและรายได้พิเศษ
ประชากรส่วนใหญ่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษ 5,001-10,000 บาท ร้อยละ 62.5 และมีเงินเดือนและรายได้พิเศษมากกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 34.6 กลุ่มประชากรที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001-10,000 บาท ร้อยละ 39.4 และมีเงินเดือนและรายได้พิเศษมากกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 17.3 และกลุ่มประชากรที่ ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001- 10,000 บาท ร้อยละ 23.1 และมีเงินเดือนและรายได้พิเศษมากกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 17.3
2. ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของ
มหาวิทยาลัยฯ
ความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.32 , S.D. = 0.39 และ x = 0.96 , S.D. = 0.47 )
ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.29 , S.D. = 0.38 และ x = 1.06 , S.D. = 0.49 )
ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.50 , S.D. = 0.26 และ x = 1.17 , S.D. = 0.44 )
การรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.10 , S.D. = 0.55 และ x = 0.95 , S.D. = 0.45 )
3. การทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐานที่ 1 ลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัว
ผลการศึกษาพบว่า สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การทดสอบสมมติฐานที่ 2 ลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ
ผลการศึกษาพบว่า สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การทดสอบสมมติฐานที่ 3 ลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่า ลูกจ้างประจำที่ไม่มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ
ผลการศึกษาพบว่า สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การทดสอบสมมติฐานที่ 4 ลูกจ้างประจำที่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ
ผลการศึกษาพบว่า ไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า
1. ยอมรับสมมติฐานที่ 1-3 คือ ความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็น
และไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.32 , S.D. = 0.39 และ x = 0.96 , S.D. = 0.47 ) และลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัว
ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ของ ลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.29 , S.D. = 0.38 และ x = 1.06 , S.D. = 0.49 ) และลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังใน ผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ
และความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.50 , S.D. = 0.26 และ x = 1.17 , S.D. = 0.44 ) และลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ
2. ปฏิเสธสมมติฐานที่ 4 คือ การรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.10 , S.D. = 0.55 และ x = 0.95 , S.D. = 0.45 ) และลูกจ้างประจำที่รับทราบและไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ไม่แตกต่างกัน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำ คือ การมีความพร้อมส่วนตัว ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ และการรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ
อภิปรายผลการวิจัย
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว ของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พบว่า
สมมติฐานที่ 1 ลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัว
ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า ความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.32 , S.D. = 0.39 และ x = 0.96 , S.D. = 0.47 ) แสดงว่า ลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
ลูกจ้างประจำทุกช่วงอายุเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 57.7 และลูกจ้างประจำทุกช่วงอายุไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 42.3 แสดงว่า ลูกจ้างประจำทุกช่วงอายุเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ เบญจพร เตชะปรีชาวงศ์ (2538 : 149 - 153) พบว่า ทัศนคติต่อกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการอยู่ในระดับต่ำ ตัวแปรในด้านอายุของข้าราชการ อายุการทำงาน และความเข้าใจในระบบกองทุนฯ เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลให้ทัศนคติเปลี่ยนแปลง
ลูกจ้างประจำที่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ร้อยละ 39.4 และลูกจ้างประจำที่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุน ร้อยละ 23.1 แสดงว่า ลูกจ้างประจำที่มี เงินเดือนและรายได้พิเศษอยู่ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่า ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ มาลินี เต็งอำนวย (2524 : บทคัดย่อ) พบว่า การออมมีความสัมพันธ์กับรายได้และเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน และ
สนธยา นริสศิริกุล (2535 : บทคัดย่อ) พบว่า การวิเคราะห์ทางสถิติ ปัจจัยที่กำหนดการออม ภาคครัวเรือนที่มีนัยสำคัญ คือ รายได้ต่อหัวจากแรงงาน
ความพร้อมส่วนตัวด้านการทราบข้อมูลกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและ ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.57 , S.D. = 0.83 และ x = 0.97 , S.D. = 1.01 )
ความพร้อมส่วนตัวด้านการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จากการอบรมเกี่ยวกับ กองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลางและต่ำ ( x = 0.72 , S.D. = 0.90 และ x = 0.45 , S.D. = 0.67 )
ความพร้อมส่วนตัวด้านการจ่ายเงินสะสมร้อยละ 3 ของค่าจ้างเข้ากองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.57 , S.D. = 0.83 และ x = 0.97 , S.D. = 1.01 )
ความพร้อมส่วนตัวด้านความพอใจในอัตราเรียกเก็บเงินสะสมของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.90 , S.D. = 0.35 และ x = 1.18 , S.D. = 0.87 )
ความพร้อมส่วนตัวด้านความเข้าใจในการจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไมเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลางและต่ำ ( x = 1.27 , S.D. = 0.66 และ x = 0.65 , S.D. = 0.69 )
ความพร้อมส่วนตัวด้านความพอใจในอัตราเงินสมทบร้อยละ 3 ของค่าจ้างที่รัฐจ่ายเข้ากองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.62 , S.D. = 0.76 และ x = 1.29 และ S.D. = 0.87 )
การเพิ่มความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำให้แก่ลูกจ้างประจำที่ไม่เข้าเป็นสมาชิก กองทุนฯ จากการศึกษา พบว่า ลูกจ้างประจำที่ไม่มีความพร้อมส่วนตัวด้านการทราบข้อมูล กองทุนฯ การตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จากการอบรมเกี่ยวกับกองทุนฯ การจ่ายเงินสะสมร้อยละ 3 ของค่าจ้างเข้ากองทุนฯ ความเข้าใจในการจ่ายเงนสะสมเข้ากองทุนฯ ความพอใจในอัตราเรียกเก็บเงินสะสมของกองทุนฯ และเงินสมทบร้อยละ 3 ของค่าจ้างที่รัฐจ่ายเข้ากองทุนฯ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ น้อยกว่าลูกจ้างประจำที่มีความพร้อมส่วนตัวดังกล่าวข้างต้น
ความคิดเห็นที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ทราบข้อมูลน้อย / เข้าใจใน ระเบียบของกองทุนฯ / เข้าใจน้อยมาก และเพื่อนร่วมงาน ร้อยละ 2.6 และความคิดเห็นที่
ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ทราบข้อมูลน้อย และถ้าหักเงินสะสมแล้ว จะเกิดผลกระทบ ร้อยละ 7.7 ไม่ทราบข้อมูลต่าง ๆ ร้อยละ 5.1 ต้องการเป็นสมาชิก แต่ยัง ไม่ได้เข้าเป็นสมาชิก ร้อยละ 2.6
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ พร้อมที่จะเป็นสมาชิกกองทุนฯ ไม่กระทบต่อรายได้ ร้อยละ 5.9 และการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ร้อยละ 2.9 และปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ถ้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จะเกิดผลกระทบต่อรายได้ ยังเป็นหนี้กับสหกรณ์ออมทรัพย์อยู่ ร้อยละ 8.8 และข้อมูลที่ไม่ค่อยแน่นอน มองภาพไม่เห็น ร้อยละ 5.9 การหักรายได้เข้ากองทุนฯ ขาดความเข้าใจ ความรู้ / ไม่ทราบรายละเอียด ร้อยละ 2.9
ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ควรรายงานผลการดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง / จัดข้อมูลให้สมาชิกทราบ 3 เดือน ครั้ง / ไม่มีข่าวสารให้สมาชิกทราบ ควรแจ้งทุกเดือน และมีเอกสารน้อย ร้อยละ 27.3 และควรเปิดโอกาสให้สมาชิกออมได้มากกว่าร้อยละ 3 ตามความเหมาะสมของสมาชิก ร้อยละ 15.2 สมาชิกไม่ค่อยเข้าใจกองทุนฯ มาก ร้อยละ 6.1 และความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่จัดอบรมในมหาวิทยาลัย ร้อยละ 15.2 และควรสนับสนุนให้ได้รับการอบรมความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียด ข้อมูล สิทธิประโยชน์มากกว่านี้ ร้อยละ 6.1 ควรเผยแพร่ข่าวสารให้มากกว่านี้ อย่างน้อยเดือนละ 2-3 ครั้งต่อคน / สามารถเป็นสมาชิกได้ ถ้าไม่หักเงินมากเกินไป / ไม่ได้สมัครไว้ก่อน จึงไม่สมัครเนื่องจากอายุมาก / ไม่ได้เรียนรู้ข้อมูล ร้อยละ 3.0
แสดงให้เห็นว่า ความพร้อมส่วนตัวส่งผลให้ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ซึ่ง สอดคล้องกับแนวคิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจของ เรจดาห์ (Rejda 1976 : 3) สรุปว่า เป็นความสุขสมบูรณ์ทั้งในด้านความเป็นอยู่และจิตใจ อันเป็นผลจากการสามารถสนองความต้องการ หรือความจำเป็นทั้งในปัจจุบันและอนาคต อีกนัยหนึ่งมีความกลัว ความกังวล ความกระวนกระวาย หรือความเดือดร้อนทางกายภาพน้อยมาก
และความพร้อมส่วนตัวยังส่งผลให้ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อีกด้วย จากการศึกษา พบว่า ลูกจ้างประจำที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ เป็นหนี้กับสหกรณ์ออมทรัพย์ ร้อยละ 8.8 ทำให้บางรายมีเงินเดือนไม่พอใช้ จึงไม่มีความพร้อมที่จะจ่ายเงิน เพื่อสะสมเป็น เงินออม ดังนั้น ลูกจ้างประจำเหล่านี้ จึงไม่ตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ซึ่งสอดคล้องกับ ผลการวิจัยของ พรเทพ ปิยวัฒนเมธา (2529 : บทคัดย่อ) พบว่า เกิดจากภาระในการจ่าย เงินสะสมเข้ากองทุนฯ บางระดับ เป็นภาระที่หนักเกินกว่าลูกจ้างจะแบกรับได้
นอกจากนี้ลูกจ้างประจำยังรวมกลุ่ม และมีพฤติกรรมกลุ่มเลียนแบบกัน เมื่อเพื่อน ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ตนเองก็ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ด้วย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด เกี่ยวกับกระบวนการกลุ่มของ วินิจ เกตุขำ และคมเพชร ฉัตรศุภกุล (2522 : 14-15) ที่ชี้ให้เห็นว่า การรวมกลุ่มเป็นการรวมแห่งประสบการณ์ของบุคคลหลาย ๆ ฝ่ายที่มาพบปะสังสรรค์กันด้วยความรู้สึกพอใจร่วมกัน ทำให้แต่ละคนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในระหว่างกัน เป็นแรงจูงใจให้กันและกัน ผลรวมของประสบการณ์ย่อมเกิดเป็นพลังของกลุ่ม เพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของบุคคล เช่น ความต้องการการยอมรับจากหมู่คณะ
จึงกล่าวได้ว่า ความพร้อมส่วนตัวของลูกจ้างประจำในด้านต่าง ๆ ทั้งอายุ การเงิน ความเข้าใจในนโยบายขององค์กร ที่องค์กรต้องชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการออมและสวัสดิการในอนาคต เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ลูกจ้างประจำเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
สมมติฐานที่ 2 ลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสทธิประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ
ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.29 , S.D. = 0.38 และ x = 1.06 และ S.D. = 0.49 ) แสดงว่า ลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
ความคาดหวังในค่าลดหย่อนภาษีประจำปีของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.41 , S.D. = 0.65 และ x = 1.03 , S.D. = 0.58 )
ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ เมื่อออกจาก ราชการของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.45 , S.D. = 0.63 และ x = 1.09 , S.D. = 0.68 )
การเพิ่มความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ให้แก่ ลูกจ้างประจำที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จากการศึกษา พบว่า ลูกจ้างประจำที่ไม่มีความ คาดหวังในค่าลดหย่อนภาษีประจำปี และผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ เมื่อออกจากราชการ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ น้อยกว่าลูกจ้างประจำที่มีความคาดหวังใน ผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของกองทุนฯ ดังกล่าวข้างต้น
ความคิดเห็นที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่จะเก็บออมไว้เมื่อลาออก เป็นหลักประกันในอนาคต ร้อยละ 35.9 และตอบสนองดีมาก ร้อยละ 12.8 ทำตามสิทธิที่พึงกระทำ ร้อยละ 2.6 และความคิดเห็นที่ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ผลประโยชน์ตอบแทนที่จะได้รับ ร้อยละ 2.6
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ต้องการมีเงินเก็บก้อนหนึ่งไว้ยามเกษียณ ร้อยละ 23.5 และไม่แน่ใจว่าจะออมได้ ได้เงินเพิ่ม เงินสมทบมาก ๆ ร้อยละ 8.8 เป็นผลดีสำหรับครอบครัว ร้อยละ 5.9 และปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ต้องการได้เงินสมทบ มีสวัสดิการอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับสมาชิก / ไม่สามารถกู้เงินได้ ร้อยละ 2.9
ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชกกองทุนฯ ออมเพื่อมีเงินมาก ๆ ต้องการให้มีบทบาทในเรื่องเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยมากกว่านี้ ระเบียบการกู้มาก และควรได้รับสิทธิด้านค่าตอบแทนเท่ากับข้าราชการ ร้อยละ 3.0
แสดงให้เห็นว่า ความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับจากกองทุนฯ ส่งผลให้ลูกจ้างประจำเขาเป็นสมาชิกกองทุนฯ เพราะเห็นประโยชน์ว่า สามารถเพิ่ม รายได้ได้มากกว่าการออมทรัพย์ด้วยวิธีการอื่น เช่น เงินฝากธนาคาร ประกันชีวิต เล่นแชร์ เป็นต้น และเป็นเงินออมสำหรับอนาคต นอกจากนี้สมาชิกกองทุนฯ ยังสามารถกู้เงินจากกองทุน ในส่วนของเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ตอบแทน เพื่อที่อยู่อาศัยได้อีกด้วย ซึ่ง สอดคล้องกับแนวคิดด้านค่าตอบแทนของ จินดาลักษณ์ วัฒนสิทธิ์ (2535 : 1) สรุปว่า ผลประโยชน์ที่ไม่ใช่ค่าจ้างมีหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นผลประโยชน์ในรูปของเงินและไม่ใช่เงิน อาจเป็นในรูปของสิ่งของหรือบริการที่ลูกจ้างจะได้รับ แตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของการให้ ผลประโยชน์ที่ลูกจ้างได้รับอาจกำหนดโดยรัฐบาล หรือเอกชน หรือนายจ้างได้
และความคาดหวังในผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับจากกองทุนฯ ยังส่งผลให้ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อีกด้วย ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ พรเทพ ปิยวัฒนเมธา (2529 : บทคัดย่อ) พบว่า ค่าลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอยู่ใน
เกณฑ์ต่ำ สุเมธ ศิริคุณโชติ (2530 : บทคัดย่อ) สรุปว่า สิทธิประโยชน์ทางภาษีเงินได้ของ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามกฎหมายไทย มีน้อยเกินไปไม่จูงใจเท่าที่ควร และสนธยา นริสศิริกุล (2535 : บทคัดย่อ) พบว่า เหตุผลในการออมนอกสถาบันการเงิน มีสาเหตุมาจากผลตอบแทน
จึงกล่าวได้ว่า ผลตอบแทนเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ลูกจ้างประจำเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
สมมติฐานที่ 3 ลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ ไม่มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ
ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและ ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.50 , S.D. = 0.26 และ x = 1.17 , S.D. = 0.44 ) แสดงว่า ลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
ความเชื่อมั่นในความมั่นคงของกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเปนและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.85 , S.D. = 0.36 และ x = 1.21 , S.D. = 0.73 )
ความเชื่อมั่นในรูปแบบการบริหารกองทุนฯ ที่มีคณะกรรมการมาจากผู้แทนที่นายจ้างแต่งตั้งร่วมกับผู้แทนลูกจ้างประจำที่มาจากการเลือกตั้งของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.55 , S.D. = 0.60 และ x = 1.33 , S.D. = 0.54 )
ความเชื่อมั่นในความสามารถของผู้บริหารกองทุนฯ ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและ ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.39 , S.D. = 0.62 และ x = 1.24 , S.D. = 0.50 )
การเพิ่มความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ให้แก่ลูกจ้างประจำที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จากการศึกษา พบว่า ลูกจ้างประจำที่ไม่มีความเชื่อมั่นในความมั่นคงของกองทุนฯ รูปแบบการบริหารกองทุนฯ ที่มีคณะกรรมการมาจากผู้แทนที่นายจ้างแต่งตั้งร่วมกับผู้แทนลูกจ้างประจำที่มาจาก
การเลือกตั้ง และความสามารถของผู้บริหารกองทุนฯ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ น้อยกว่าลูกจ้างประจำที่มีความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ดังกล่าวข้างต้น
ความคิดเห็นที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ การเข้าเป็นสมาชิกในภายหน้าเกิดความมั่นคงดีและจะได้ผลแค่ไหน ร้อยละ 2.6 และความคิดเห็นที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ การเข้าเป็นสมาชิกในภายหน้าเกิดความมั่นคงดี ร้อยละ 2.6
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความมั่นคง หน่วยงานราชการเข้ามาดูแล ร้อยละ 2.9
ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ควรแจ้งทุกเดือน ร้อยละ 27.3 และยอดยกมาไม่ตรงกัน ร้อยละ 3.0 และความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ควรจัดอบรมให้ลูกจ้างประจำเข้าใจในรายละเอียด ข้อมูล สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ร้อยละ 15.2
แสดงให้เห็นว่า ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ส่งผลให้ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดและผลการศึกษา ดังต่อไปนี้
แนวคิดความมั่นคงทางสังคม (Social Security) ของ ไฟล์แลนเดอร์ (Friedlander 1967 : 5) กล่าวว่า เป็นระบบการจัดสรรบริการสังคมสาขาหนึ่ง เพื่อการคุ้มครองทางสังคม ภายใต้กฎหมายและระเบียบที่รัฐกำหนด รวมทั้งผลของการจัดสรรบริการทั้งหมดที่สังคมมีอยู่ สามารถสร้างความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิตอยู่ในสังคม
แนวคิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจของ เรจดาห์ (Rejda 1976 : 3) สรุปว่า เป็นความสุขสมบูรณ์ทั้งในด้านความเป็นอยู่และจิตใจ อันเป็นผลจากการสามารถสนองความต้องการ หรือความจำเป็นทั้งในปัจจุบันและอนาคต อีกนัยหนึ่งมีความกลัว ความกังวล ความกระวนกระวาย หรือความเดือดร้อนทางกายภาพน้อยมาก
แนวคิดเกี่ยวกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของ สมพงศ์ เกษมสิน (2517 : 75-76) ที่ชี้ให้เห็นว่า สิ่งจูงใจมี 2 ประเภท คือ
1. สิ่งจูงใจที่เป็นเงิน เป็นสิ่งจูงใจที่เห็นได้ง่าย และมีอิทธิพลโดยตรงต่อการปฏิบัติงาน
ของพนักงานเจ้าหน้าที่ สิ่งจูงใจประเภทนี้ คือ สิ่งจูงใจทางตรง และสิ่งจูงใจทางอ้อม
2. สิ่งจูงใจที่ไม่ใช่เงิน เป็นสิ่งจูงใจที่มักจะเป็นเรื่องที่สามารถสนองต่อความต้องการ
ทางจิตใจ เช่น การยกย่องชมเชย การยอมรับจากหมู่คณะ โอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน และความมั่นคงในงาน
ซึ่งอธิบายได้ว่าผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เป็นผลดีของการให้ผลตอบแทนที่ไม่ใช่ค่าจ้าง ทำให้ลูกจ้างมีเวลาพักผ่อนมากขึ้น สุขภาพดี รายได้เพิ่มขึ้น และมีหลักประกันในการทำงาน ลูกจ้างได้รับความสะดวกสบายและมีขวัญในการทำงานดี และนายจ้างได้รับผลประโยชน์จากการที่ลูกจ้างให้ความร่วมมือและเข้าใจเจตนาดีของบริษัท
แนวคิดเกี่ยวกับกลุ่มและองค์กรของ ยุวัฒน์ วุฒิเมธี (2534 : 71-72) สรุปว่า ความมั่นคงของกลุ่มควรมีลักษณะเป็นกลุ่มที่มีพลัง สมาชิกมีความสุข ความเข้มแข็ง ความเสียสละในการทำงาน สมาชิกมีความเห็นสอดคล้องกัน สังสรรค์ติดต่อกันและเป็นหนึ่งเดยวกัน พลังความ เหนียวแน่นของกลุ่มจะเพิ่มขึ้น ถ้ากลุ่มสามารถสนองความต้องการของสมาชิกได้มาก มีการ ร่วมมือกัน ยอมรับนับถือกัน และการเป็นสมาชิกมีความมั่นคงและปลอดภัย
ผลการศึกษาของ สนธยา นริสศิริกุล (2535 : บทคัดย่อ) พบว่า การออมในรูปสินทรัพย์ทางการเงินส่วนใหญ่ จะคำนึงถึงความปลอดภัย
และความเชื่อมั่นในกองทุนฯ ยังส่งผลให้ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อีกด้วย ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ สุเมธ ศิริคุณโชติ (2530 : บทคัดย่อ) พบว่า รูปแบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในประเทศต่าง ๆ ล้วนมีความมั่นคงสูง และเป็นหลักประกันทางสังคมของลูกจ้างได้ในระดับหนึ่ง รูปแบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามกฎหมายไทยยังมีลักษณะไม่เหมาะสมหลายประการ
จึงกล่าวได้ว่า ความเชื่อมั่นในกองทุนฯ เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ลูกจ้างประจำเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
สมมติฐานที่ 4 ลูกจ้างประจำที่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากกว่าลูกจ้างประจำที่ไม่รับทราบนโยบาย ส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ
ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า การรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 1.10 , S.D. = 0.55 และ x = 0.95 , S.D. = 0.45 ) แสดงว่า ลูกจ้างประจำที่รับทราบและไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
ความพร้อมที่จะตอบสนองนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ของ ลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับสูงและปานกลาง ( x = 1.86 , S.D. = 0.35 และ x = 1.20 , S.D. = 0.83 )
การรับทราบนโยบายส่งเสริมให้สมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ของลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ อยู่ในระดับปานกลางและสูง ( x = 1.19 , S.D. = 0.88 และ x = 1.38 , S.D. = 0.70 )
การเพิ่มการรับทราบนโยบายส่งเสริมให้สมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ให้แก่ลูกจ้างประจำที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จากการศึกษา พบว่า ลูกจ้างประจำที่รับทราบและไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ไม่แตกต่างกัน
ความคิดเห็นที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ทราบข้อมูลน้อย ร้อยละ 2.6 และความคิดเห็นที่ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ทราบข้อมูลน้อย ร้อยละ 7.7 และไม่ทราบข้อมูล ร้อยละ 5.1
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ การประชาสัมพันธ์ข้อมูล ร้อยละ 2.9 และปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ข้อมูลที่ไม่ค่อยแน่นอน มองภาพไม่เห็น ร้อยละ 5.9 และไม่ทราบรายละเอียด ร้อยละ 2.9
ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ส่วนใหญ่ควรรายงานผลการดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง / จัดข้อมูลให้สมาชิกทราบ 3 เดือน ครั้ง / ไม่มีข่าวสารให้สมาชิกทราบ ควรแจ้งทุกเดือน / มีเอกสารน้อย ร้อยละ 27.3 และทุกอย่างขึ้นอยู่ที่ระบบราชการ ตราบใดที่ผู้บริหารยังมองไม่เห็นความสำคัญของลูกจ้าง มันก็ไม่มีอะไรที่จะดีไปกว่านี้ ร้อยละ 3.0 และความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ลูกจ้างประจำไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ควรเผยแพร่ข่าวสารให้ มากกว่านี้ อย่างน้อยเดือนละ 2-3 ครั้งต่อคน ร้อยละ 3.0
แสดงให้เห็นว่า ลูกจ้างประจำที่รับทราบและไม่รับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ไม่แตกต่างกัน ซึ่งผู้บริหารมหาวิทยาลัยควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ หรือจูงใจให้ลูกจ้างประจำทราบถึงสิทธิประโยชน์และผลตอบแทนที่จะได้รับ เมื่อลูกจ้างประจำรับทราบนโยบายต่าง ๆ แล้ว จะส่งผลดีต่อการส่งเสริมใหลูกจ้างประจำเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มากขึ้น การประชาสัมพันธ์เรื่องกฎ ระเบียบ สิทธิประโยชน์ และการบริหาร ต้องมีความละเอียดชัดเจนเพียงพอ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยจึงควรสนับสนุนให้ลูกจ้างประจำได้รับการ
อบรมความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ในการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ดังต่อไปนี้
แนวคิดของ ศักดิ์ศรี บริบาลบรรพเขตต์ (2535 : 23) ที่กล่าวไว้ว่า การบังคับใช้นโยบายต้องมีการประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ
แนวคิดของ เฮอร์ซเบิร์ก และคณะ (Herzberg, F. , et al. 1993 : 45-49) ที่ให้ ข้อสนับสนุนว่า ปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานและความสำเร็จของงานโดยตรง สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ การรู้จักป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น แรงจูงใจของ หน่วยงานเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้นโยบายขององค์กรประสบผลสำเร็จ
แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายขององค์กร และการปฏิบัติตามนโยบายขององค์กรของ ทศพร ศิริสัมพันธ์ (2539 : 145) สรุปว่า การนำนโยบายไปปฏิบัติ มักประสบปัญหาอุปสรรคหลายประการ ซึ่งทำให้เกิดช่องว่าง หรือความไม่สมบูรณ์ของการนำเอานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งปัจจัยสำคัญเกิดจากข้อจำกัด และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ทำให้การนำนโยบายไปปฏิบัติไม่ประสบความสำเร็จ เกิดจากปัญหาในการบริหาร ตัวนโยบาย และการที่โชคไม่อำนวย
จึงกล่าวได้ว่า การรับทราบนโยบายส่งเสริมกองทุนฯ ของผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ลูกจ้างประจำเข้าเป็นและไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ
ข้อเสนอแนะทั่วไป
1. กองทุนฯ ควรจัดประชุมสัมมนาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น ข้อมูลความต้องการร่วมกัน
2. กองทุนฯ ควรจัดทำแผนในการติดตามผลการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างความสัมพันธ์
อันดี รวมทั้งประชาสัมพันธ์ ชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับผลประโยชน์ตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ตลอดจนข้อจำกัดต่าง ๆ ให้เข้าถึงลูกจ้างประจำและมีความเชื่อมั่นมากขึ้น
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
1. การเพิ่มการประชาสัมพันธ์ข้อมูลและข่าวสารของกองทุนฯ
กลุ่มลูกจ้างประจำที่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความคิดเห็นว่า กองทุนฯ แจ้งข่าวสารน้อยไป กล่าวคือ กองทุนฯ ควรรายงานผลการดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง / จัดข้อมูลให้สมาชิกทราบ 3 เดือนครั้ง / แจ้งทุกเดือน และมีเอกสารน้อย ร้อยละ 27.3 ดังนั้น กองทุนฯ ต้อง
ประชาสัมพันธ์ให้ลูกจ้างประจำที่ทราบข้อมูลน้อยและมีรายได้น้อย มีความเชื่อมั่นและทราบถึงผลดีของการมีเงินออมในอนาคต
2. การเพิ่มการอบรมเกี่ยวกับกองทุนฯ ให้แก่ลูกจ้างประจำ
กลุ่มลูกจ้างประจำที่ไม่เข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ มีความคิดเห็นว่าจัดอบรมเกี่ยวกับกองทุนน้อยไป กล่าวคือ ควรจัดอบรมให้ลูกจ้างประจำเข้าใจในรายละเอียด ข้อมูล สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ร้อยละ 15.2 ดังนั้น ผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ ควรสนับสนุนให้ลูกจ้างประจำได้รับการ อบรมความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียด ข้อมูล สิทธิประโยชน์ เพื่อบรรลุเป้าหมายตามนโยบายในด้านผลประโยชน์ตอบแทน
3. จากการวิจัยครั้งนี้พบข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ
3.1 ลูกจ้างประจำบางส่วน
3.1.1 ไม่สามารถเข้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ เนื่องจากมีรายได้น้อยและภาระ
ค่าใช้จ่ายมาก
3.1.2 มีความคิดเห็นว่า เป็นหลักประกันในชีวิตเมื่อออกจากราชการ
3.2 ลูกจ้างประจำไม่ทราบข้อมูลของกองทุนฯ จึงไม่สมัครเป็นสมาชิก
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป
1. ควรศึกษาถึงผลสัมฤทธิ์ของการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์
2. ควรศึกษาหายุทธศาสตร์ที่สร้างความพึงพอใจต่อกองทุนฯ เช่น
การปรับอัตราผลตอบแทน การบริหาร การวางแผน การบริการ การประชุมสัมมนา การฝึกอบรม การประชาสัมพันธ์ และการติดตามประเมินผล
บรรณานุกรม
กระทรวงการคลัง. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค.0526.3/29848 เรื่อง การจัดตั้ง
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ. ลงวันที่ 8 กรกฎาคม2539.
กระทรวงการคลัง. หนังสือ กระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค.0526.2/ว.17549 เรื่อง กองทุน
สำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ. ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2540.
กระทรวงการคลัง. (2542). คู่มือการปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : บริษัท พี เอ. ลีฟวิ่ง จำกัด.
เกศรา บุญคั้นผล. (2541). กองทุนสำรองเลี้ยงชีพผู้ปฏิบัติงานองค์การโทรศัพท์ : ความ
คิดเห็นต่อการจัดตั้งและการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิก. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จินดาลักษณ์ วัฒนสิทธ์. (2535). การบริหารเงินเดือนและค่าจ้าง โครงการ Mini Master
Management รุ่นที่ 2. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์.
ฉลอง ภิรมย์รัตน์. (2519). กระบวนการกลุ่ม. คู่มือประกอบการเรียนวิชาศึกษา 325 ตาม
หลักสูตร สภาฝึกหัดครู.
ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น้ำ. (2540). หลักการพัฒนาชุมชน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2539). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤพนธ์ เอื้อธนวันต์. (2539). นิตยสารแนวท่องเที่ยว : ศึกษาองค์กรเนื้อหาและผู้รับสาร.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวารสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิพนธ์ แจ้งเอี่ยม. (2524). จิตวิทยาสังคม. ภูเก็ต : ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว, คณะวิชา
ครุศาสตร์ วิทยาลัยครูภูเก็ต.
เบญจพร เตชะปรีชาวงศ์. (2538). การศึกษาทัศนคติต่อกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
: ศึกษาเฉพาะกรณีกรมชลประทาน. ปริญญานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประคอง กรรณสูต. (2542). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ
: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประชุม รอดประเสริฐ. (2527). นโยบายและการวางแผนงาน : หลักการและทฤษฎี.
ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสาน
มิตร.
ประธานกรรมการ กสจ. (2541). รายงานประจำปี 2541. กรุงเทพฯ : กรมบัญชีกลาง.
ประธานกรรมการ กสจ. (2546). รายงานประจำปี 2546. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสำรอง
เลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
ประภาส มานะปทุมชาติ. (2536). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเป็นสมาชิกของ
นักเรียนในกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบำรุงเขตบางเขน. กรุงเทพฯ : ภาคนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสังคม, สถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก).
พรเทพ ปิยวัฒนเมธา. (2529). กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : อุปสรรคการจัดตั้งและปัญหาทาง
กฎหมาย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, สำนักงานอธิการบดี, ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล.
(2546). จำนวนสมาชิก กสจ. ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
มาลินี เต็งอำนวย. (2524). พฤติกรรมการออมของครัวเรือนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ :
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยุทธดนัย เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2543). “สารจากบรรณาธิการ.” วารสารข่าว กสจ. 3,1:1.
ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2534). การพัฒนาชุมชนจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : บางกอก
บล็อก.
วิเชียร เกตุสิงห์. (2541). คู่มือการวิจัยเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช
จำกัด
วินิจ เกตุขำ และคมเพชร ฉัตรศุภกุล. (2522). กระบวนการกลุ่ม. กรุงเทพฯ : พีระพัชนา.
วุฒิชัย จำนงค์. (2523). พฤติกรรมการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : ธรรมการพิมพ์.
ศักดิ์ศรี บริบาลบรรพตเขตต์. (2535). ระบบความมั่นคงทางสังคมกรุงเทพ. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริลักษณ์ พงศ์สันติสุข. (2537). กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : บทบาทในการระดมเงินออมของ
ภาคครัวเรือน. วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สงวน สุทธิเลิศอรุณ. (2524). จิตวิทยาสังคม (ศึกษา 322). พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ชัยศิริ
การพิมพ์
สนธยา นริศศิริกุล. (2535). การวิเคราะห์การออมภาคครัวเรือนไทยปี พ.ศ. 2517-
2533. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมพงศ์ เกษมสิน. (2517). สารานุกรมการบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร.0215/
ว.236 เรื่อง การจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วน ราชการ. ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2539.
สำนักงาน กสจ. (2543). คู่มือสมาชิก กสจ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
สำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
สุพัตรา เพชรมุนี. (2520). ทัศนคติของข้าราชการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่มีต่อ
ประโยชน์เกื้อกูล (ศึกษาเฉพาะบริการและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ). กรุงเทพฯ : คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุเมธ ศิริคุณโชติ. (2530). กองทุนสำรองเลี้ยงชีพภาคเอกชนกับสิทธิประโยชน์ทางภาษี
เงินได้ตามประมวลรัษฎากร. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Edwards ΙΙΙ, George C., and Ira Sharkansky.(1979) The Policy predicament : Making
and implemanting public policy. San Francico : W.H. Freeman.
Friedlander, Walter A. (1967). Introduction to social welfare. New Delhi : Prentice-Hall of
India.
Rejda, George E. (1976). Social Insurance and Economic Security. Newjersey :
Prentice-Hall Inc.
Harrison, F.E. (1981). The Managerial Decision-making Process. Boston : Houghton
Mifflin company.
Herzberg, F. et al., (1993). The motivation to work. U.S.A. : Transaction Publishers.
Independent Bureau International Development Isuues (IBID)., (1981). North - South :
a programme for survival / by Willy Brandt. London : Pan Books.
John T. Roscoe. (1975). Fundamental Research Statistic for the Behavioral Sciences.
2nd ed. New York : Holt Rinehart and Winster Inc.
Pressman, Jefferey L., and Aron Wildavsky. (1979). Implementation. Berkeley.
University of California Press.
Rakich, S.J.et al., (1985). Managing health services organizations. 2nd ed. Philadelphia :
W.B.Saunders Company.
Rogers, Everrett M. (1983). Diffusion of Innovation. New York : The Free Press.
Shull, F.A., A.L. Delberg and L.L. Cumming. (1970). Organizational Decision-Making.
New York : McGraw-Hill.
Simon, H.A. (1960), The New Science of Management Decision. New York : Harper &
Row.
Strauss, George ; and Sayles, Leonard R. (1960). Personnel : The Human Problems of
Management. Englewood cliffs : Prentice-Hall.
Van Meter, Donald S., and Carl E. Van Horn. (1975). The policy implementation process
: A conceptual framework. Administration & Society 6 (February) : 445-465.
Williams, Walter. (1975). Implementation analysis and assesment. Policy Analysis 1
(summer) : 535-554.
ระยะเวลาในการดำเนินงาน
แผนการดำเนินงาน ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่ส่งต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว : ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ที่
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ม.ค.
45
ก.พ.
45
ม.ค.
46
ก.พ.
46
มี.ค.
46
เม.ย.
46
พ.ค.
46
มิ.ย.
46
ก.ค.
46
ส.ค.
46
1
ศึกษาหัวข้อวิทยานิพนธ์
2
ศึกษาและรวบรวมข้อมูล แนวคิดและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
3
จัดทำเค้าโครงวิทยานิพนธ์และดำเนินการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์
4
นำเสนอพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์
5
เรียบเรียงวิทยานิพนธ์
6
นำเสนอให้ประธานและกรรมการอ่านตรวจต้นฉบับ
7
นำเสนอบัณฑิตวิทยาลัย
8
สอบปากเปล่า
9
ส่งบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์และแผ่นบันทึกข้อมูล
10
ดำเนินการขั้นตอนจบการทำวิทยานิพนธ์
งบประมาณที่ใช้ในการวิจัย
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอุปกรณ์ เครื่องเขียนและสิ่งพิมพ์ 8,000 บาท
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 2,000 บาท
รวมทั้งสิ้น 10,000 บาท
ภาคผนวก ค
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
เรื่อง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ
ซึ่งจดทะเบียนแล้วของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ผู้ดำเนินการวิจัย น.ส.อมรรัตน์ รุ้งพิบูลย์
นักศึกษาปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำชี้แจง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาวิจัยปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุน
สำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เพื่อนำมาปรับปรุงเป็นแนวทางการบริหารและการประชาสัมพันธ์กองทุนแก่ลูกจ้างประจำต่อไป
แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับกองทุน
ส่วนที่ 3 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ
การตอบแบบสอบถาม กรุณาตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง เพื่อจะได้ข้อมูลที่
ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อส่วนรวมให้มากที่สุด ทั้งนี้ ขอรับรองว่าจะเก็บข้อมูลเป็นความลับ โดยไม่มีผลกระทบต่อตัวท่านในการปฏิบัติงาน
(Objectivity)
106
ภาคผนวก ก
ข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
107
ข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่ง จดทะเบียนแล้ว
โดยที่เหตุส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า และลูกจ้างประจำของส่วนราชการได้ ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 แล้ว เนื่องจากมีพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 กฎกระทรวง ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และที่แก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าว และเพื่อความคล่องตัวของการบริหารให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง กองทุน อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 มาตรา 11 และ ข้อบังคับกองทุนข้อ 18 (7) จึงให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทั้งนี้ บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่งอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี้ให้ใช้ข้อบังคับนี้แทน ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ข้อบังคับนี้ เรียกว่า “ข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว”
ข้อ 2 ข้อบังคับนี้มีผลใช้บังคับนับแต่วันที่นายทะเบียนได้รับจดทะเบียน
ข้อ 3 ในข้อบังคับนี้
“กองทุน” หมายความวา กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว มีฐานะเป็นนิติบุคคล ประกอบด้วยเงินที่สมาชิกจ่ายสะสม เงินที่ส่วนราชการจ่ายสมทบ รวมทั้งเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ และผลประโยชน์ของเงินหรือทรัพย์สิน ดังกล่าว
“เงินกองทุน” หมายความว่า เงินสะสมและเงินสมทบและดอกผลต่าง ๆ ของเงินดังกล่าว รวมทั้งเงินหรือทรัพย์สินอื่นที่มีผู้อุทิศให้ และผลประโยชน์จากเงินหรือทรัพย์สินดังกล่าวด้วย
108
“ข้อบังคับกองทุน” หมายความว่า ข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัติ
“ส่วนราชการ” หมายความว่า ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
“ลูกจ้างประจำ” หมายความว่า ลูกจ้างประจำของส่วนราชการที่ได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณ หมวดค่าจ้างประจำ แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึง
(1) ลูกจ้างประจำที่มีสัญญาจ้าง
(2) ลูกจ้างที่จ้างให้ปฏิบัติงานของส่วนราชการในต่างประเทศ
“สมาชิก” หมายความว่า ลูกจ้างประจำที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนตามความในหมวด 2 แห่งข้อบังคับนี้
“ค่าจ้าง” หมายความว่า ค่าจ้างอัตราปกติตามอัตราที่กำหนดจ่ายให้สำหรับการปฏิบัติงานในระยะเวลาปกติ แต่ไม่รวมถึงเงินเพิ่มพิเศษสำหรับการสู้รบและเงินเพิ่มใด ๆ
“คณะกรรมการกองทุน” หมายความว่า คณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
“กรรมการกองทุน” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งหรือเลือกตั้งจากส่วนราชการให้เป็นผู้แทนในคณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วน ราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
“เงินสะสม” หมายความว่า เงินของสมาชิกที่จ่ายสะสมเข้ากองทุนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในหมวดที่ 2 และหมวดที่ 4 แห่งข้อบังคับนี้
“เงินสมทบ” หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายสมทบเข้ากองทุนให้แก่สมาชิก แต่ละรายตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในหมวดที่ 2 และหมวดที่ 4 แห่งข้อบังคับนี้
“ผู้รับประโยชน์” หมายความว่า ผู้ที่สมาชิกแสดงเจตนาโดยทำหนังสือมอบไว้แก่บริษัทจัดการตามแบบที่คณะกรรมการกองทุนกำหนด
“บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตจาก นายทะเบียนให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล โดยการแต่งตั้งจากคณะกรรมการกองทุนให้จัดการกองทุนโดยมีค่าตอบแทน
109
“พระราชบัญญัติ” หมายความว่า พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 กฎกระทรวง ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และที่แก้ไขเพิ่มเติม
“นายทะเบียน” หมายความว่า บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นนายทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
“สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งทำหน้าที่นายทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
“สำนักงาน กสจ.” หมายความว่า สำนักงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับ ลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
ข้อ 4 ให้คณะกรรมการกองทุนเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้
หมวด 1
ความทั่วไป
ข้อ 5 กองทุนนี้จัดตั้งขึ้นโดยใช้ชื่อว่า “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว” เรียกโดยย่อว่า “กสจ.”
ข้อ 6 ให้สำนักงานกองทุนตั้งอยู่ ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เลขที่ 63 ถนน พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
ข้อ 7 กองทุนนี้จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักประกันแก่สมาชิกและครอบครัวเมื่อสมาชิกออกจากราชการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำของส่วนราชการ
ข้อ 8 รอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม และสิ้นสุดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี
หมวด 2
สมาชิกภาพของสมาชิก
ข้อ 9 ผู้ที่ได้รับการบรรจุเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการจะสมัครเข้าเป็นสมาชิก กองทุนก็ได้
(1) โดยให้ยื่นใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกตามแบบที่คณะกรรมการกองทุนกำหนด
110
(2) คณะกรรมการกองทุนต้องจัดให้มีข้อบังคับกองทุนให้ลูกจ้างขอดูได้ในกรณี
ที่ลูกจ้างร้องขอ
(3) กรณีสมาชิกใหม่ที่จะสมัครเป็นสมาชิกของกองทุน คณะกรรมการกองทุน
ต้องให้สมาชิกดังกล่าวลงนามรับทราบข้อมูลในข้อบังคับของกองทุนด้วย
(4) กรณีมีการแก้ไขข้อบังคับของกองทุน คณะกรรมการกองทุนต้องเปิดเผยให้
สมาชิกกองทุนทราบด้วย
ลูกจ้างประจำที่สมัครเข้าเป็นสมาชิกและส่วนราชการเจ้าสังกัดผู้เบิกค่าจ้างได้ลงทะเบียนรับก่อนวันที่ 15 ของเดือนใด สิทธิในสมาชิกภาพจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ของเดือนนั้น ส่วนผู้ที่สมัครเข้าเป็นสมาชิกและส่วนราชการเจ้าสังกัดผู้เบิกค่าจ้างได้ลงทะเบียนรับตั้งแต่วันที่ 15 ของเดือนสิทธิในสมาชิกภาพจะเริ่มในวันที่ 1 ของเดือนถัดไป
การเป็นสมาชิกของกองทุนจะสมบูรณ์ต่อเมื่อส่วนราชการนำส่งเงินสะสมและเงินสมทบเข้ากองทุน ตาม (1) ภายในสามวันนับแต่วันที่มีการจ่ายค่าจ้างในเดือนที่สมัครเป็นสมาชิก
ข้อ 10 สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกกองทุนมี ดังนี้
(1) ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับนี้ และไม่กระทำการใด ๆ ที่จะก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่การบริหารกองทุน
(2) ต้องส่งเงินสะสมเข้ากองทุนตามอัตราที่กำหนดในข้อบังคับนี้ โดยยินยอมให้
ส่วนราชการเจ้าสังกัดเป็นผู้หักจากค่าจ้างที่ได้รับ
(3) มีสิทธิได้รับเงินสะสม เงินสมทบและผลประโยชน์จากเงินดังกล่าว รวมทั้ง
ผลประโยชน์อื่นตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้
(4) มีสิทธิเข้าร่วมประชุมใหญ่
(5) มีสิทธิตรวจดูสำเนางบดุลและรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีฉบับที่
ประชุมใหญ่สมาชิกรับรอง ณ สำนักงาน กสจ.
(6) มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการกองทุนตามความในหมวด 4
(7) มีสิทธิและหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ
(8) มีสิทธิระบุผู้รับประโยชน์หรือเปลี่ยนแปลงผู้รับประโยชน์
ข้อ 11 สมาชิกภาพของกองทุนสิ้นสุดในกรณี ดังต่อไปนี้
(1) ตาย
(2) พ้นจากราชการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบำเหน็จลูกจ้าง
111
(3) ลาออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการตามระเบียบกระทรวงการคลัง
(4) ถูกสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออกจากราชการ
(5) กองทุนเลิก
หมวด 3
คณะกรรมการกองทุน
ข้อ 12 ให้คณะกรรมการกองทุนมีจำนวนสิบห้าคน ประกอบด้วยผู้แทนจากกรม บัญชีกลาง ผู้แทนสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนส่วนราชการอื่นอีกจำนวนห้าคน และสมาชิกซึ่งปฏิบัติราชการมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปีจำนวนเจ็ดคนเป็นกรรมการ
การเลือกผู้แทนส่วนราชการและผู้แทนสมาชิกให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด
ให้คณะกรรมการกองทุนเลือกกรรมการทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการและเลขานุการ
ข้อ 13 ให้กรรมการผู้แทนสมาชิกมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสองปี แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
ข้อ 14 ให้กรรมการผู้แทนส่วนราชการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสองปี แต่จะเป็นกรรมการผู้แทนส่วนราชการเกินสองวาระติดต่อกันมิได้ เว้นแต่การดำรงตำแหน่งผู้แทนกรม บัญชีกลาง ผู้แทนสำนักงบประมาณ และผู้แทนสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
การดำรงตำแหน่งของผู้แทนกรมบัญชีกลาง ผู้แทนสำนักงบประมาณ และผู้แทน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัด
ข้อ 15 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้แทนสมาชิก หรือกรรมการ ผู้แทนส่วนราชการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) เป็นบุคคลล้มละลาย
(4) เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(5) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่โทษสำหรับ
ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือลหุโทษ
(6) พ้นจากการเป็นสมาชิกหรือพ้นจากการเป็นข้าราชการ
112
ข้อ 16 ในกรณีที่กรรมการผู้แทนสมาชิก หรือกรรมการผู้แทนส่วนราชการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ ให้ดำเนินการเลือกกรรมการขึ้นใหม่ภายในหกสิบวัน ในระหว่างวันที่ยังมิได้มีการเลือกกรรมการขึ้นใหม่ ให้กรรมการที่พ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อทำงานต่อไปจนกว่ากรรมการที่ได้รับเลือกใหม่เข้ารับหน้าที่
ข้อ 17 ในกรณีที่กรรมการผู้แทนสมาชิก หรือกรรมการผู้แทนส่วนราชการผู้ใดพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ให้ผู้ซึ่งได้คะแนนถัดไปซึ่งขึ้นบัญชีไว้ในการเลือกผู้แทนสมาชิกหรือผู้แทนส่วนราชการเป็นกรรมการแทนในกรณีไม่มีผู้ขึ้นบัญชีไว้ ให้ดำเนินการเลือกผู้แทนสมาชิกหรือผู้แทนส่วนราชการขึ้นใหม่ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด
ให้กรรมการผู้ได้รับการแต่งตั้งหรือเลือกให้ดำรงตำแหน่งแทนตามวรรคหนึ่ง อยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน
ในกรณีที่วาระการดำรงตำแหน่งเหลืออยู่ไม่ถึงสามสิบวันจะไม่แต่งตั้ง หรือเลือกกรรมการขึ้นดำรงตำแหน่งแทนก็ได้
ข้อ 18 ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) กำหนดนโยบายและออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศและคำสั่งในการ
บริหารกิจการของกองทุน
(2) กำหนดนโยบายการลงทุนของกองทุน
(3) ควบคุมดูแลการจัดการกองทุนและเป็นผู้แทนกองทุนในกิจการที่เกี่ยวกับ
บุคคลภายนอก
(4) พิจารณาแต่งตั้งหรือเลิกจ้างบริษัทจัดการและ/หรือผู้รับฝากทรัพย์สิน
(5) ควบคุมให้มีการจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบเข้ากองทุน รวมทั้งติดตามให้
ส่วนราชการจ่ายเงินเพิ่มเข้ากองทุนในกรณีที่มีการจ่ายเงินสะสม เงินสมทบเข้ากองทุนล่าช้า
(6) พิจารณาแต่งตั้ง เปลี่ยนแปลง ยกเลิกผู้สอบบัญชี และผู้ชำระบัญชี
(7) แก้ไข เพิ่มเติม ข้อบังคับกองทุนจดทะเบียนภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มี
มติให้แก้ไขหรือเพิ่มเติม สำหรับการแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อบังคับหมวด 4 และหมวด 8 จะนำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการกองทุนได้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังก่อน
(8) พิจารณาลงมติแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ประธานคณะกรรมการกองทุนหรือ
กรรมการกองทุน ซึ่งต้องเป็นกรรมการผู้แทนของส่วนราชการ และกรรมการผู้แทนสมาชิก อย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคนมีอำนาจลงนามผูกพันกองทุนในกิจการตามที่ระบุไว้ในข้อบังคับนี้
113
การแต่งตั้งและมอบหมายดังกล่าวต้องเป็นมติของคณะกรรมการกองทุน
(9) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการเก็บรักษาและการจ่ายเงินของกองทุน
(10) หน้าที่อื่นใดตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่คณะกรรมการกองทุน หรือ
สมาชิกมีมติให้ดำเนินการ
(11) พิจารณาให้ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร กรณีที่บริษัทจัดการลงทุน
ในหลักทรัพย์ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
ข้อ 19 การประชุมของคณะกรรมการกองทุนต้องมีกรรมการประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ในการประชุมของคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมากอย่างน้อยกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด คนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
การออกเสียงลงมติแต่งตั้งหรือเลิกจ้าง บริษัทจัดการ ผู้สอบบัญชีหรือผู้รับฝากทรัพย์สินต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการทั้งหมดที่อยู่ในตำแหน่ง
ข้อ 20 กรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณา ห้ามมิให้เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องนั้น
หมวด 4
เงินสะสม เงินสมทบ และเงินบริจาค
ข้อ 21 ให้สมาชิกส่งเงินสะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 3 ของค่าจ้างที่สมาชิกได้รับก่อนหักภาษี โดยให้ส่วนราชการหักค่าจ้างที่สมาชิกได้รับก่อนหักภาษีทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้าง
ให้ส่วนราชการส่งเงินสมทบเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 3 ของค่าจ้างที่สมาชิกได้รับก่อนหักภาษีทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้าง
กรณีที่สมาชิกไม่มีสิทธิได้รบค่าจ้าง สมาชิกและส่วนราชการไม่จำต้องส่งเงินสะสมและเงินสมทบเข้ากองทุน
กรณีที่สมาชิกได้รับค่าจ้างไม่เต็มจำนวน ก็ให้สมาชิกและส่วนราชการส่งเงินสะสมและเงินสมทบเข้ากองทุนตามส่วนแห่งค่าจ้างที่สมาชิกได้รับ
ข้อ 22 ให้ส่วนราชการส่งเงินสะสม เงินสมทบเข้ากองทุนภายในสามวันทำการนับแต่ วันที่มีการจ่ายค่าจ้าง ในกรณีที่ส่วนราชการส่งเงินสะสมหรือเงินสมทบเข้ากองทุนล่าช้ากว่า
114
สามวันทำการให้ส่วนราชการจ่ายเงินเพิ่มให้แก่กองทุนในระหว่างที่ส่งล่าช้า ในอัตราร้อยละห้า
ต่อเดือนของจำนวนเงินสะสมหรือเงินสมทบที่ส่งล่าช้านั้น
เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่มีผู้อุทิศให้ กรณีทรัพย์สินที่อุทิศนั้นสามารถรับรู้เป็นรายได้ให้นำ เข้าเป็นรายได้ของกองทุนและจัดสรรรายได้นั้นตามสัดส่วนของเงินสะสมหรือเงินสมทบแล้วแต่ จุดประสงค์ของผู้อุทิศที่ได้ระบุไว้ แต่ถ้าทรัพย์สินนั้นยังไม่สามารถบันทึกเป็นรายได้ในงวดบัญชีที่มีการอุทิศ ให้บันทึกเป็นทรัพย์สินจนกว่าทรัพย์สินนั้นได้จำหน่ายหรือสามารถรับรู้เป็นรายได้ในงวดบัญชีใดให้จัดสรรรายได้ดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ห้ามมิให้นำรายได้จากการอุทิศนี้มาคำนวณเป็นค่าบริหารกองทุน
หมวด 5
บริษัทจัดการ การจัดการกองทุน และการบัญชี
ข้อ 23 ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาแต่งตั้งบริษัทจัดการซึ่งได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทจัดการกองทุนส่วนบุคคล
บริษัทจัดการต้องจัดให้มีผู้รับฝากทรัพย์สินของกองทุน
กองทุนมีสิทธิในการได้รับข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนจากบริษัทจัดการ ดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่มีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนมีมูลค่าลดลง อันเนื่องจากมูลค่า
หลักทรัพย์และทรัพย์สินลดลงเกินกว่าร้อยละสิบของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนที่บริษัท จัดการได้แจ้งให้กองทุนทราบครั้งล่าสุด
(2) ได้รับการเปิดเผยเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(3) ได้รับทราบคำเตือนและคำอธิบายเกี่ยวกับความเสี่ยงในการลงทุนตาม
นโยบายการลงทุน
ในกรณีที่บริษัทจัดการพ้นจากการเป็นบริษัทจัดการของกองทุน เว้นแต่กรณีตามข้อบังคับกองทุนหมวดที่ 11 ข้อ 41 คณะกรรมการกองทุนจะต้องแต่งตั้งบริษัทจัดการใหม่ภายใน สามสิบวันนับแต่บริษัทจัดการเดิมพ้นจากการเป็นบริษัทจัดการ และแจ้งการแต่งตั้งบริษัทจัดการใหม่แก่สำนักงานภายในสิบสี่วันนับแต่วันแต่งตั้ง
ข้อ 24 บริษัทจัดการมีหน้าที่จัดการกองทุนให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติและ/หรือตามนโยบายการลงทุนของคณะกรรมการกองทุน สัญญาจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพโดย ไม่ขัดต่อข้อกฎหมายดังกล่าว รวมทั้ง
(1) จัดให้มีระบบงานที่แสดงความพร้อมในการประกอบธุรกิจการจัดการ
115
กองทุนตามที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน
(2) จัดให้มีระบบและควบคุมดูแลให้มีการจัดการกองทุน โดยคำนึงถึงหลัก
ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกัน (Fairness)
(3) กำหนดหลักปฏิบัติในการติดต่อประสานงานที่ชัดเจนและรัดกุมระหว่าง
หน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้านการจัดการกองทุนกับหน่วยงานอื่นในบริษัทจัดการ
(4) จัดให้มีระบบและควบคุมดูแลการลงทุนของบริษัทจัดการ บุคคลผู้มีอำนาจ
ในการจัดการกองทุนและพนักงานที่เกี่ยวข้อง
(5) จัดทำและส่งรายงานเกี่ยวกับการจัดการกองทุนให้สำนักงานตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงานประกาศกำหนด
(6) ดำเนินการฟ้องร้องบังคับคดีหรือฟ้องร้องเรียกค่าสินไหมทดแทนความ
เสียหายที่เกิดกับกองทุนหรือขอรับชำระหนี้ในคดีที่เกี่ยวข้องกับศาลล้มละลาย เพื่อประโยชน์แก่สมาชิกตามที่ได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการกองทุน สำหรับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นให้ถือเป็น ค่าใช้จ่ายของกองทุน
ข้อ 25 บริษัทจัดการจะต้องแยกบัญชีและเอกสารเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพย์สินอื่นของตนออกจากบัญชีและเอกสารเกี่ยวกับการเงิน หรือทรัพย์สินอื่นของกองทุนโดยเด็ดขาด และบริษัทจัดการจะต้องจัดทำรายงานแสดงฐานะและผลการดำเนินงานตามที่นายทะเบียนกำหนด
ข้อ 26 บริษัทจัดการจะต้องจัดทำรายงานแสดงยอดเงินสะสม เงินสมทบ พร้อมทั้ง ผลประโยชน์ของเงินดังกล่าวที่สมาชิกแต่ละคนจะได้รับ และแจ้งให้สมาชิกทราบอย่างน้อยปีละสองครั้ง ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2544 เป็นต้นไป บริษัทจัดการต้องรายงานจำนวนหน่วยกองทุนและมูลค่าต่อหน่วยกองทุนด้วย
ข้อ 27 ให้บริษัทจัดการให้มีการสอบบัญชีกองทุนโดยผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน
ข้อ 28 บริษัทจัดการพ้นจากการเป็นบริษัทจัดการก่อนครบกำหนดสัญญาเมื่อ
(1) นายทะเบียนสั่งถอดถอนในกรณีที่เห็นว่า บริษัทจัดการได้จัดการกองทุนใน
ลักษณะที่อาจเป็นเหตุให้เสียหายแก่กองทุน
(2) กองทุนเลิกตามความในหมวด 11
(3) ขาดคุณสมบัติการเป็นบริษัทจัดการ
(4) กองทุนหรือบริษัทจัดการบอกเลิกสัญญา
116
ข้อ 29 ในกรณีที่บริษัทจัดการพ้นจากการเป็นบริษัทจัดการ ให้บริษัทจัดการส่งมอบเงินหรือทรัพย์สินอื่นของกองทุนพร้อมทั้งบัญชีและเอกสารที่เกี่ยวข้องแก่ผู้รับฝากทรัพย์สิน เมื่อ
(1) ครบกำหนดอายุสัญญา ในวันถัดจากวันครบกำหนดอายุสัญญา
(2) การใช้สิทธิบอกเลิกของกองทุน ส่งมอบโดยพลัน
(3) การใช้สิทธิบอกเลิกของบริษัทจัดการ ภายในวันทำการถัดจากวันที่สัญญา
สิ้นสุดลง
หมวด 6
การคำนวณ และกระจายผลประโยชน์ของกองทุน
ข้อ 30 หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณผลประโยชน์ที่ลูกจ้างจะได้รับ
(1) การคำนวณและจัดสรรผลประโยชน์ของกองทุนให้เป็นไปตามมาตราฐาน
การบัญชี สำหรับกิจการที่มีธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุนที่กำหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย โดยให้มีการคำนวณผลประโยชน์ทุกครั้งที่มีการนำส่งเงินสะสม เงินสมทบเขากองทุนหรือที่มีการจ่ายเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าวออกจากกองทุน ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2544 เป็นต้นไป
(2) การคำนวณมูลค่าทรัพย์สินของกองทุน ให้บริษัทจัดการคำนวณทุกสิ้นวัน
ทำการที่มีการนำเงินสะสมหรือเงินสมทบเข้ากองทุน ทุกสิ้นวันทำการที่มีการจ่ายเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินสะสม และเงินสมทบ ออกจากกองทุน และทุกสิ้นวันทำการสุดท้ายของเดือน
ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณดังกล่าวข้างต้นให้เป็นไปตามที่สำนักงาน หรือสมาคมบริษัทจัดการลงทุน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้
ข้อ 31 สิทธิ ผลประโยชน์ หรือผลประโยชน์ใดอันได้จากหรือเนื่องจากการจัดการและบริหารกองทุนให้เป็นผลประโยชน์และตกเป็นของกองทุน
หมวด 7
ค่าใช้จ่ายของกองทุน
ข้อ 32 ค่าใช้จ่ายที่จ่ายออกจากกองทุน ได้แก่
(1) ค่าธรรมเนียมการจัดการกองทุน และค่าธรรมเนียมผู้รับฝากทรัพย์สิน
(2) ค่าธรรมเนียมในการเป็นนายทะเบียนสมาชิกกองทุน
(3) ค่าธรรมเนียมผู้สอบบัญชี
117
(4) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่จำเป็นอันเกี่ยวกับการดำเนินการกองทุนให้จ่ายได้ตามที่
จ่ายจริง
(5) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการมีบัญชีกองทุนกับธนาคาร เช่น ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
ที่ธนาคารเรียกเก็บค่าอากรแสตมป์ ค่าไปรษณียากร ค่าโทรศัพท์ ค่าโทรสาร ค่าสมุดเช็ค ตามที่จ่ายจริง
(6) ค่าใช้จ่าย (ถ้ามี) ในการดำเนินคดีหรือเรียกค่าสินไหมทดแทนความเสียหาย
เพื่อประโยชน์ของกองทุน หรือเมื่อได้รับคำสั่งจากสำนักงานตามที่จ่ายจริง
(7) ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการติดตามทวงถามหรือการดำเนินคดีเพื่อการรับ
ชำระหนี้ใด ๆ ของกองทุนตามที่จ่ายจริง
(8) ค่าใช้จ่ายหรือค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวเนื่องกับกองทุนโดยตรง เช่น ค่าที่ปรึกษา
กฎหมาย ค่าจัดประชุมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกองทุน ค่าจัดพิมพ์และจัดส่งหนังสือบอกกล่าว หรือประกาศที่สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกำหนด ค่าใช้จ่ายในการสอบบัญชี ค่าใช้จ่ายในการประชุมใหญ่ ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อันเกี่ยวเนื่องจากการดำเนินการตามที่กฎหมายหรือสำนักงานกำหนดเป็นต้น ทั้งนี้ ตามที่จ่ายจริง
(9) ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาของการเลิกกองทุนจนถึงการชำระบัญชี
แล้วเสร็จ รวมถึงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีและผู้รับฝากทรัพย์สิน ตลอดจนค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในการวางทรัพย์ของสมาชิกที่มิได้มารับเงิน
(10) ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะหรือภาษีอื่นใดในทำนองเดียวกัน อัน
เนื่องมาจากค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายตามข้อ 32 (1) ถึง (10)
ข้อ 33 ค่าใช้จ่ายกองทุนตามความในข้อ 32 (1) (2) และ (3) ให้บริษัทจัดการหักออกจากกองทุนได้ในวันสิ้นเดือน
หมวด 8
การจ่ายเงินจากกองทุน
ข้อ 34 เมื่อสมาชิกสิ้นสมาชิกภาพเพราะเหตุอื่นซึ่งมิใช่กองทุนเลิก กองทุนต้องจ่าย เงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าวทั้งจำนวน
บริษัทจัดการจะต้องจ่ายเงินกองทุนในส่วนที่สมาชิกหรือผู้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับ โดยต้องจ่ายรวมทั้งหมดครั้งเดียวภายในเวลาไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันที่สมาชิกสิ้นสมาชิกภาพ โดย
118
จ่ายเป็นเช็คระบุชื่อสมาชิกผู้รับประโยชน์ หรือทายาทที่มีสิทธิรับเงินขีดคร่อมเข้าบัญชีและขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก
หากสมาชิกสิ้นสมาชิกภาพระหว่างเดือน ให้นับวันสิ้นสุดสมาชิกภาพในวันสิ้นเดือนที่มีการจ่ายค่าจ้างครั้งสุดท้าย
ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ เมื่อบริษัทจัดการจ่ายคืนเงินกองทุนตามข้อบังคับกองทุนนับแต่วันที่สมาชิกสิ้นสมาชิกภาพ หากไม่มีผู้มารับเงินเมื่อเวลาได้ล่วงพ้นไปสิบปี นับแต่วันที่สมาชิกดังกล่าวสิ้นสมาชิกภาพ ให้จัดสรรเงินดังกล่าวให้แก่สมาชิกที่คงเหลือของกองทุนทุกรายหรือ
1. บริษัทจัดการไม่สามารถที่จะทำการติดต่อจ่ายคืนเงินกองทุนให้แก่สมาชิกที่
สิ้นสมาชิกภาพได้ เนื่องจากบุคคลดังกล่าวได้ไปเสียจากภูมิลำเนาตามที่ให้ไว้แก่บริษัทจัดการ และไม่ได้ระบุให้ผู้ใดเป็นผู้รับเช็คเงินกองทุนแทนตนเอง
2. สมาชิกรับเช็คเงินกองทุนแล้วแต่ไม่นำไปขึ้นเงินกับธนาคาร
3. สมาชิกตายโดยที่ผู้รับประโยชน์ หรือทายาทไม่มารับเงินกองทุน หรือมารับแล้ว
แต่ไม่นำไปขึ้นเงินกับธนาคาร
4. กรณีมีเหตุสุดวิสัยที่สมาชิก ทายาท หรือผู้รับผลประโยชน์ ไม่สามารถมารับเช็ค
หรือโอนเงินเข้าบัญชีได้ให้สามารถจ่ายเงินกองทุนโดยวิธีอื่นใด ตามที่สำนักงานเห็นสมควร
ข้อ 35 ในกรณีที่สมาชิกสิ้นสมาชิกภาพเพราะเหตุกองทุนเลิก การจ่ายเงินให้แก่สมาชิกให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
ข้อ 36 ในกรณีสมาชิกสิ้นสมาชิกภาพเพราะถึงแก่ความตาย ให้บริษัทจัดการจ่ายเงินกองทุนให้แก่ผู้รับประโยชน์ แต่หากไม่มีผู้รับประโยชน์จะจ่ายเงินดังกล่าวให้แก่บุคคลตาม หลักเกณฑ์ ดังนี้
(1) บุตรให้ได้รับสองส่วน แต่ถ้าสมาชิกผู้ตายมีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปให้ได้รับ
ตามส่วน
(2) สามีหรือภริยาให้ได้รับหนึ่งส่วน
(3) บิดามารดา หรือบิดา หรือมารดา ให้ได้รับหนึ่งส่วน
ถ้าสมาชิกผู้ตายไม่มีบุคคลตาม (1) (2) หรือ (3) หรือมีแต่ได้ตายไปก่อนให้แบ่งเงินที่บุคคลผู้นั้นมีสิทธิได้รับแก่บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ตามส่วนที่กำหนดในวรรคแรก
119
หากไม่มีบุคคลตามวรรคแรกและวรรคสอง หรือไม่มีทายาทตามกฎหมายให้เงินดังกล่าวตกเป็นของกองทุน เพื่อกระจายให้แก่สมาชิกตามสัดส่วนของเงินที่แต่ละคนมีอยู่ในกองทุน
กรณีกองทุนเลิกแต่ยังมีเงินที่สมาชิกหรือผู้รับประโยชน์ยังมิได้มารับจากกองทุน หากเงินดังกล่าวได้จ่ายออกไปก่อนวันที่กองทุนเลกให้เงินจำนวนดังกล่าวนั้น ตกเป็นของกองทุนเพื่อ จัดสรรให้กับสมาชิกที่ยังคงสมาชิกภาพทุกรายที่อยู่นั้น และเมื่อเสร็จสิ้นการชำระบัญชีแล้ว สมาชิกหรือผู้รับประโยชน์ไม่มารับเงินภายในหนึ่งปีนับจากวันที่ชำระบัญชีเสร็จสิ้น ให้ผู้ชำระบัญชีนำเงินส่วนที่ไม่มีผู้รับนั้นวางไว้ที่สำนักงานวางทรัพย์
หมวด 9
การประชุมใหญ่
ข้อ 37 กองทุนต้องจัดให้มีประชุมใหญ่สมาชิกอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายในระยะเวลาหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อ
(1) พิจารณารายงานผลการดำเนินงานของกองทุนในรอบระยะบัญชีที่ผ่านมา
(2) พิจารณารับรองงบการเงินของกองทุนในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผ่านมา ซึ่ง
ผ่านการตรวจสอบและรับรองจากผู้สอบบัญชีแล้ว
การประชุมใหญ่สมาชิกตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการกำหนด
ให้ที่ประชุมใหญ่สมาชิกมีอำนาจแสดงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ ดำเนินงานของกองทุนต่อคณะกรรมการ
ข้อ 38 ในการประชุมใหญ่เพื่อพิจารณารับรองงบดุลนั้น เมื่อที่ประชุมใหญ่รับรองงบดุลแล้วให้คณะกรรมการกองทุนจัดทำรายงานการประชุมที่รับรองงบดุลส่งให้แก่บริษัทจัดการภายในเจ็ดวัน พร้อมส่งสำเนาหนึ่งชุดให้นายทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่รับรอง และต้องแสดงไว้ที่สำนักงาน กสจ. เพื่อให้สมาชิกตรวจดูได้ด้วย
หมวด 10
การโอนและการรับโอนสมาชิก
ข้อ 39 ในกรณีที่สมาชิกออกจากราชการเพื่อไปปฏิบัติงานในหน่วยงานอื่น และได้สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของหน่วยงานใหม่โดยมีวันทำงานต่อเนื่องกัน หากประสงค์จะโอนเงินกองทุนในส่วนของสมาชิกรายนั้นไปยังกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของหน่วยงานใหม่ก็ให้กระทำได้
120
ข้อ 40 ในกรณีที่สมาชิกมีความประสงค์จะโอนเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่มีอยู่กับ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพอื่นมายังกองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ก็สามารถทำได้ โดยที่มีวันทำงานที่ ต่อเนื่องกับหน่วยงานเดิม แต่จะต้องแจ้งให้ส่วนราชการ และบริษัทจัดการทราบล่วงหน้าภายในสามสิบวันก่อนเข้ามาปฏิบัติงานในส่วนราชการ
หมวด 11
การเลิกกองทุนและการชำระบัญชี
ข้อ 41 กองทุนเลิกเมื่อนายทะเบียนโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีมีคำสั่งให้เลิกกองทุนตามพระราชบัญญัติ การแจ้งคำสั่งของนายทะเบียนและการแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีให้ถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติดังกล่าว
ข้อ 42 การเลิกกองทุนคณะกรรมการกองทุนที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในขณะนั้น จะต้องแจ้งให้สำนักงานทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่กองทุนเลิกและให้คณะกรรมการกองทุนแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีและจัดให้มีการชำระบัญชีภายในสามสิบวันและให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวัน นับแต่วันที่กองทุนเลิก เว้นแต่กรณีจำเป็นคณะกรรมการกองทุน หรือผู้ชำระบัญชีอาจขอผ่อนผันต่อสำนักงานเพื่อขยายระยะเวลาชำระบัญชีออกไปตามที่เห็นสมควร
ในระหว่างการชำระบัญชี ถ้าผู้ชำระบัญชีเห็นสมควรจะจ่ายเงินให้แก่สมาชิกบางส่วนก่อนก็ได้ และเมื่อได้ชำระบัญชีต้องจ่ายเงินทั้งหมดที่ค้างชำระแก่สมาชิกให้เสร็จภายในเวลา ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันเสร็จสิ้นการชำระบัญชี โดยจ่ายเป็นเช็คระบุชื่อสมาชิก ผู้รับประโยชน์หรือทายาทที่มีสิทธิรับเงินขีดคร่อมเข้าบัญชีและขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก ถ้ามีเงินเหลืออยู่ให้ผู้ชำระบัญชีนำเงินไปบริจาคให้สาธารณกุศล ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายและค่าตอบแทนในการชำระบัญชีให้จ่ายจากทรัพย์สินของกองทุน
เมื่อเสร็จสิ้นการชำระบัญชีแล้ว คณะกรรมการกองทุนหรือผู้ชำระบัญชีต้องยื่นรายงานการชำระบัญชี และทะเบียนสมาชิกให้แก่สำนักงานภายในสิบสี่วันนับแต่วันเสร็จสิ้นการชำระบัญชี
ข้อ 43 การชำระบัญชีกองทุนให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยการชำระบัญชี ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด และบริษัทจำกัด มาใช้บังคับโดยอนุโลม
หมวด 12
เบ็ดเตล็ด
121
ข้อ 44 ในกรณีที่มีข้อพิพาทเกี่ยวกับกองทุน หรือการบริหารกองทุนหรือสิทธิประโยชน์ ใด ๆ อันเกี่ยวกับกองทุน รวมทั้งการตีความตามข้อบังคับกองทุนให้คณะกรรมการกองทุนเป็น ผู้ชี้ขาด
ข้อ 45 ข้อปฏิบัติอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้ในข้อบังคับกองทุนนี้ให้อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติ
122
121
ภาคผนวก ข
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
122
โครงสร้างการลงทุน
1.1 ความหมายของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของ
ส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว คือ กองทุน มีฐานะเป็นนิติบุคคล ประกอบด้วยเงินที่สมาชิกจ่ายสะสม เงินที่ส่วนราชการจ่าย สมทบ รวมทั้งเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ และผลประโยชน์ของเงินหรือทรัพย์สินดังกล่าว
1.2 โครงสร้างการบริหารกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำ
ของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
1.2.1 คณะกรรมการกองทุน กสจ.
ประกอบด้วยผู้แทนสองส่วน คือ ผู้แทนที่มาจากการแต่งตั้งตาม ประกาศกระทรวงการคลังส่วนหนึ่ง และผู้แทนที่มาจากการเลือกตั้งตามประกาศกระทรวง การคลัง ทั้งหมดรวม 15 คน
1.2.1.1 ผู้แทนจากกรมบัญชีกลาง 1 คน สำนักงานเศรษฐกิจ
การคลัง 1 คน และสำนักงบประมาณอีก 1 คน รวมเป็น 3 คน
1.2.1.2 ผู้แทนที่มาจากการเลือกตั้งจากส่วนราชการอื่นอีก 5 คน
และผู้แทนจากสมาชิกอีก 7 คน รวม 12 คน
1.2.2 เงิน กสจ. ประกอบด้วย
1.2.2.1 เงินสะสม คือ เงินที่ลูกจ้างออมเข้ากองทุนในอัตรา
ร้อยละ 3 ของค่าจ้างเป็นประจำทุกเดือน
1.2.2.2 เงินสมทบ คือ เงินที่รัฐบาลจ่ายสมทบเข้ากองทุนให้กับ
สมาชิกทุกคนในอัตราร้อยละ 3 ของค่าจ้างเป็นประจำทุกเดือน
1.2.3 ผู้จัดการกองทุน กสจ.
จะทำหน้าที่ทั้งในด้านการจัดการการลงทุนและการจัดการด้านทะเบียนสมาชิก ดังนี้
1.2.3.1 บริหารเงินกองทุนให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยมีความเสี่ยง
น้อยที่สุด ถูกต้องและสอดคล้องกับข้อกำหนดกฎหมายรวมทั้งนโยบายการลงทุนของ คณะกรรมการ
1.2.3.2 จัดทำทะเบียนและการบัญชีของกองทุน
123
1.2.3.3 จัดสรรผลประโยชน์ให้แก่สมาชิกกองทุน
1.2.3.4 งานและบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.2.4 สำนักงาน กสจ.
มีบทบาท คือ รับผิดชอบการปฏิบัติงานสนองนโยบายของ คณะกรรมการให้บรรลุเป้าหมาย ประสานงานในด้านนโยบายการลงทุนและข้อมูลสมาชิกรวมกับผู้จัดการกองทุน ติดตามผลการดำเนินการของผู้จัดการกองทุน รวมทั้งทำหน้าที่ในด้านการ ประชาสัมพันธ์ งานบริการสมาชิกและงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย (คู่มือสมาชิก กสจ. , 2543 : 3 , 6 - 8)
แผนภาพที่ 3 โครงสร้างการบริหารกองทุน
ส่วนราชการ
ลูกจ้างประจำ
ฝ่ายประชาสัมพันธ์
ฝ่ายการเงินและการลงทุน
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
สำนักงาน กสจ.
ผู้จัดการกองทุน
• ผู้แทนกรมบัญชีกลาง 1 คน
• ผู้แทนสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 1 คน
• ผู้แทนสำนักงบประมาณ 1 คน
• ผู้แทนจากส่วนราชการอื่นที่ มาจากการเลือกตั้ง 5 คน
• ผู้แทนสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้ง 7 คน
คณะกรรมการ 15 คน
124
แผนภาพที่ 4 ผู้จัดการกองทุน
บริษัทหลักทรัพย์
กองทุนรวม จำกัด
(มหาชน)
ผู้จัดการกองทุน
ธนาคารกรุงไทย
จำกัด
(มหาชน)
ผู้จัดการลงทุน
บริหารเงินของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีความเสี่ยงน้อยที่สุด ถูกต้องและสอดคล้องกับ ข้อกำหนดของกฎหมาย และนโยบายของคณะกรรมการกองทุน
ผู้จัดการทะเบียนสมาชิก
• จัดทำทะเบียนและการบัญชีของกองทุน
• บริการจัดเก็บต้นฉบับตราสารการลงทุนต่าง ๆ
• จัดสรรผลประโยชน์ให้แก่สมาชิกกองทุน
• งานและบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
125
แผนภาพที่ 5 การจัดการเงินกองทุน
ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินฝากธนาคาร
หน่วยลงทุน พันธบัตรรัฐบาล
หลักทรัพย์ ตราสารที่รัฐวิสาหกิจออก
สินทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการ ตั๋วแลกเงินที่ธนาคารรับรอง
กระทรวงการคลังประกาศ ตราสารทางการเงินที่ธนาคารออก
กำหนดในราชกิจจานุเบกษา สินทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการ
สินทรัพย์ซึ่งบังคับให้ลงทุนขั้นต่ำ 60 %
สินทรัพย์ซึ่งลงทุนไม่เกิน 40 %
กระทรวงการคลังประกาศ
กำหนดในราชกิจจานุเบกษา
1.3 นโยบายการลงทุนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำ
ของส่วนราชการฯ (ประธานกรรมการ กสจ. 2541 : 6-7 , 11 , 30-31)
การบริหารกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการฯ มุ่งเน้นการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอในระดับที่สอดคล้องกับความเสี่ยงที่ต่ำ เนื่องจากลักษณะของกองทุนฯ มีวัตถุประสงค์ในการออมระยะยาวสำหรับสมาชิกได้ใช้ประโยชน์หลังเกษียณอายุ
การวางแผนการลงทุนตลอดจนการตัดสินใจลงทุน แต่ละขั้นตอนจะต้องผ่านกระบวนการกลั่นกรองและพิจารณาจากคณะกรรมการนโยบายการลงทุน (Investment Policy Committee) ของบริษัทฯ ซึ่งทำหน้าที่กำหนดนโยบายและทิศทางการลงทุนให้สอดคล้องกับ แผนการลงทุนที่กำหนดไว้ในแต่ละช่วงเวลา ทบทวนนโยบายการลงทุนในแต่ละเดือน และ ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การลงทุนในแต่ละสัปดาห์ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ ตลาดเงิน ตลาดทุน และตลาดตราสารหนี้อย่างทันท่วงที เพื่อรักษาอัตราผลตอบแทนของกองทุนใน ระยะยาวให้สมาชิกกองทุนได้รับประโยชน์สูงสุดได้ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
1.4 สิทธิประโยชน์ทางภาษี
เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีของลูกจ้างและส่งเสริมให้มีเงินออมเพิ่มมากขึ้นและเป็นการจูงใจให้ลูกจ้างเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเป็นระยะเวลานาน จึงมีการยกเว้น
126
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้แก่สมาชิก ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการต่อไปนี้ (คู่มือสมาชิก กสจ. , 2543 : 8-9)
1.1.1 เงินสะสมสามารถนำไปหักลดหย่อนภาษีประจำปีได้
เงินสะสมที่ลูกจ้างจ่ายเข้ากองทุน หักลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริงเฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 290,000 บาท สำหรับปีภาษีนั้นได้รับการยกเว้นภาษี
1.1.2 เงินก้อนที่ได้รับครั้งเดียวเมื่อออกจากกองทุน จะได้รับการ
ยกเว้นภาษี
เงินก้อนที่จะได้รับครั้งเดียวเมื่อออกจากกองทุน คือ เงินสะสม ผลประโยชน์ของเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินสมทบ สมาชิกจะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ทั้งจำนวน ตามเกณฑ์ต่อไปนี้
1.1.2.1 กรณีเกษียณอายุ ลูกจ้างผู้นั้นต้องเป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า
5 ปี และมีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปีบริบูรณ์
1.1.2.2 กรณีทุพพลภาพ ต้องเป็นกรณีที่แพทย์ที่ทางราชการรับรอง
ได้ตรวจและแสดงความเห็นว่าลูกจ้างผู้นั้นไม่สามารถที่จะทำงานต่อไปได้ ไม่ว่าเหตุทุพพลภาพนั้นจะเกิดเนื่องจากการปฏิบัติงานให้แก่นายจ้างหรือไม่ก็ตาม
1.1.2.3 กรณีตาย ไม่ว่าการตายนั้นจะเกิดจากการปฏิบัติงานให้แก่
นายจ้างหรือไม่
1.1.3 กรณีลาออกจากราชการ ถูกปลดออก ให้ออกหรือไล่ออกจาก
ราชการและกรณีอื่น ๆ
เงินก้อนที่ได้รับครั้งเดียวเมื่อออกจากกองทุน สามารถหักค่าใช้จ่ายได้เท่ากับ 7,000 บาท คูณด้วยจำนวนปีที่ทำงาน เหลือเท่าใดหักค่าใช้จ่ายได้อีกครึ่งหนึ่ง แล้วนำเงินที่เหลือไปคำนวณภาษี โดยไม่ต้องรวมกับเงินได้
1.2 ผลการดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำ
ของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
การดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว ประจำปี 2546 มีผลการดำเนินงานสรุปได้ดังนี้ (ประธานกรรมการ กสจ. 2546. : 5 , 14 , 18-20 , 25-27)
127
1.2.1 ทรัพย์สินสุทธิ
การดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของ ส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว (กสจ.) สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 มีสินทรัพย์สุทธิ 5,089.76 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2545 (เดิมสินทรัพย์รวม 4,055.86 ล้านบาท) เป็นเงิน 1,033.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 25.49
1.2.2 จำนวนสมาชิก
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 กสจ. มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 161,100 ราย(เดิมจำนวนสมาชิก 153,722 ราย) เพิ่มจากปี 2545 จำนวน 7,378 ราย หรือคิดเป็นอัตรา ส่วนเพิ่ม ร้อยละ 4.80 ในปี 2546 มีผู้สนใจสมัครเป็นสมาชิก กสจ. เฉลี่ยเดือนละ 615 ราย โดยมีหน่วยงานต้นสังกัดของสมาชิก 5,322 หน่วยราชการ
ทั้งนี้ ยอดเงินสะสม และเงินสมทบของสมาชิก กสจ. ตั้งแต่มกราคมถึงธันวาคม 2546 เป็นเงิน 1,063 ล้านบาท
1.2.3 การลงทุน
ยอดเงินลงทุนของ กสจ. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 มีทั้งสิ้น 5,089.76 ล้านบาท จากเดิมในปี 2545 มียอดเงินลงทุนเพียง 4,055.86 ล้านบาท คิดเป็น ส่วนเพิ่ม 1,033.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 25.49
นโยบายในปี 2546 ผู้จัดการกองทุนพยายามเพิ่มสัดส่วนเงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความผันผวนต่อราคาต่ำ เช่น อาจไปฝากในรูปของเงินฝาก หรือซื้อตั๋วแลกเงินที่มีอายุสั้นแต่ให้ผลตอบแทนที่สูงแทน และเพิ่มสัดส่วนลงทุนในตราสารหนี้ที่มีดอกเบี้ยลอยตัวมากขึ้น ถ้าดอกเบี้ยปรับขึ้นไปอีก ก็จะได้รับผลตอบแทนเพิ่มขึ้นตามการลอยตัวที่กำหนดในแต่ละ ตราสาร
1.2.4 สัดส่วนการลงทุน
128
ตารางที่ 2 สัดส่วนการลงทุน กสจ. ตามระยะเวลา ณ 31 ธ.ค. 2544
ระยะเวลา
สัดส่วน (%)
จำนวน
0 - 6 เดือน
8.90 %
274,916,457.96
6 - 12 เดือน
15.21 %
469,692,834.27
1 - 3 ปี
25.26 %
780,349,557.23
3 - 5 ปี
32.91 %
1,016,704,478.44
มากกว่า 5 ปี
17.72 %
547,263,561.46
รวม
100.00 %
3,088,926,889.36
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2545 และปี 2546
ปี 2545
ปี 2546
สินทรัพย์รวม
หนี้สินรวม
รวมสินทรัพย์สุทธิ
ส่วนของกองทุน
ส่วนของสมาชิก
เงินสะสม
ผลประโยชน์ของเงินสะสม
รวมส่วนของสมาชิก
ส่วนของนายจ้าง
เงินสมทบ
ผลประโยชน์ของเงินสมทบ
รวมส่วนของนายจ้าง
เงินที่จัดสรรไม่ได้
ผลประโยชน์ของส่วนที่จัดสรรไม่ได้
4,331,635,320.13
275,780,093.84
4,055,855,226.29
1,699,445,032.54
310,083,312.54
2,009,528,345.08
1,699,445,032.54
310,083,312.54
2,009,528,345.08
20,682,386.99
16,116,149.14
5,341,665,473.12
251,900,635.96
5,089,764,837.16
2,143,773,056.82
382,710,093.70
2,526,483,150.52
2,143,773,056.82
382,710,093.69
2,526,483,150.51
20,682,386.99
16,116,149.14
129
รวมสินทรัพย์สุทธิ
รายได้จากการลงทุน
รวมรายได้จากการลงทุน
กำไร (ขาดทุน) ที่เกิดจากการดำเนินงาน
รวมรายการกำไรสุทธิจากการลงทุนที่
เกิดขึ้นและยังไม่เกิดขึ้น
รวมรายได้จากการลงทุนและการ
ดำเนินงาน
ค่าใช้จ่าย
รวมค่าใช้จ่าย
เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในสินทรัพย์สุทธิจากการดำเนินงาน
4,055,855,226.29
151,044,144.57
77,832,237.76
228,876,382.33
10,348,608.75
218,527,773.58
5,089,764,837.16
147,449,056.94
45,031,495.35
192,480,552.29
15,180,520.69
177,300,031.60
ตารางที่ 4 สัดส่วนการลงทุน ปี 2544 – 2545
ณ 31 ธ.ค.44
ณ 31 ธ.ค.45
สัดส่วนการลงทุน
(หน่วย : ล้านบาท)
ราคาทุน
ร้อยละ
ราคาทุน
ร้อยละ
1. พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
2. เงินฝากในธนาคารพาณิชย์
3. บัตรเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ออก
4. ตราสารแห่งหนี้ที่กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ออก
5. ตราสารแห่งหนี้ที่รัฐวิสาหกิจที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
6. ตั๋วแลกเงิน หรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้รับรองอาวัล หรือสลักหลัง
7. ตราสารแห่งหนี้ที่ธนาคารพาณิชย์เป็น
ผู้ออก
1,142.61
238.09
179.08
235.57
237.91
-
278.96
36.99
7.71
5.80
7.63
7.70
-
9.03
1,145.73
234.17
1.02
228.88
116.96
192.82
624.19
28.25
5.98
0.03
5.64
2.88
4.75
15.39
130
8. ตราสารแห่งหนี้ที่ บสย. / SME / IFCT / TSFC หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมาย
ว่าด้วยวิธีงบประมาณ
9. ตราสารแห่งหนี้ที่บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์เป็นผู้ออก
10. ตราสารแห่งหนี้ที่บริษัทจำกัดเป็นผู้ออก
200.29
192.23
572.91
6.48
6.22
18.55
109.05
335.39
1,287.95
2.69
8.27
31.76
รวมเงินลงทุน
บวก ลูกหนี้จากการขายหลักทรัพย์,
เงินปันผลค้างจ่าย, ลูกหนี้อื่น ๆ
หัก เจ้าหนี้จากการขายหลักทรัพย์,
เงินสะสม – สมทบ รอการจัดสรร ,
เจ้าหนี้อื่น ๆ
3,277.65
-
-188.72
106.11
-
-6.11
4,276.16
46.60
-266.90
105.43
1.15
-6.58
รวมทรัพย์สินสุทธิ
3,088.93
100.00
4,055.86
100.00
1.3 ผู้แทนบริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด ชี้แจงผลการดำเนินงาน
ดังนี้
1.3.1 ผลการดำเนินงานด้านทะเบียนสมาชิก
นับตั้งแต่บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด ได้รับความไว้วางใจจาก คณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว(กสจ.) มอบหมายให้ทำหน้าที่บริษัทจัดการด้านทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ ต่อเนื่องจากบริษัท จัดการรายเดิม ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2545 เป็นต้นมา บริษัทฯ ได้กำหนดภารกิจหลักในการทำหน้าที่ดังกล่าวไว้ 3 ประการ
ประการแรก จัดทำทะเบียนสมาชิกกองทุนให้มีความถูกต้อง ครบถ้วนเป็นไปตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องทุกประการ
ประการที่สอง พัฒนาระบบงานการจัดทำทะเบียนกองทุนให้มี ประสิทธิภาพนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสารเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
131
ประการที่สาม นำเสนอข้อมูลทะเบียนสมาชิกที่ถูกต้อง ครบถ้วน และรวดเร็ว เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าที่ส่วนราชการ และสมาชิกกองทุน ได้รับทราบ และนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ตามภารกิจของแต่ละท่านที่พึงมี
ในการดำเนินการตามภารกิจหลักทั้ง 3 ประการดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯมุ่งหวังที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์สำคัญที่จะเอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกกองทุนทุกท่าน ไม่ว่าจะเป็นการได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยจากเงินนำส่งของสมาชิกในแต่ละเดือนที่นำส่งให้บริษัทจัดการด้านการลงทุนได้อย่างทันท่วงที หรือเมื่อสมาชิกลาออกจากกองทุนก็จะได้เงินคืนอย่างรวดเร็ว รวมถึงในขณะที่เป็นสมาชิกก็จะได้รับรายงานที่แสดงยอดเงินในกองทุนที่ถูกต้องด้วยเช่นกัน ซึ่งผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ในช่วงที่ผ่านมาเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ พอสรุปได้ดังนี้
1.3.1.1 การกระทบยอดเงินนำส่งเพื่อจัดสรรให้แก่สมาชิก บริษัทฯ
ได้เร่งดำเนินการทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่การเงินของหน่วยงานต่าง ๆ ถึงความจำเป็นที่ต้องจัดทำเอกสารประกอบการนำส่งเงินที่แสดงยอดเงินนำส่งของสมาชิกแต่ละรายในทุก ๆ เดือนให้กับบริษัทฯ และติดตามการจัดส่งเอกสารดังกล่าวให้ครบถ้วน ทำให้เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการจัดทำเอกสารได้ถูกต้องและครบถ้วนมากยิ่งขึ้น จนถึง ณ ปัจจุบัน ในช่วง
132
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2546 หน่วยงานราชการต่าง ๆ มีการนำส่งเงินเข้า กองทุนรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,057,728,208 บาท ยอดเงินนำส่งจำนวนดังกล่าว บริษัทฯ ได้ ดำเนินการติดตามเอกสารประกอบการนำส่งเงิน พร้อมตรวจสอบความถูกต้องและบันทึกข้อมูลเงินนำส่งของสมาชิกแต่ละรายเข้าในระบบทะเบียนสมาชิกได้แล้วทั้งหมด ทำให้ข้อมูลเงินนำส่งของสมาชิกช่วงตั้งแต่มอบหมายให้บริษัทฯ ดำเนินงานด้านทะเบียนสมาชิกมีความถูกต้องครบถ้วนทุกรายสมาชิก
1.1.1.1 การสมัครและการลาออกของสมาชิก ในรอบปี 2546 มี
ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกและลาออกจากการเป็นสมาชิกรวมเป็นจำนวน 12,340 และ 4,962 ราย ตามลำดับ ทั้งนี้ ในการลาออกของสมาชิกสามารถดำเนินการเพื่อจ่ายเงินกองทุน ให้แก่สมาชิกได้รวดเร็วยิ่งขึ้น เนื่องจากการปรับปรุงหลักปฏิบัติเกี่ยวกับเอกสารประกอบการขอถอนเงินคืน ให้เหลือเฉพาะเอกสารที่มีความจำเป็นในการตรวจสอบความถูกต้องเท่านั้น
อย่างไรก็ตามการขอถอนเงินคืนยังประสบกับปัญหาใน
เรื่องเอกสารประกอบที่ยังไม่ครบถ้วนอีกจำนวนหนึ่ง รวมทั้งสมาชิกไม่ทราบขั้นตอนการ ดำเนินการและขาดการติดตามจากหน่วยงานราชการนั้น ๆ ซึ่งบริษัทฯ ได้ดำเนินการประสานงานเพื่อทำความเข้าใจกับสมาชิกและเจ้าหน้าที่หน่วยงานราชการมาโดยตลอด
1.1.1.2 การจัดทำบัตรสมาชิก บริษัทฯ ได้ดำเนินการออกแบบและ
จัดทำบัตรสมาชิก พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานราชการต่าง ๆ เพื่อมอบให้กับสมาชิกทุกรายเป็นจำนวน 158,799 บัตร ซึ่งบริษัทฯ ได้ดำเนินการแล้วเสร็จตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2546
ทั้งนี้ ดำเนินการดังกล่าวบริษัทฯ ไม่ได้คิดค่าใช้จ่ายแต่
อย่างใด เพียงกองทุนเป็นฝ่ายรับภาระค่าใช้จ่ายที่เป็นกระดาษพิมพ์เท่านั้น ทำให้กองทุนสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการทำบัตรประจำตัวสมาชิกกว่า 500,000 บาท เมื่อเทียบกับการดำเนินการในแนวทางอื่นๆ
1.1.1.3 การจัดทำฐานข้อมูลสมาชิก บริษัทฯ ได้ดำเนินการออก
รายงานข้อมูลของสมาชิก เพื่อให้หน่วยงานและสมาชิกได้ตรวจสอบความถูกต้อง และขอข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่มีข้อมูลในระบบ โดยข้อมูลที่บริษัทฯ ได้ขอให้หน่วยงานราชการและสมาชิกได้ตรวจสอบและกรอกเพิ่มเติม มีดังนี้
- ชื่อ-สกุล
- เลขประจำตัวประชาชน
133
- วันที่บรรจุเป็นลูกจ้างประจำ
- วันที่เริ่มสมัครเป็นสมาชิก
- วันเดือนปีเกิด
การจัดทำฐานข้อมูลสมาชิกดังกล่าว บริษัทฯ ได้ดำเนินการ
ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2545 จนถึงปัจจุบัน บริษัทฯ ได้รับข้อมูลที่หน่วยงานราชการส่งกลับมาให้ประมาณร้อยละ 50.0 และได้บันทึกลงในฐานข้อมูลสมาชิกเรียบร้อยแล้วทั้งหมด ส่วนที่เหลือบริษัทฯ จะดำเนินงานแจ้งให้หน่วยงานได้จัดส่งข้อมูลของสมาชิก เพื่อดำเนินการบันทึกเข้าระบบให้ครบถ้วนต่อไป
1.1.1.4 การปรับปรุงข้อมูลเงินนำส่งของสมาชิก บริษัทฯ ได้
ดำเนินการต่อเนื่องจากปี 2545 ตามแผนการปรับปรุงยอดเงินนำส่งของสมาชิกที่ไม่ถูกต้องด้วยการออกรายงานยอดเงินนำส่ง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2545 และให้หน่วยงานราชการได้ ตรวจสอบความถูกต้อง และหากไม่ถูกต้องได้ขอให้หน่วยงานราชการได้จัดทำรายงานข้อมูลการนำส่งเงินเข้ากองทุนของสมาชิกแต่ละรายในแต่ละเดือนจนถึงปัจจุบัน (ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2547) มีหน่วยงานราชการที่ยังไม่ได้ดำเนินการจัดทำรายงานข้อมูลเงินนำส่งเข้ากองทุนและจัดส่งให้บริษัทฯ อีกจำนวน 711 หน่วยงาน ทำให้คณะกรรมการกองทุน ยังไม่ได้พิจารณาปรับปรุง ข้อมูลเงินนำส่ง ในส่วนที่หน่วยงานราชการได้จัดทำรายงานข้อมูลเงินนำส่งและจัดส่งให้บริษัทฯแล้ว
1.1.2 ผลการดำเนินการของบริษัทจัดการด้านการลงทุน
มีการแต่งตั้งบริษัทจัดการกองทุนรวม ไอเอ็นจี จำกัด (ประเทศไทย) เป็น
ผู้จัดการกองทุนของ กสจ. และดำเนินการถ่ายโอนระบบบัญชีทรัพย์สิน ตลอดจนระบบข้อมูลของกองทุนต่าง ๆ จนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2545 ผลการลงทุนนับตั้งแต่เริ่มบริหารจัดการในวันที่ 28 มีนาคม 2545 จนถึงสิ้นปี 2546 มีการเจริญเตบโตอย่างต่อเนื่อง โดยในระยะเวลา 1 ปี 9 เดือน มีผลตอบแทนอยู่ที่ 10.77% หรืออีกนัยหนึ่ง มูลค่าทรัพย์สินสุทธิต่อหน่วยได้เพิ่มขึ้นจาก 10.5339 บาท เป็น 11.6683 บาท โดยผลการดำเนินงานในเฉพาะ ปี 2545 ได้เพิ่มขึ้น 6.45% ในช่วงเวลา 9 เดือน หรือคิดเป็น 8.50% ต่อปี ในขณะที่ปี 2546 ซึ่งมีความผันผวนในตลาดตราสารหนี้รุนแรง ผลตอบแทนที่สมาชิกได้รับยังคงสามารถรักษาในระดับเป็นที่พอใจของคณะกรรมการหรือคิดเป็นผลตอบแทนที่ 4.06% ต่อปี ทั้งนี้ เป็นผลมาจากการติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างใกล้ชิดและเอาใจใส่ของคณะกรรมการลงทุนและบริษัทจัดการใน
134
การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการลงทุนให้สอดคล้องกับทิศทางความเคลื่อนไหวของดอกเบี้ยในตลาดเงินและกระแสการไหลเวียนของเงินลงทุน โดยเฉพาะช่วงเดือนกรกฎาคมถึงพฤศจิกายน2546 ตราสารหนี้ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง ซึ่ง ING Funds ได้ดำเนินการให้คณะกรรมการทราบถึงแนวโน้มของตราสารหนี้อยู่ตลอดเวลา พร้อมกันนั้นได้เสนอแนะแนวทางเลือกในการ ลงทุนใหม่ให้แก่คณะกรรมกองทุนฯ เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนดังกล่าว และในวันที่ 29 ตุลาคม 2546 คณะกรรมกองทุนฯ ได้มีมติอนุมัติให้ ING Funds ดำเนินการลงทุนใน ตราสารทุนได้ไม่เกิน 10% ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน ผลจากการเปลี่ยนนโยบายการ ลงทุน ทำให้ผลการดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว สามารถดำเนินการได้เกินเป้าหมายที่คณะกรรมกองทุนฯ กำหนดไว้สำหรับปี2546
ตลอดปี 2544 คณะกรรมการ กสจ. ยังคงยึดมั่นนโยบายการลงทุนที่มีความเสี่ยงต่ำ และจะยังไม่ลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทหุ้นสามัญโดยเด็ดขาด ซึ่งได้ลงทุนส่วนใหญ่ใน พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ถึงร้อยละ 36.99 ของการลงทุนทั้งหมดโดยลงทุนพันธบัตรรัฐบาล ร้อยละ 29.21 พันธบัตรที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน ร้อยละ 6.90 และตั๋วเงินคลัง ร้อยละ 0.88
1. ผู้แทนธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ทำการชี้แจงผลการดำเนินงานในส่วนหน้าที่จัดทำทะเบียนสมาชิกที่ผ่านมาต่อที่ประชุม พอสรุปเป็นสังเขปได้ ดังนี้
5.1 การปรับปรุงระบบงานทะเบียน โดยจัดให้มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่บันทึก
และทำรายงานนำเสนอ สำนักงาน กสจ. ทุกขั้นตอน ตั้งแต่ความครบถ้วนของข้อมูลการสมัคร การนำส่งแบบ กสจ. 003 และเงินไม่ครบหรือล่าช้าในทุกเดือน ทำให้สามารถติดตามข้อมูลที่ส่วนราชการส่งล่าช้าหรือทำการแก้ไขให้ถูกต้องได้รวดเร็วกว่าเดิมเป็นอันมาก
5.2 ออกแบบสอบถามข้อมูลการส่งเงินสะสมของสมาชิกในเดือนตุลาคม เพื่อให้เจ้าหน้าที่การเงินของส่วนราชการรับรองความถูกต้องของข้อมูล จำนวน 3,717 ส่วนราชการ ปัจจุบัน ส่วนราชการนำส่งแบบสอบถามแล้วจำนวน 2,745 ส่วนราชการ ทำให้สามารถนำส่งรายงานรายตัวให้สมาชิกได้ในเดือนกุมภาพันธ์ 2544
135
5.3 การแก้ไขปัญหาเงินที่จัดสรรไม่ได้ ตรวจพบว่ามีส่วนราชการประมาณ 384 แห่งไม่นำส่ง
แบบ กสจ. 003/1 – 2 ทำให้ยอดเงินสะสมของสมาชิกไม่ถูกต้อง จึงได้ร่วมมือกับสำนักงาน กสจ. ติดตาม ปัจจุบันคงเหลือเพียง 65 แห่ง
5.4 การปรับปรุงการส่งเงินด้วยระบบ Teller Payment เพื่อให้การนำส่งเงินเข้ากองทุนมี
ประสิทธิภาพและสามารถทำการตรวจสอบส่วนราชการที่นำส่งได้อย่างรวดเร็ว จึงได้ยกเลิกใบรับฝากเงินเข้ากองทุนแบบเดิมเป็นใบรับฝากเงินในระบบ Teller Payment โดยเลขที่บัญชีเดิม ทั้งนี้ ได้นำส่งใบนำฝากเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว (กสจ.) ให้กับส่วนราชการทั่วประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้วตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา เป็นผลให้สามารถติดตามให้ส่วนราชการส่งเงินได้ตรงเวลากว่าแต่ก่อน
6. ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจด
ทะเบียนแล้ว ได้ชี้แจงผลการดำเนินงานของสำนักงานต่อที่ประชุม พอสรุปเป็นสังเขปได้ ดังนี้
6.1 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการสมาชิก ได้มีการศึกษาดูงานของสำนักงานประกัน
สังคมและประกันสังคมจังหวัดเพื่อมาปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานบันทึกข้อมูลของสมาชิกและสามารถเร่งติดตามการจ่ายคืนเงินให้กับสมาชิกที่เกษียณอายุได้รวดเร็วกว่าปี 2542 เนื่องจากทะเบียนสมาชิกมีความสมบูรณ์มากขึ้น ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2543 ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ได้ดำเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จำนวน 1,003 คน จากทั้งหมด จำนวน 1,083 คน สำหรับจำนวนที่คงเหลืออยู่ระหว่างการดำเนินการเนื่องจากข้อมูลการส่งเงินสะสมไม่ถูกต้อง
6.2 การประชาสัมพันธ์ กสจ. ปี 2543 ดำเนินการแล้ว คือ
(ก) โครงการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้กับลูกจ้างประจำระดับจังหวัด 34 จังหวัด 2 คลังอำเภอ และในราชการส่วนกลาง จำนวน 3 แห่ง
(ข) การสร้างกลุ่มพันธมิตรเพื่อสนับสนุนกองทุน กสจ.โดยประสานงานกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของลูกจ้างประจำรวมถึงการดำเนินการช่วยในการสนับสนุน ได้แก่ การเข้าพบผู้บริหารระดับสูง เช่น อธิบดีกรม หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด การจัดโครงการเสริมสร้างความรู้แก่คลังจังหวัดและประชาสัมพันธ์จังหวัด การตั้งตัวแทนสมาชิกสัมพันธ์ กสจ. รุ่นที่ 1 ประสานงานกับผู้แทนสื่อมวลชนต่าง ๆ รวมถึงโครงการฉลองครบรอบ 3 ปี วันสถาปนากองทุน
136
(ค) การเผยแพร่ข่าวโดยสื่อต่าง ๆ โดยวิธีประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ท้องถิ่น รวมถึง โครงการพิเศษการให้สัมภาษณ์พิเศษในรายการ “รอบภูมิภาค” สถานีโทรทัศน์ช่อง 11 อุบลราชธานี เมื่อเดือนมิถุนายน โดยประธานคณะกรรมการ กสจ. และโครงการพิเศษการออกหนังสือเชิญชวนลูกจ้างประจำในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ตารางที่ 2
อัตราผลตอบแทนกองทุน กสจ.เปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี
(1 มกราคม 2543 – 31 ธันวาคม 2543)
ปี 2543
เดือน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ฝากประจำ (%)
10.17
10.62
4.78
6.27
6.38
7.63
8.44
11.88
11.50
11.13
6.38
6.14
เงินได้ก่อนหักค่าใช้จ่าย (%)
1.27
1.19
1.17
1.22
1.25
1.25
1.25
1.25
1.22
1.17
1.17
1.17
1.4 ผลการดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วน
ราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว
การดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว ประจำปี 2544 มีผลการดำเนินงานสรุปได้ดังนี้ (รายงานประจำปี 2544 กสจ., 2544 :16 -19)
1. ทรัพย์สินสุทธิ
การดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ซึ่งจด
ทะเบียนแล้ว (กสจ.) สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 มีสินทรัพย์สุทธิ 3,088.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2543 (เดิมสินทรัพย์รวม 2,399.80 ล้านบาท) เป็นเงิน 749.10 ล้านบาท หรือร้อยละ 32.02
137
2. จำนวนสมาชิก
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 กสจ.มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 139,502 ราย (เดิมจำนวนสมาชิก 131,878 ราย) เพิ่มจากปี 2543 จำนวน 7,624 ราย หรือคิดเป็นอัตราส่วนเพิ่มร้อยละ 5.78 ในปี 2544 มีผู้สนใจสมัครเป็นสมาชิก กสจ. เฉลี่ยเดือนละ 635 ราย โดยมีหน่วยงานต้นสังกัดของสมาชิก 4,013 หน่วยราชการ
ทั้งนี้ ยอดเงินสะสม และเงินสมทบของสมาชิก กสจ. ตั้งแต่มกราคมถึงธันวาคม 2544 เป็นเงิน 655 ล้านบาท
3. การลงทุน
ยอดเงินลงทุนของ กสจ. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 มีทั้งสิ้น 3,088.91 ล้านบาท จากเดิมในปี 2543 มียอดเงินลงทุนเพียง 2,289.47 ล้านบาท คิดเป็นส่วนเพิ่ม 799.44 ล้านบาท หรือร้อยละ 34.92
ตลอดปี 2544 คณะกรรมการ กสจ. ยังคงยึดมั่นนโยบายการลงทุนที่มีความเสี่ยงต่ำ และจะยังไม่ลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทหุ้นสามัญโดยเด็ดขาด ซึ่งได้ลงทุนส่วนใหญ่ในพันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ถึงร้อยละ 36.99 ของการลงทุนทั้งหมด โดยลงทุนพันธบัตร
รัฐบาลร้อยละ 29.21 พันธบัตรที่กระทรวงการคลังค้ำประกันร้อยละ 6.90 และตั๋วเงินคลังร้อยละ 0.88
4. สัดส่วนการลงทุน
สัดส่วนการลงทุน กสจ. ตามระยะเวลา ณ 31 ธ.ค. 2544
ระยะเวลา
สัดส่วน (%)
จำนวน
0 – 6 เดือน
8.90 %
274,916,457.96
6 –12 เดือน
15.21 %
469,692,834.27
1 - 3 ปี
25.26 %
780,349,557.23
3 - 5 ปี
32.91 %
1,016,704,478.44
มากกว่า 5 ปี
17.72 %
547,263,561.46
รวม
100 %
3,088,926,889.36
138
ปี 2543
ปี 2544
สินทรัพย์รวม
หนี้สินรวม
รวมสินทรัพย์สุทธิ
ส่วนของกองทุน
ส่วนของสมาชิก
เงินสะสม
ผลประโยชน์ของเงินสะสม
รวมส่วนของสมาชิก
ส่วนของนายจ้าง
เงินสมทบ
ผลประโยชน์ของเงินสมทบ
รวมส่วนของนายจ้าง
เงินที่จัดสรรไม่ได้
ผลประโยชน์ของส่วนที่จัดสรรไม่ได้
ส่วนของกองทุนที่สำนักงาน กสจ.
รวมสินทรัพย์สุทธิ
รายได้จากการลงทุน
รวมรายได้จากการลงทุน
กำไร (ขาดทุน) ที่เกิดจากการดำเนินงาน
รวมรายการกำไรสุทธิจากการลงทุนที่เกิดขึ้น
และยังไม่เกิดขึ้น
รวมรายได้จากการลงทุนและการดำเนินงาน
ค่าใช้จ่าย
รวมค่าใช้จ่าย
เพิ่มขึ้น (ลดลง) ในสินทรัพย์สุทธิจากการดำเนินงาน
2,348,239,588.47
14,454,571.07
2,333,785,017.40
999,251,483.23
129,885,331.92
1,129,136,815.15
999,245,950.22
129,883,605.83
1,129,129,556.05
58,530,926.18
16,366,024.87
621,695.15
2,333,785,017.40
105,409,932.93
50,212,990.47
155,622,923.40
9,723,323.27
145,899,600.13
3,296,298,831.46
207,391,942.18
3,088,906,889.28
1,311,447,490.26
213,566,918.19
1,525,014,408.45
1,311,447490.26
213,566,918.19
1,525,014,408.45
22,762,249.52
16,115,822.86
-
3,088,906,889.28
131,111,591.83
58,540,309.71
189,651,901.54
12,853,577.88
176,798,323.66
139
สัดส่วนการลงทุนของ กสจ. ประจำปี 2544
สัดส่วนการลงทุน (หน่วย : ล้านบาท)
ร้อยละ
1. พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง หรือพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
2. เงินฝากในธนาคารพาณิชย์
3. บัตรเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ออก
4. ตราสารแห่งหนี้ที่กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ออก
5. ตราสารแห่งหนี้ที่รัฐวิสาหกิจที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
6. ตราสารแห่งหนี้ที่ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ออก
7. ตราสารแห่งหนี้ที่ บสย. / SME / IFCT / TSFC หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีงบประมาณ
8. ตราสารแห่งหนี้ที่บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเครดิตฟองซิแอร์เป็นผู้ออก
9. ตราสารแห่งหนี้ที่บริษัทจำกัดเป็นผู้ออก
36.99
7.71
5.80
7.63
7.70
9.03
6.48
6.22
18.55
รวมเงินลงทุน
106.11
บวก ลูกหนี้จากการขายหลักทรัพย์, เงินปันผลค้างจ่าย, ลูกหนี้อื่น ๆ -
หัก เจ้าหนี้จากการขายหลักทรัพย์,
เงินสะสม – สมทบรอการจัดสรร, เจ้าหนี้อื่น ๆ -6.11
รวมทรัพย์สินสุทธิ 100.00
5. ผู้แทนธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ทำการชี้แจงผลการดำเนินงานในส่วนหน้าที่จัดทำทะเบียนสมาชิกที่ผ่านมาต่อที่ประชุม พอสรุปเป็นสังเขปได้ ดังนี้
5.1 การปรับปรุงระบบงานทะเบียน โดยจัดให้มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่บันทึก และทำรายงานนำเสนอ สำนักงาน กสจ. ทุกขั้นตอน ตั้งแต่ความครบถ้วนของข้อมูลการสมัคร การนำส่งแบบ กสจ. 003 และเงินไม่ครบหรือล่าช้าในทุกเดือน ทำให้สามารถติดตามข้อมูลที่ส่วนราชการส่งล่าช้าหรือทำการแก้ไขให้ถูกต้องได้รวดเร็วกว่าเดิมเป็นอันมาก
5.2 ออกแบบสอบถามข้อมูลการส่งเงินสะสมของสมาชิกในเดือนตุลาคม เพื่อให้เจ้าหน้าที่การเงินของส่วนราชการรับรองความถูกต้องของข้อมูล จำนวน 3,717 ส่วนราชการ ปัจจุบัน ส่วนราชการนำส่งแบบสอบถามแล้วจำนวน 2,745 ส่วนราชการ ทำให้สามารถนำส่งรายงานรายตัวให้สมาชิกได้ในเดือนกุมภาพันธ์ 2544
140
5.3 การแก้ไขปัญหาเงินที่จัดสรรไม่ได้ ตรวจพบว่ามีส่วนราชการประมาณ 384 แห่งไม่
นำส่งแบบ กสจ. 003/1 – 2 ทำให้ยอดเงินสะสมของสมาชิกไม่ถูกต้อง จึงได้ร่วมมือกับสำนักงาน กสจ. ติดตาม ปัจจุบันคงเหลือเพียง 65 แห่ง
5.4 การปรับปรุงการส่งเงินด้วยระบบ Teller Payment เพื่อให้การนำส่งเงินเข้ากองทุนมี
ประสิทธิภาพและสามารถทำการตรวจสอบส่วนราชการที่นำส่งได้อย่างรวดเร็ว จึงได้ยกเลิกใบรับฝากเงินเข้ากองทุนแบบเดิมเป็นใบรับฝากเงินในระบบ Teller Payment โดยเลขที่บัญชีเดิม ทั้งนี้ ได้นำส่งใบนำฝากเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว (กสจ.) ให้กับส่วนราชการทั่วประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้วตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา เป็นผลให้สามารถติดตามให้ส่วนราชการส่งเงินได้ตรงเวลากว่าแต่ก่อน
6. ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจด
ทะเบียนแล้ว ได้ชี้แจงผลการดำเนินงานของสำนักงานต่อที่ประชุม พอสรุปเป็นสังเขปได้ ดังนี้
6.1 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการสมาชิก ได้มีการศึกษาดูงานของสำนัก
งานประกันสังคมและประกันสังคมจังหวัดเพื่อมาปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานบันทึกข้อมูลของสมาชิกและสามารถเร่งติดตามการจ่ายคืนเงินให้กับสมาชิกที่เกษียณอายุได้รวดเร็วกว่าปี 2542 เนื่องจากทะเบียนสมาชิกมีความสมบูรณ์มากขึ้น ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2543 ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ได้ดำเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จำนวน 1,003 คน จากทั้งหมด จำนวน 1,083 คน สำหรับจำนวนที่คงเหลืออยู่ระหว่างการดำเนินการเนื่องจากข้อมูลการส่งเงินสะสมไม่ถูกต้อง
6.2 การประชาสัมพันธ์ กสจ. ปี 2543 ดำเนินการแล้ว คือ
(ง) โครงการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้กับลูกจ้างประจำระดับจังหวัด 34 จังหวัด 2 คลังอำเภอ และในราชการส่วนกลาง จำนวน 3 แห่ง
(จ) การสร้างกลุ่มพันธมิตรเพื่อสนับสนุนกองทุน กสจ.โดยประสานงานกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของลูกจ้างประจำรวมถึงการดำเนินการช่วยในการสนับสนุน ได้แก่ การเข้าพบผู้บริหารระดับสูง เช่น อธิบดีกรม หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด การจัดโครงการเสริมสร้างความรู้แก่คลังจังหวัดและประชาสัมพันธ์จังหวัด การตั้งตัวแทนสมาชิกสัมพันธ์ กสจ. รุ่นที่ 1 ประสานงานกับผู้แทนสื่อมวลชนต่าง ๆ รวมถึงโครงการฉลองครบรอบ 3 ปี วันสถาปนากองทุน
141
(ฉ) การเผยแพร่ข่าวโดยสื่อต่าง ๆ โดยวิธีประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายวิทยุและโทรทัศน์ท้องถิ่น รวมถึง โครงการพิเศษการให้สัมภาษณ์พิเศษในรายการ “รอบภูมิภาค” สถานีโทรทัศน์ช่อง 11 อุบลราชธานี เมื่อเดือนมิถุนายน โดยประธานคณะกรรมการ กสจ. และโครงการพิเศษการออกหนังสือเชิญชวนลูกจ้างประจำในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ตารางที่ 2
อัตราผลตอบแทนกองทุน กสจ.เปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี
(1 มกราคม 2543 – 31 ธันวาคม 2543)
ปี 2543
เดือน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ฝากประจำ (%)
10.17
10.62
4.78
6.27
6.38
7.63
8.44
11.88
11.50
11.13
6.38
6.14
เงินได้ก่อนหักค่าใช้จ่าย (%)
1.27
1.19
1.17
1.22
1.25
1.25
1.25
1.25
1.22
1.17
1.17
1.17
ที่มา :
134
ภาคผนวก ค
แบบสอบถาม
135
แบบสอบถาม
เรื่อง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำ ของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ผู้ดำเนินการวิจัย น.ส.อมรรัตน์ รุ้งพิบูลย์
นักศึกษาปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำชี้แจง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาวิจัยปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้วของลูกจ้างประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เพื่อนำมาปรับปรุงเป็นแนวทางการบริหารและการประชาสัมพันธ์กองทุนแก่ลูกจ้างประจำต่อไป
แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับกองทุน
ส่วนที่ 3 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ
การตอบแบบสอบถาม กรุณาตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง เพื่อจะได้ข้อมูลที่ ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อส่วนรวมให้มากที่สุด ทั้งนี้ ขอรับรองว่าจะเก็บข้อมูลเป็นความลับ โดยไม่มีผลกระทบต่อตัวท่านในการปฏิบัติงาน
136
หน้า 1/5
เลขที่แบบสอบถาม [ ] [ ] [ ] 1 2 3
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย (��) ลงในช่องว่างที่เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับท่านมากที่สุด
สำหรับผู้วิจัย
1. ท่านเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ [ ]
ซึ่งจดทะเบียนแล้วหรือไม่ 4
1. ( ) เป็นสมาชิก 2. ( ) ไม่เป็นสมาชิก
2. เพศ [ ]
1. ( ) ชาย 2. ( ) หญิง 5
3. อายุ [ ]
1. ( ) ไม่เกิน 30 ปี 2. ( ) 31 – 40 ปี 6
3. ( ) 41 – 50 ปี 4. ( ) สูงกว่า 50 ปี
4. การศึกษาสูงสุด [ ]
1. ( ) ประถมศึกษา 2. ( ) มัธยมศึกษาตอนต้น 7
3. ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. 4. ( ) ปวส. / อนุปริญญา
5. ( ) ปริญญาตรี 6. ( ) สูงกว่าปริญญาตรี
5. เงินเดือนและรายได้พิเศษต่อเดือน [ ]
1. ( ) ไม่เกิน 5,000 บาท 8
2. ( ) 5,001–10,000 บาท
3. ( ) มากกว่า 10,000 บาท
137
หน้า 2/5
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่ง จดทะเบียนแล้ว (กสจ.)
คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย (��) ลงในช่องว่างที่ตรงกับความเข้าใจของท่านเกี่ยวกับ กสจ.
ข้อ
ข้อความ
ใช่
ไม่แน่ใจ
ไม่ใช่
สำหรับผู้วิจัย
1.
ท่านทราบข้อมูลกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว (กสจ.) จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และเอกสารประชาสัมพันธ์
[ ]
9
2.
การอบรมเกี่ยวกับ กสจ. ทำให้ท่านมีความเข้าใจใน กสจ. (กรณีที่ท่านเคยเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับ กสจ.)
[ ]
10
3.
การอบรมเกี่ยวกับ กสจ. ทำให้ท่านตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิก กสจ. (กรณีที่ท่านเคยเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับ กสจ.)
[ ]
11
4.
ท่านมีภาระในการใช้จ่ายนอกเหนือจากค่าใช้จ่ายประจำ
[ ]
12
5.
การจ่ายเงินเข้า กสจ. ในอัตราร้อยละ 3 ของค่าจ้าง ไม่กระทบต่อรายจ่ายประจำของท่าน
[ ]
13
6.
ท่านพอใจในอัตราเรียกเก็บเงินสะสมของ กสจ.
[ ]
14
7.
ท่านมีความเข้าใจในกฎ ระเบียบ ข้อมูลเกี่ยวกับ กสจ.
[ ]
15
8.
ท่านมีความเข้าใจในการจ่ายเงินสะสมเข้า กสจ.
[ ]
16
9.
ท่านมีความเข้าใจในสิทธิและผลประโยชน์ของ กสจ.
[ ]
17

139
หน้า 4/5
ข้อ
ข้อความ
ใช่
ไม่แน่ใจ
ไม่ใช่
สำหรับผู้วิจัย
18.
การบริหาร กสจ. ในรูปของคณะกรรมการที่มาจาก ผู้แทนที่นายจ้างแต่งตั้งร่วมกับผู้แทนลูกจ้างประจำที่ มาจากการเลือกตั้งเป็นรูปแบบที่เหมาะสม
[ ]
26
19.
ท่านเชื่อมั่นว่าเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งและเลือกตั้งมาทำหน้าที่ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหาร กสจ.
[ ]
27
20.
กิจการของ กสจ. สามารถดำเนินไปจนกระทั่งท่านเกษียณอายุราชการ
[ ]
28
21.
การที่กระทรวงการคลังเข้ามามีบทบาทเป็นผู้กำกับดูแล กสจ. ทำให้กองทุนฯ เกิดความมั่นคง
[ ]
29
22.
ผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ส่งเสริมให้ท่านสมัครเข้าเป็นสมาชิก กสจ.
[ ]
30
23.
มจธ. มีบริการด้านข่าวสารและประชาสัมพันธ์เรื่อง กสจ. แก่ท่านอย่างสม่ำเสมอ
[ ]
31
24.
การประชาสัมพันธ์เรื่องกฎ ระเบียบ สิทธิประโยชน์ และการบริหาร กสจ. ของ มจธ. ละเอียดชัดเจนเพียงพอ
[ ]
32
25.
มจธ. มีการผลิตสื่อเพื่อเผยแพร่ข้อมูล กสจ. ให้ท่าน ได้รับทราบ
[ ]
33
26.
ผู้บริหาร มจธ. สนับสนุนให้ท่านได้รับการอบรมเกี่ยวกับ กสจ.
[ ]
34
27.
ผู้บริหาร มจธ. สนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมของ กสจ. ทุกด้าน
[ ]
35
28.
ผู้บริหาร มจธ. สนับสนุนบุคลากรในการให้บริการ เกี่ยวกับ กสจ. แก่ท่าน
[ ]
36
29.
ท่านพร้อมที่จะตอบสนองนโยบายส่งเสริม กสจ. ของ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
[ ]
37
140
หน้า 5/5
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
1. ความคิดเห็นที่ท่านเข้าเป็น หรือไม่เข้าเป็นสมาชิก กสจ.
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………...…………………………………………
2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็น หรือไม่เข้าเป็นสมาชิก กสจ.
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………
3. ความคิดเห็นอื่น ๆ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…….ขอขอบพระคุณ…….
ที่สละเวลาตอบแบบสอบถาม
141
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ-นามสกุล นางสาวอมรรัตน์ รุ้งพิบูลย์
วัน/เดือน/ปีเกิด 30 ธันวาคม 2515
สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2534 - 2538 ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
พ.ศ. 2542 - 2547 ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประวัติการทำงาน
พ.ศ. 2538 - ปัจจุบัน เจ้าหน้าที่บุคคล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
91 สุขสวัสดิ์ 48 ถนนประชาอุทิศ
แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ


ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว (ตอนที่ 1)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการซึ่งจดทะเบียนแล้ว (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น