ศึกษาและโหลดฟรีเป็นตัวอย่างเกี่ยวกับงานวิจัย all free download research
วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553
การก่อเกิดจริยธรรมกรณีศึกษาสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (ตอนที่ 2)
การวิเิเคราะหข์ข์ ้อ้อมลูลู
ผู้วู้วจิจิ ัยัยใชว้ว้ ธิธิ วีวี เิเิ คราะห์ข์ข้อ้อมูลูลเชงิงิ พรรณา โดยบรรยายถึงึงลักักษณะของตวัวั แปร บา้า้ น วดัดั โรงเรียียน
สภาพแวดล้อ้อมทางสงังั คม การบริหิหารจัดัดการของคณะกรรมกองทนุนุ ศกึกึ ษาจากระเบยียี บกองทนุนุ
แตล่ล่ ะกองทนุนุ และพฤตกิกิ รรมการรับับข่า่าวสาร โดยกำำหนดให้เ้เปน็น็ ตวัวั แปรอิสิสระ ทีมี่ม่ ีคีความสมัมั พันันธก์ก์ ับับ
การก่อ่อเกิดิดจริยิยธรรมของสมาชกิกิ ผู้ใู้ใชป้ป้ ระโยชนจ์จ์ ากกองทนุนุ ซึงึ่ง่ เปน็น็ ตวัวั แปรตาม
หลักักการวเิเิ คราะห์ข์ข้อ้อมูลูล ใชข้ข้ ้อ้อมูลูลจากการสงังั เกตและการสมัมั ภาษณแ์แ์ ล้ว้วนาำํ ข้อ้อมูลูลมาวเิเิ คราะห์์
เชงิงิ บรรยาย (Descriptive) และวเิเิ คราะห์เ์เชงิงิ เน้อื้อื หาเปน็น็ รายบคุคุ คล (Content Analysis) โดยใชท้ท้ ฤษฎี
และแนวคิดิดทีมี่ม่ ีคีความสมัมั พันันธเ์เ์ กียี่ย่ วข้อ้องกับับการก่อ่อเกิดิดจริยิยธรรม (ดวงเดอือื น พันันธมุมุ นาวนินิ และ เพ็ญ็ญแข
ประจนปจัจั จนกึกึ 2520) สมัมั พันันธภาพภายในครอบครัวัวของเกรนเดล (Grandall) การถ่า่ายทอด
วฒัฒั นธรรมตามหลักักพระพุทุทธศาสนา (งามตา วนนินิ ทานนท 2536) และแนวคิดิดพืนื้น้ ฐานการขัดัดเกลา
ทางสงังั คมของ พัทัทยา สายหู (2522) เปน็น็ กรอบในการตคีคี วาม สร้า้างข้อ้อสรุปุปแบบอุปุปมัยัย (Inductive)
ในการพิจิจารณาและวเิเิ คราะห์ข์ข้อ้อมูลูล
33
บทที่ 4
การวิเคราะห์ผลการศึกษา
ผลการศึกษา เรื่อง “การก่อเกิดจริยธรรม: กรณีศึกษาผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้าน
และชุมชนเมือง” เป็นการศึกษาสิ่งที่ก่อเกิดจริยธรรมของผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ในการศึกษาครั้งนี้กำหนดองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม ดังนี้ 1) บ้าน ศึกษาในส่วนของการ
สร้างความสัมพันธ์ภายในครอบครัว และวิธีการอบรมการเลี้ยงดู 2) วัด ศึกษาเกี่ยวกับความ
สัมพันธ์กับวัด และความเชื่อความศรัทธาในหลักธรรม 3) โรงเรียน ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์
กับครูอาจารย์ 4) สภาพแวดล้อมทางสังคม ศึกษาเกี่ยวกับวิธีชีวิตของชุมชน เศรษฐกิจของชุมชน
การเลือกคบเพื่อน 5) การบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุน ศึกษาเกี่ยวกับระเบียบของ
กองทุน 6) พฤติกรรมการรับข่าวสาร ซึ่งเสนอผลการศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยอาศัยหลัก
แนวคิดเกี่ยวกับการก่อเกิด จริยธรรม ครอบครัวประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มีสัมพันธภาพ ครู
อาจารย์ มิตรสหาย เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการยอมรับลักษณะและกฎเกณฑ์ทางสังคม พุทธศาสนา
ถ่ายทอดวัฒนธรรมทางจิตใจ ในลำดับต่อไป
ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
จำนวน 10 คน ใน 5 ชุมชน ที่เป็นชุมชนนำร่องในการจัดตั้งกองทุนในพื้นที่โซนกรุงธนเหนือ โดยการ
วิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) เป็นรายบุคคล แจกแจงตามกรอบแนวคิด โดยมีราย
ละเอียดผลการศึกษานำเสนอดังนี้
34
1. ข้อมูลชุมชน กล่าวถึงสภาพโดยทั่วไป สถานที่ตั้ง สภาพเศรษฐกิจ สังคมประเพณีวัฒน
ธรรม ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิต และ องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมของสมาชิกผู้
ใช้ประโยชน์กองทุนเป็นรายบุคคล
2. การวิเคราะห์การก่อเกิดจริยธรรมจากองค์ประกอบที่กำหนดเป็นรายบุคคล
3. สรุปผลการวิเคราะห์การก่อเกิดจริยธรรม
4.1 ข้อมูลชุมชน กล่าวถึงสภาพโดยทั่วไป สถานที่ตั้ง สภาพเศรษฐกิจ สังคม
ประเพณี วัฒนธรรม ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิต และ องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อ
เกิดจริยธรรมของสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์กองทุนเป็นรายบุคคล 5 ชุมชน 10 กรณีศึกษาดัง
นี้
1. ชุมชนวัดเทพากร
แผนภาพที่ 2 แสดงป้ายชุมชนวัดเทพากร การเคหะแห่งชาติ
35
ชุมชนวัดเทพากร เป็นชุมชนเมืองตั้งอยู่ที่ซอย จรัญสนิทวงศ์ 48 แขวงบางพลัด เขต
บางพลัด กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ประมาณ 36 ไร่ สภาพเดิมเป็นพื้นที่สวนผลไม้และเป็น
ที่ธรณีสงฆ์ของ วัดเทพากร ต่อมามีประชาชนอพยพมาจากภูมิภาคต่าง ๆ และเช่าที่ของ
วัดสร้างบ้านเรือนอยู่อย่างถาวรเป็นชุมชนเมืองที่มีความสะดวกในการคมนาคมทั้งทางบก
และทางน้ำ ประชาชนที่อยู่อาศัยส่วนมากมีการศึกษา มีอาชีพรับจ้าง ธุรกิจส่วนตัว รัฐ
วิสาหกิจ และรับราชการ ฐานะของประชาชนอยู่ในระดับมีกินมีใช้ ค่อนข้างร่ำรวยประมาณ
ร้อยละ 70 ค่อนข้างยากจนประมาณร้อยละ 30 ประชาชนมีความสัมพันธ์กันโดยทำกิจ
กรรมร่วมกัน เช่น การทำบุญร่วมกันตามเทศกาล การร่วมมือกันพัฒนาชุมชน ให้ความช่วย
เหลือกัน เช่น เมื่อมีงานบวช งานแต่ง และงานศพ
นอกจากนี้ประชาชนสามารถรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มเพื่อร่วมมือกันทำอาชีพและกิจกรรม เช่น
กลุ่มทำดอกไม้จันทน์ เพื่อ เพิ่มรายได้ กลุ่ม อสส เพื่อร่วมกันระวังภัยต่าง ๆ ในชุมชน กลุ่มเยาวชน
กลุ่มแม่บ้าน อีกทั้งมีการเสริมสร้างอาชีพ โดยการจัดอบรมการนวดแผนโบราณให้กับประชาชนผู้
สนใจ ส่วนปัญหาของชุมชนในบางเรื่อง ผู้นำชุมชนสามารถแก้ไขปัญหาได้ เช่น ปัญหาขยะ น้ำเน่า
เสีย ยุงชุม สุนัขจรจัด ขโมย ส่วนปัญหาที่ยังคงมีอยู่ เช่น การพนัน การกู้เงินนอกระบบของกลุ่มผู้ที่
ยังยากจน
จะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของชุมชนมุ่งเสริมสร้างระเบียบแก้ไขปัญหาความยากจน เสริม
สร้างให้เกิดความสามัคคี เพื่อให้เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒน
ธรรม และที่สำคัญในชุมชนมีวัด ซึ่งเป็นสถานที่ให้ประชาชนได้ทำกิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน
สถานที่รับเลี้ยงเด็กเล็ก โรงเรียน สนามเด็กเล่น นับได้ว่าเป็นชุมชนที่มีความพร้อมและสมบูรณ์ใน
ระดับหนึ่ง สามารถเป็นชุมชนนำร่องจัดตั้งกองทุนหมู่บ้านได้สำเร็จในระยะแรกตามนโยบาย ของ
รัฐบาล และสามารถบริหารจัดการได้ประสบผลสำเร็จซึ่งเป็นผลมาจากความมีจริยธรรมของ
สมาชิกกองทุน ผู้ศึกษาจึงได้ศึกษาเกี่ยวกับประวัติชีวิตของผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุน จำนวน 2 คน
คือ 1) นางสงวนศรี วงศ์ยิ้ม อยู่บ้านเลขที่ 183 ซอย 6 ชุมชนวัดเทพากรร่วมใจ แขวงบางพลัด
เขตบางพลัด 2) นางวรรณา แม้นเลขา มีผลการศึกษาและวิเคราะห์ดังนี้
36
กรณีศึกษาที่ 1 นางสงวนศรี วงศ์ยิ้ม อยู่บ้านเลขที่ 183 ซอย 6 ชุมชนวัดเทพากรร่วมใจ แขวง
บางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตของ นางสงวนศรี วงศ์ยิ้ม
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาเป็นชาว
จังหวัดอุทัยธานี
ทั้งบิดามารดา
ทำงานในวังสระ
ปทุม บิดาเป็นคน
งานมารดารเป็นคน
ครัว มีบุตร 4 คน
ชาย 2 หญิง 2 นาง
สงวนศรีเป็นบุตร
คนที่ 2
เมื่อองค์พระ
ประมุขของวังสระ
ปทุมสิ้นประชนม์
ได้ย้ายครอบครัว
ช่วยทำงานบ้าน
เลี้ยงน้อง แต่
หน้าที่สำคัญคือ
การรับใช้
ปรนนิบัติคุณปู่
ที่ชราจำทำให้
เป็นที่รักของ
คุณปู่ได้รับการ
ถ่ายทอดวิชา
การนวดแผน
โบราณจากคุณ
ปู่เพียงผู้เดียว
ได้เรียนหนังสือ
จากโรงเรียนวัง
พระประมุข
(ปัจจุบันคือ โรง
เรียนเทเวศ
วิทยาลัย ) จบการ
ศึกษาระดับมัธยม
ศึกษาปีที่ 3 ใน
ช่วงการเรียนไม่
สะดวกในการเดิน
ทางเพราะไม่มีรถ
ประจำทางจึงต้อง
เดินจากบ้านไป
โรงเรียนด้วยจิต
เป็นลูกจ้างของ
โรงพยาบาล
ราชบุรีทำหน้าที่
ล้างเครื่องมือ
แพทย์ ได้รับเงิน
เดือน 450 บาท มี
ความขยันจนเป็น
ที่รักของผู้บังคับ
บัญชา เมื่อแต่ง
งานก็ได้ลาออกไป
ประกอบอาชีพค้า
ขายทำให้ฐานะดี
ขึ้นได้ส่งเงินเลี้ยง
บิดามารดาที่ชรา
ได้หย่าร้างกับสามี
กลับไปอยู่กับบิดา
มารดาที่ซอยวัด
เทพากร โดยเป็นผู้รับ
เลี้ยงบุตรทั้ง 5 คน
และได้แต่งงานกับ
สามีคนที่ 2 มีบุตร
ด้วยกันอีก 2 คน
และได้หย่าร้างกับ
สามีคนที่ 2 อีกครั้ง
ปัจจุบันอยู่กับบุตร
และหลานมีอาชีพทำ
ขนมขายและให้บุตร
ขายมีกิจวัตรประจำ
37
ไปอยู่ที่วังเทเวศน์
ต่อมาย้ายไปสร้าง
บ้านที่ซอยวัดเทพา
กร และได้ถึงแก่
กรรมที่บ้านนี้เมื่อปี
2500
สำนึกด้วยว่าเป็น
การประหยัดค่าใช้
จ่ายของบิดา
วันคือการจัดอาหาร
ไปถวายพระที่วัด
เทพากรทุกวันและ
ทำหน้าที่เป็นแม่งาน
ให้กับวัดเป็นประจำ
ตารางที่ 2 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
พ่อแม่ลูกมี
ความสัมพันธ์
กันรับประทาน
อาหารร่วมกัน
ทุกมื้อ มีโอกาส
พูดคุยกันเป็น
ประจำ บิดา
มารดาให้ความ
รักความอบอุ่น
และสอนให้มี
ระเบียบวินัย มี
ความรับผิด
ชอบ
เป็นแม่งาน
จัดกิจกรรม
ของวัดทุก
ครั้ง มีความ
เชื่อและ
ศรัทธาว่าจะ
ต้องสะสม
บุญของตน
เองไว้กิน
ชาติหน้า
หมายถึง
การทำบุญ
ตักบาตร
สร้างกุศลไว้
ชาติหน้าจะ
ได้สบาย
ได้แบบอย่าง
ความเป็น
ระเบียบจาก
คุณครูผู้สอนซึ่ง
เป็นขุนนางเก่า
ชุมชนมีความ
พร้อม มีวัด โรง
เรียน สถานที่พัก
ผ่อน ประชาชนมี
สุขภาพแข็งแรง
สุขภาพจิตดี นาง
สงวนศรี มีความ
สัมพันธ์ที่ดีกับ
บุคคลทุกคนใน
ชุมชน
ระเบียบของ
กองทุนได้
กำหนดขึ้นโดย
ความเห็นชอบ
ของประชาชน
วัตถุประสงค์
ของชุมชนสอด
คล้องกับวิถี
ชีวิตชุมชน เป็น
ที่พึงพอใจของ
ประชาชน
ชอบรับข่าว
สารทุกสาขา
ทั้งจากหนังสือ
พิมพ์ ฟังวิทยุ
ดูโทรทัศน์
โดยเฉพาะ
เรื่องเกี่ยวกับ
การเมืองและ
ไม่ชอบอย่าง
มากคือข่าว
การฆ่ากัน
38
กรณีศึกษาที่ 2 นางวรรณา แม้นเลขา อยู่บ้านเลขที่ 497 ซอย 13 ชุมชนวัดเทพากรร่วม
ใจ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 4 สรุปข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตของ นางวรรณา แม้นเลขา
ภูมิหลังของบิดามารดา ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาเป็นชาวจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ประกอบ
อาชีพขายผลไม้มีบุตร 5
คน นางวรรณาเป็นคนที่ 2
มีความปรารถนาที่จะให้
บุตรทุกคนได้ศึกษาเล่า
เรียนที่ดีจึงได้ขายบ้านและ
ย้ายครอบครัวที่กรุงเทพที่
ซอยจรัญสนิทวงศ์ 35
ประกอบอาชีพขายอาหาร
สด เช่น หมู เนื้อ ไก่ ปลา
และผักสด ภายในบ้านซึ่ง
เป็นอาคารพาณิชย์ มีราย
ได้พอที่จะส่งให้บุตรทุกคน
มีการศึกษาที่ดี ตามา
มารดาประสบอุบัติเหตุเสีย
ชีวิต ขณะที่เรียนอยู่ระดับ
วัยเด็กช่วยบิดา
มารดาเลี้ยงน้อง
ช่วยทำงานบ้าน
การไปและกลับ
จากโรงเรียนจะ
ต้องพร้อมกัน
ทำให้พี่น้องมี
ความผูกพันกัน
มาก
ระเบียบมัธยม
ศึกษาที่จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
และต่อในระดับ
ปวช. พาณิชยการ
ธนบุรี ก่อนไปโรง
เรียนจะต้องช่วย
มารดาจัดของขาย
ให้เรียนร้อยก่อน
เฉพาะวันหยุดจะ
ไปช่วยมารดาซื้อ
ของที่ตลาดในช่วง
นี้ค่าครองชีพใน
ครอบครัวสูงจึง
ต้องประหยัดราย
จ่าย จะไม่ใช้จ่าย
ในสิ่งที่ไม่จำเป็น
ทำงานหน้าที่
พนักงานขาย
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่
เซ็นทรัลเป็นระยะ
เวลา 6 ปี มีรายได้
แบ่งให้บิดาและ
น้องต่อมาได้แต่ง
งานและย้ายเข้า
ไปอยู่ในบ้านของ
สามี จนกระทั่งมี
บุตรคนแรกจึงได้
ลาออกจากงาน
มาทำหน้าที่เลี้ยง
บุตรและรับใช้
ปรนนิบัติแม่บุญ
ธรรมของสามี
และเป็นที่รักของ
ปัจจุบันประกอบ
อาชีพขายอาหารสั่ง
มีรายได้พอจุนเจือ
ครอบครัวสำหรับ
สามีได้ย้ายไปทำงาน
ที่ต่างจังหวัดจะกลับ
มาเยี่ยมครอบครัว
ประมาณสองถึงสาม
เดือนต่อครั้ง รายได้
จากการประกอบ
อาชีพทั้งสองคนพอที่
จะส่งเสียให้บุตรสาม
คนเรียนหนังสือ แต่
จะต้องใช้จ่ายอย่าง
ประหยัด
39
ปวช. ปีที่ 2 จึงต้องรับภาระ
ร่วมกับพี่และบิดาทำหน้าที่
แทนจนตัวเองและน้อง ๆ
จบการศึกษาในระดับหนึ่ง
แม่บุญธรรมมาก
ก่อนเสียชีวิตได้ทำ
พินัยกรรมยกบ้าน
ที่อยู่อาศัยให้จน
กระทั่งบัดนี้
ตารางที่ 4 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบกอง
ทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
พี่น้องมีความ
สัมพันธ์กันมาก
วัยเด็กไปและ
กลับจากโรง
เรียนพร้อมกัน
ทุกวัน รับ
ประทาน
อาหารร่วมกัน
เล่นด้วยกัน
บิดามารดาอบ
รมสั่งสอนให้
ช่วยเหลือตัว
เอง และรับ
ภาระงาน แทน
บิดามารดา
บิดามารดา
เป็นแบบอย่าง
ของความขยัน
ขันแข็งและ
ความซื่อสัตย์
สุจริต
ได้เข้าร่วมทำ
กิจกรรมในวัน
สำคัญทาง
ศาสนาตั้งแต่
ในโรงเรียนจน
กระทั่ง
ปัจจุบัน เมื่อ
ย้ายเข้ามาอยู่
ในบ้านของ
สามีก็ได้รับ
การอุปการะ
จากวัดในบาง
เรื่อง เช่น
ทำงานศพให้
แก่แม่บุญ
ธรรมของสามี
และได้ให้
ความช่วย
เหลือกิจกรรม
ของวันเป็น
การตอบแทน
ไม่มีโอกาสใกล้
ชิดกับครู
อาจารย์มากนัก
เมื่อเลิกจาก
เรียนก็ต้องรีบ
กลับไปช่วยบิดา
มารดา
ชุมชนมีความพร้อม
ทางด้านเศรษฐกิจ
และสังคม สุขภาพ
กาย สุขภาพจิต ของ
ประชาชนดี นางวร
รณาได้ใกล้ชิดกับผู้
สูงอายุภายในชุมชน
ทำให้ได้รับความ
เมตตาจากผู้สูงอายุ
เสมอ
ระเบียบกอง
ทุนกำหนดขึ้น
โดยจากความ
เห็นชอบของ
ประชาชนมี
วัตถุประสงค์
สอดคล้องกับ
วิถีชีวิตของชุม
ชน เป็นที่พึง
พอใจของ
ประชาชน
ได้รับข่าวสาร
จากเพื่อนบ้าน
และจากโทรทัศน์
ส่วนมากจะดูราย
การบันเทิงพร้อม
กับบุตร
40
ทุกครั้ง
2. ชุมชนพัฒนาซอย 79
แผนภาพที่ 3 แสดงป้ายและทางเข้าชุมชนพัฒนาซอย 79
ชุมชนพัฒนา ซอย 79 ตั้งอยู่ที่ ซอย จรัญสนิทวงศ์ 79 หลังโรงเรียนวัดบางพลัด
แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนเมืองขนาดเล็ก มีบ้านเรือนของ
ประชาชน 101 หลังคาเรือน 144 ครอบครัว มีจำนวนประชากรทั้งหมด 599 คน
สภาพเดิมของชุมชนเป็นพื้นที่สวนผลไม้ และเป็นที่ของเอกชน ต่อมาประชาชนอพยพมา
จากภูมิภาคต่าง ๆ เข้ามาแบ่งซื้อที่บ้าง เช่าที่บ้าง ปลูกสร้างบ้านอยู่อาศัย เกิดสภาพความแออัดมาก
ขึ้น จึงได้รวมตัวจัดตั้งเป็นชุมชนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2521 ปี พ.ศ. 2529 เกิดอัคคีภัยครั้งใหญ่ทำให้บ้าน
เรือนเสียหายเกือบหมด ประชาชนจึงได้จัดระเบียบชุมชนขึ้นใหม่ โดยได้แบ่งพื้นที่สร้างบ้านให้เป็น
ระเบียบขึ้น เศรษฐกิจชุมชน ภายในชุมชนไม่มีทรัพยากรธรรมชาติ ประชาชนมีอาชีพรับจ้าง ค้าขาย
41
รัฐวิสาหกิจ และรับราชการ ตามลำดับ รายได้ของประชาชนโดยเฉลี่ยรายได้ขั้นต่ำสุดครอบครัวละ
50,000 บาท ต่อปีขึ้นไป ส่วนมากประชาชนประกอบอาชีพรับจ้าง มีรายได้ไม่แน่นอน ประชาชนมี
ฐานะพอมีพอกิน ค่อนข้างยากจน สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม ลักษณะผสมผสานกันระหว่าง
เจ้าของถิ่นเดิมกับผู้มาอยู่ใหม่ เป็นชุมชนเปิดมีผู้มาเช่าบ้านอยู่อาศัยชั่วคราว แต่ชุมชนสามารถรวม
ตัวกันได้ในโอกาสที่ต้องการความร่วมมือกันทำความสะอาด ลอกท่อ การจัดงานวันปีใหม่ วัน
สงกรานต์ ตลอดจนกิจกรรมการเสริมสร้างสุขภาพของประชาชนจะมีการรวมกลุ่มกันออกกำลังกาย
ทกุ วนั นบั ไดว้ า่ ประชาชนมีคณุ ภาพ มีความสามัคค ี มีจิตสำนึกร่วมกัน จงึ ไดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ปน็
ชุมชนนำร่องจัดตั้งกองทุนหมู่บ้าน และสามารถบริหารจัดการได้ประสบผลสำเร็จ ดำเนินงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ สืบเนื่องจากพฤติกรรมดี มีจริยธรรมของสมาชิกผู้ใช้บริการ ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการศึกษา
และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ สมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนชุมชนพัฒนา ซอย 79
ที่ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการกองทุนให้เป็นลูกหนี้ชั้นดี 2 คน ประกอบด้วย 1) นางพรรณิ
ภา อุ่นแจ่ม 2) นางเรณู นำผล มีผลการศึกษาและวิเคราะห์ดังนี้
42
กรณีศึกษาที่ 3 นางพรรณิภา อุ่นแจ่ม อยู่บ้านเลขที่ 463/57 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ชุมชน
พัฒนาซอย 79 เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร เป็นสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านชุมชน
พัฒนาซอย 79
ตารางที่ 5 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ นางพรรณิภา อุ่นแจ่ม
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาเป็นชาว
นนทบุรี มีอาชีพหลัก
คือทำสวนทุเรียน และ
มีอาชีพปลูกผักเลี้ยง
เป็ดเป็นอาชีพเสริม
เมื่อมีความเปลี่ยน
แปลงทางธรรมชาติทำ
ให้น้ำท่วมสวนทุเรียน
จนสวนล่ม จึงเปลี่ยน
อาชีพไปขายหนังสือที่
ซุ้มหน้าสนามหลวง ต่อ
มาบิดา ถึงแก่กรรม
มารดาทำหน้าที่แทนได้
ห้าปีได้เปรียบไปรับเย็บ
เสื้อผ้าที่ตลาดโบ้เบ้
และได้ย้ายบ้านออกมา
จากสวนบางกรวยมา
อยู่ที่ซอยจรัญ 79 จน
ถึงปัจจุบันนี้
ค่อนข้างสบายไม่
ต้องรับภาระใด ๆ
แต่จะได้รับการอ
บรมจากบิดา
ด้วยวิธีการที่แยบ
ยล เมื่อเข้าไป
ทำงานในสวนจะ
ให้ไปด้วย และ
สอนให้ทำงานเล็ก
ไปก่อน จนกระทั่ง
โตพอที่จะไปโรง
เรียนจึงได้หยุด
ได้รับการศึกษา
ระดับประถามจาก
โรงเรียนวัดสวนพริก
แล้วไปเรียนต่อ
ระดับมัธยมศึกษาที่
โรงเรียนบวรมงคล
จบการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอน
ปลาย แล้วไปต่อที่
โรงเรียนพณิชการ
ดุสิตจนจบการ
ศึกษาระดับ ปวช.
ในช่วงการเรียน
ระดับมัธยม เป็น
ระยะที่ติดเพื่อนมาก
ทำให้การเรียนตก
แต่ได้รับการเอาใจ
ใส่ดูแล ต่อมาปี
พ.ศ. 2540 ได้ศึกษา
ทำงานครั้งแรกใน
บริษัทอุตสาหกรรม
นมไทย ได้รับเงิน
เดือนหกพันบาทให้
มารดาทั้งหมดต่อมา
ย้ายไปทำงานบริษัท
สิตเติ้ลไฟเบอร์ได้
เงินเดือนเก้าพันบาท
จนกระทั่งลาออก
เมื่อจบการศึกษา
ระดับปริญญาตรีได้
เข้าทำงานกองทุน
หมู่บ้านอีก 10 เดือน
จนจบโครงการ มี
ความเข้าใจ วัตถุ
ประสงค์ในการจัดตั้ง
กองทุนหนึ่งล้าน
บาทของรัฐบาลเพื่อ
เป็นการพัฒนา
ช่วยมารดา
ทำงานภายใน
บ้านซึ่งมีอาชีพ
รับเลี้ยงเด็ก รับ
ตัดเย็บเสื้อผ้า
และมีรายได้พอ
ที่จะดำรงชีพได้
43
ปริญญาตรีจาก
สถาบัน
ราชภัฏสวนดุสิต
เศรษฐกิจและบ้าน
เมือง
ตารางที่ 6 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบกองทุน การเลือกรับ
ข่าวสาร
ในวัยเด็กครอบ
ครัวมีความอบ
อุ่น พ่อแม่ลูกมี
โอกาสได้รับ
ประทาน
อาหารร่วมกัน
ทุกวัน ช่วยกัน
ทำงานบ้าน
และงานใน
สวนผลไม้ บิดา
มารดาฝึกให้รู้
จักหาเงินด้วย
ตนเองด้วยการ
เก็พืชผักใน
สวนไปขายที่
ตลาดรวบรวม
เงินได้มากพอ
ประมาณ เป็น
แบบอย่างที่ดี
ในความขยัน
ขันแข็ง มีความ
เอื้ออารี ไม่
วัยเด็กไปทำ
บุญ และเยี่ยม
ญาติที่บวช
เป็นพระเป็น
ประจำ
ปัจจุบันไปทำ
บุญกระดูก
บรรพบุรุษ
ตามวันเทศ
กาลประจำปี
ทำบุญตัก
บาตร วัดอยู่
ใกล้บ้าน ช่วย
กิจการของวัด
เป็นประจำใน
วันสำคัญทาง
ศาสนา มี
ความเข้าใจ
ในหลักธรรม
บ้าง
มีความ
ประทับใจ
และมีความ
ผูกพันกับครู
ประนอมที่
สอนอยู่ใน
ระดับมัธยม
ปัจจุบันยังคง
ไปคารวะเป็น
ประจำและ
บ่อยครั้ง
เป็นชุมชนที่มีทั้งคน
ที่เป็นเจ้าของพื้นที่
และผู้ที่ย้ายมาใหม่
สังคมภายในชุมชน
มีบ่อนการพนัน มี
กลุ่มนายทุน แต่ยังมี
วัฒนธรรมที่ดีมี
ความเอื้อเฝื้อเกื้อกูล
กันตามวิถีชีวิตแบบ
ชนบทมีความเคารพ
นับถือผู้อาวุโส
กำหนดโดยความ
เห็นชอบของ
ประชาชนมีวัตถุ
ประสงค์ที่สอด
คล้องกับวิถีของ
ชุมชนเพื่อให้เกิด
การสร้างงาน
ใหม่ลดค่าใช้จ่าย
ซึ่งมีความสอด
คล้องกับวิถีชีวิต
ของชุมชน
ชอบฟังวิทยุ รับ
ฟังทุกข่าวสาร
ชอบอ่านข่าว
ชุมชนทางสังคม
44
เบียดเบียนผู้
อื่น
กรณีศึกษาที่ 4 นางเรณู นำผล อยู่บ้านเลขที่ 463/127 ซอย 79 ชุมชนพัฒนาซอย 79
เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 7 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ นางเรณู นำผล
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาเป็นชาว
จังหวัดสุพรรณบุรี มี
อาชีพค้าขาย มีกิจการ
เป็นเจ้าของเรือลากจูง
เจ้าของยุ้งข้าว และเจ้า
ของโรงสีข้าว ฐานะอยู่
ในระดับเศรษฐี มีบุตร
ห้าคน บิดาเสียชีวิตใน
ขณะที่นางเรณูกำลัง
ศึกษา มารดาจึงเลิกกิจ
การธุรกิจ ทุกประเภท
และย้ายไปอยู่กับนาง
เรณูที่กรุงเทพ ซึ่งขณะ
นั้นกำลังศึกษาอยู่และ
ได้ถึงแก่กรรมที่
กรุงเทพฯ
เป็นบุตรคนเดียว
ของบิดามารดาจึ่ง
เป็นที่รักของ
สมาชิกในครอบ
ครัว มีความ
สะดวกสบาย ไม่
ต้องรับผิดชอบ
หรือภาระงานใด
ๆ มีหน้าที่เรียน
หนังสืออย่างเดียว
มีเพื่อนเล่นใน
ระหว่างพี่น้องซึ่ง
เป็นผู้ชายทั้ง 4
คน
จบการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาจาก
จังหวัดสุพรรณบุรี
ผลการเรียนอยู่ใน
ระดับดี มีความ
ประสงค์จะเรียนต่อ
ที่จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย แต่
บิดามารดาไม
ต้องการให้อยู่ที่
กรุงเทพจึงได้ส่งให้
ไปเรียนที่โรงเรียน
ฝึกหัดครูที่จังหวัด
เพชรบุรี เพื่ออยู่ใกล้
พี่ชาย ช่วงเรียนอยู่ที่
นั้นได้รับการคัด
เลือกให้เป็นประธาน
ฝ่ายกีฬา และได้
ศึกษาต่อในระดับ
เริ่มเป็นครูสอนใน
โรงเรียนเอกชน
และได้รับคัดเลือก
ให้เป็นหัวหน้าภาค
วิชาภาษาอังกฤษ
ทำอาชีพนี้นาน 12
ปีจึงได้ลาออกไป
ทำงานบริษัทการ
บินไทย 4 ปี ได้รับ
ค่าตอบแทนสูง แต่
คิดว่าไม่ใช่งานที่
ตนชอบจึงได้ลาอ
อำปทำงานเป็นเจ้า
หน้าที่ของการท่า
เรือ มีภาระหน้าที่
รับผิดชอบงานสูง
มาก แต่ถูกกับ
ลักษณะนิสัยของ
ตน ทำงานอยู่ 8 ปี
เปิดบ้านรับสอน
พิเศษวิชาภาษา
อังกฤษ และส่วน
หนึ่งเปิดเป็นศูนย์
เด็กเล็กของชุมชน
ทำหน้าที่บริการ
และจัดการ ทำ
หน้าที่เป็นเลขานุ
การของกองทุน
หมู่บ้าน และได้รับ
การคัดเลือกให้
เป็นประธานกอง
ทุนแทนคนเดิมที่
หมดวาระ
45
ปริญญาตรีที่
วิทยาลัยครูสวนสุ
นันทา
จึงได้ลาออกมา
เพื่อปรนนิบัติ
มารดาที่ชรา
ตารางที่ 8 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
ครอบครัวมี
ความสมบูรณ์
บิดามารดาให้
ความรัก เข้ม
งวด ความมี
ระเบียบวินัย
ปรารถนาให้
บุตรมีการ
ศึกษาจึงส่ง
เสริมผลักดันให้
รักการเรียน
เพื่อให้บุตรมี
หน้าที่การงาน
ในทางราชการ
ไม่มีความ
สัมพันธ์กับ
วัด แต่มี
ความเชื่อ
ศรัทธาใน
หลักธรรม
ตามแบบ
อย่างของ
บรรพบุรุษ
และไปทำ
บุญที่วัดใกล้
บ้านตาม
ประเพณี
มีความเคารพนับ
ถืออาจารย์ผู้สอน
วิชาพลศึกษาที่
ช่วยสนับสนุนให้
เป็นประธานนัก
กีฬาในโรงเรียน
เป็นสมาชิกในชุมชน
แต่เป็นผู้ที่มีความรู้
ความสามารถและมี
จิตวิทยในการสร้าง
ความสัมพันธ์ทำให้
เป็นที่เชื่อถือและไว้
วางใจได้รับการคัด
เลือกให้เป็นเลขานุ
การกองทุนและ
ประธานกองทุนตาม
ลำดับ
มีความเข้าใจ
ในวัตถุ
ประสงค์และ
ระเบียบกอง
ทุนที่กำหนด
ขึ้นโดยประชา
ชนในชุมชน
รับข่าวสารจาก
ทุกด้าน สนใจใน
เรื่องของเหตุ
การณ์บ้านเมือง
อีกทั้งเป็นผู้ที่จะ
ต้องนำข่าวสาร
ต่าง ๆ เผยแพร่
แก่ประชาชนด้วย
46
3. ชุมชนฉัตรชัย-เสริมโชค
แผนภาพที่ 4 แสดงป้ายและทางเข้าชุมชนฉัตรชัยเสริมโชค
ชุมชนฉัตรชัย-เสริมโชคตั้งอยู่ที่ถนนเรียบคลองทวีวัฒนา แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม
กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นพื้นที่ทำการเกษตรของชาวสวนดอกไม้ มีเนื้อที่ทั้งหมด 117 ไร่ เจ้าของที่
เดิมได้แบ่งที่ขายเป็นแปลง เมื่อมีประชาชนมาปลูกบ้านอยู่อาศัยมากขึ้นจึงได้จัดตั้งเป็นชุมชนขึ้นเมื่อ
พ.ศ.2525 สภาพทั่วไปของชุมชน เป็นชุมชนชายขอบ ประชาชนจะสร้างบ้านเรือนอยู่รวมกันเป็น
กลุ่ม ๆ ซึ่งอยู่อาศัยกันแบบหลวม ยังคงเหลือพื้นที่ว่างเปล่าอีกมาก จำนวนประชาชนประมาณ
3,200 คน จำนวน 291 หลังคาเรือน ปลูกสร้างอยู่อย่างไม่เป็นระเบียบ ชุมชนยังอยู่ในระหว่างการ
พัฒนา เริ่มสร้างสิ่งสาธารณูปโภคต่าง ๆ เศรษฐกิจของชุมชน ในชุมชนไม่มีทรัพยากรธรรมชาติใด
ประชาชนที่มาสร้างบ้านเรือนมาจากต่างถิ่น ไม่มีคนพื้นที่เดิม ผู้ที่มาใหม่ต่างเริ่มสร้างฐานะ อาชีพ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ค้าขาย ทำธุรกิจส่วนตัว และรับราชการ ส่วนมากจะมีราย
47
ได้ไม่แน่นอน ฐานะของประชาชนพอมีพอกิน ค่อนข้างยากจน สภาพของสังคมและวัฒนธรรม
สังคมของชุมชนใช้ชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ ช่วยเหลือตัวเอง แต่ด้วยความสามารถของผู้นำชุมชนที่
เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้ที่มีความเข้มแข็ง มีความสามารถในการประชาสัมพันธ์ โน้มน้าวใจ
ประชาชนให้มารวมตัวกันได ้ และได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานเขตหนองแขมให้เป็นชุมชนนำร่อง
จัดตั้งกองทุนหมู่บ้าน บริหารจัดการจนประสบผลสำเร็จ และได้รับการคัดเลือกจัดอยู่ในกลุ่มของกอง
ทุนชั้นดีของประเทศ ได้รับรางวัลและโล่เกียรติยศจากนายกรัฐมนตรี ซึ่งนับได้ว่านอกจากความ
สามารถของผู้นำแล้ว ส่วนสำคัญก็คือสมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนที่เป็นผู้ที่รู้หน้าที่ มีระเบียบวินัย รับ
ผิดชอบต่อสังคม คนดีมีจริยธรรม จึงส่งผลให้กองทุนประสบผลสำเร็จ และดีเด่น ผลการศึกษาและ
วิเคราะห์สมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุน ฉัตรชัย-เสริมโชค เป็นรายบุคคล 2 ราย ประกอบด้วย 1)
นางปราณี ปฐพี 2) นางเอื้อมเดือน ทุถาวร มีผลการศึกษาและวิเคราะห์ ดังนี้
48
กรณีศึกษาที่ 5 นางปราณี ปฐพี อายุ 56 ปี อยู่บ้านเลขที่ 4/4 ชุมชน ฉัตรชัย-เสริม แขวงหนอง
ค้างพลู เขต หนองแขม กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 9 มูลเกี่ยวกับประวัติชีวิต ของนาง ปราณี ปฐพี
ภูมิหลังของบิดามารดา ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาเป็นชาว
จังหวัดสุพรรณบุรี ฐานะ
ยากจน อาชีพรับจ้าง
ทำนา เมื่อผ่านฤดูทำนา
ทั้งบิดาและมารดาออก
ไปหางานรับจ้างตามต่าง
จังหวัดใกล้เคียง ต่อมา
เมื่อบุตรคนโตจบการ
ศึกษา ป. 4 ได้ย้ายครอบ
ครัวไปทำงานในสวนผล
ไม้ ที่จังหวัดชลบุรี จน
กระทั่งนางปราณีมีสามี
จึงได้ย้ายครอบครัวมาส
ร้างบ้านอยู่ที่แขวงทวี
วัฒนา มีอาชีพปลูกผัก
สวนครัวขายเลี้ยงชีพ
ชีวิตในสัยเด็กมี
ความยากจนและ
ลำบากไม่มีโอกาส
ได้เล่นสนุกสนาน
แบบเด็กทั่วไป ต้อง
ช่วยบิดามารดา
เลี้ยงน้อง เมื่อบิดา
มารดไปรับจ้าง
ทำงานจังหวัดใกล้
เคียง จะอยู่กันตาม
ลำพังพี่น้องสาม
คน
จบการศึกษาระดับ
ประถมศึกษาปีที่ 4
จากโรงเรียนวัดใน
ชนบทห่างไกล
ความเจริญ ไม่มี
ความประทับใจใด
ๆ
ทำงานเป็นคนงา
ก่อสร้างถนนจน
กระทั้งตั้งครรภ์
ใกล้คลอดจึงได้
ลาออกตั้งแต่บัด
นั้น
ขายอาหารตาม
สั่งหน้าชุมชนฉัตร
ชัย-เสริมโชค มี
รายได้ไม่
สม่ำเสมอ
49
ตารางที่ 10 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
ฐานะยากจน
แต่บิดามารดา
มีความรักและ
ห่างใย เป็น
แบบอย่างที่ดีมี
ความขยัน อด
ทน ประกอบ
อาชีพสุจริต
ในชุมชนไม่มี
วัด แต่เมื่อถึ
วันเทศกาล
สำคัญทาง
ศาสนาจะไป
ทำบุญที่วัดที่
อยู่ใกล้กับชุม
ชน
เรียนหนังสือแค่สี่
ปี พออ่านออก
เขียนได้ และใน
ระหว่างนั้นอยู่ใน
ช่วงชีวิตที่ขัดสน
ไม่มีความประทับ
ใจใด ๆ
เป็นชุมชนเมือง ชาย
ขอบ ไม่มีวัด ไม่มีโรง
เรียน มีโรงงานท่อนำ
ไท อยู่ใกล้กับชุมชน
ความสัมพันธ์ของ
ประชาชนมีกันแบบ
หลอม ๆ
มีความเข้าใจ
วัตถุประสงค์
ของกองทุน
และพอใจการ
กำหนด
ระเบียบกอง
ทุน
ส่วนมากรับข่าว
สารจากโทรทัศน์
นิยมดูละครเพื่อ
ความบันเทิง ข่าว
สารจากทางราช
การจะได้รับจาก
ผู้นำ
50
กรณีศึกษาที่ 6 นางเอื้อมเดือน ทุถาวร อายุ 33 ปี บ้านเลขที่ 4/5 ชุมชนฉัตรชัย-เสริมโชค
แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 11 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ นางเอื้อมเดือน ทุถาวร
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาเป็นชาว
จังหวัดชลบุรี มีอาชีพ
เป็นช่างก่อสร้างและ
ช่างเย็บผ้า มีบุตร 4 คน
นางเอื้อมเดือน เป็น
บุตรคนที่ 2 ของครอบ
ครัว ฐานะพอมีพอกิน
มีรายได้ไม่แน่นอน ต่อ
มาเมื่อบุตรทุกคนโตพอ
จะเลี้ยงตัวเองได้ บิดา
จึงได้ไปบวชเป็นพระ
และครองตนเป็น สม
เพศมาจนถึงปัจจุบันนี้
ส่วนมารดาก็ได้เลิก
อาชีพการเย็บเสื้อผ้า มี
อาชีพแม่บ้าน
วัยเด็กช่วยมารดา
ทำงานบ้าน และ
ช่วยเป้ฯลูกมอการ
เย็บเสื้อผ้าให้
มารดา จะไม่มี
เวลาว่างพอ
สำหรับการไป
เที่ยวหรือเล่นตาม
ประสาของวัยเด็ก
จบการศึกษาประ
ถามศึกษาปีที่ 6
จาดโรงเรียนที่อยู่
ใกล้บ้านที่จังหวัด
ชลบุรี
เป็นพี่เลี้ยงเด็กใน
บ้านของนาย
ทหารเรือ นาน
สามปี จากนั้นจึง
ไปทกงานเป็นช่าง
เย็บเสื้อผ้าในโรง
งานที่กรุงเทพฯ มี
รายได้ส่งไปช่วย
เหลือบิดามารดา
ส่งน้องเรียน เมื่อมี
ประสบการณ์เย็บ
ผ้ามากขึ้นก็ได้
ออกจากโรงงาน
รับเย็บเสื้อโหลที่
บ้าน
เปิดบ้านเป็นโรงงาน
เย็บเสื่อผ้าขนาดเล็ก
ลูกจ้างส่วนมาจะเป็น
ญาติพี่น้องที่มาจาก
ชลบุรี ตนทำหน้าที่
บริหารในด้านการ
ตลาดโดยมีสามีเป็น
ผู้ช่วยเหลือ
51
ตารางที่ 12 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
ฐานะครอบ
ครัวมีพอกินพอ
ใจ ครอบครัวมี
ความรัก ความ
ผูกพัน เป็น
แบบอย่างของ
ความขยัน
ขันแข็ง มีความ
รับผิดชอบ
มีความผูก
พันกับวัด
เพราะบิดา
บวชเป็นพระ
มีความเชื่อ
ในหลักคำ
สอน ทาง
ศาสนา แต่
ไม่ซาบซึ้ง
มีความประทับใจ
กับครูใหญ่ ตน
เคยถูกครูลงโทษ
ให้หลาบจำ
เพราะไม่เข้าเรียน
เป็นชุมชนเมืองชาย
ขอบไม่มีวัด ไม่มีโรง
เรียน มีโรงงานท่อ
น้ำไทยใกล้
ชุมชน
วัตถุประสงค์
และระเบียบ
กองทุน
กำหนดขึ้น
โดยประชาชน
ในชุมชนยิน
ยอมที่จะ
ปฏิบัติตาม
เงื่อนไขทุก
ประการ
รับข่าวจากสื่อใน
ทัศน์ เมื่อความ
บันเทิงข่าวทาง
ราชการจากผู้นำ
ชุมชน
52
4. ชุมชนวัดบางขุนนนท์
แผนภาพที่ 5 แสดงป้ายชุมชนวัดบางขุนนนท์
ชุมชนวัดบางขุนนนท์ ตั้งอยู่ที่ ถนนบางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย
กรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนเมืองขนาดเล็กมีพื้นที่ 6 ไร่ สภาพเดิมเป็นป่า มีประชาชนอาศัยอยู่
เพียง 8-9 หลังคาเรือน ต่อมาเมื่อการรถไฟแห่งประเทศไทย สร้างทางรถไฟจากบางกอกน้อยไป
ภาคใต้ การสัญจรสะดวกมากขึ้น ประชาชนจึงได้อพยพเข้ามาปลูกสร้างบ้านเรือนโดยเช่าที่ของวัด
บ้าง เอกชนบ้าง ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่มาจากภาคใต้และภาคอีสาน จนกระทั่งได้จัดตั้งเป็นชุมชน
ในปี พ.ศ. 2532 สภาพโดยทั่วไปของชุมชน เป็นชุมชนแออัด ติดกับกำแพงด้านหลังของวัด บางขุน
นนท์ และโรงเรียนวัดบางขุนนนท์ สภาพของบ้านเรือน ส่วนมากจะปลูกสร้างบ้านไม้ หลังคาติดต่อ
กัน ทางเดินเป็นถนนคอนกรีตแคบ ๆ แต่มีความสอดคล้องพอสมควร ส่วนที่ติดต่อกับวัดจะไม่มีต้น
53
ไม้ ส่วนด้านหลังของชุมชนติดต่อกับทางรถไฟสายใต้ บางส่วนยังเป็นทางเปลี่ยว ความหนาแน่น
ของชุมชนจะอยู่ส่วนติดกับวัด สังคมและวัฒนธรรม ประชาชนมีโอกาสพบประกันเมื่อมีเทศกาล
งานวัด เพราะในวัดบางขุนนนท์ มีศูนย์รวมจิตใจของประชาชน คือ หลวงพ่อดำ นอกจากนี้ ความ
สัมพันธ์ของประชาชนมีเป็น กลุ่ม ๆ เฉพาะผู้ที่ทำกิจกรรมกลุ่ม เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มออมทรัพย์
กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มกองทุน แต่อย่างไรก็ตามนับว่าประชาชนของชุมชนมีคุณภาพ รู้หน้าที่ความรับผิด
ชอบ ทำให้ชุมชนได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนนำร่องในการจัดตั้งกองทุนหมู่บ้าน และได้บริหารจัด
การกองทุนได้ประสบผลสำเร็จ เป็นการบ่งบอกถึงคุณภาพของประชาชนที่รู้หน้าที่มีความรับผิด
ชอบ โดยเฉพาะสมาชิกกองทุนผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้านที่เป็นคนดีมีจริยธรรม
ผลการศกึ ษาและวเิ คราะห ์ สมาชกิ ผใู้ ชป้ ระโยชนจ์ ากกองทนุ เปน็ รายบคุ คล จากชุมชน วดั
บางขุนนนท์มี 2 ราย ประกอบด้วย 1) นางกมลรัตน์ ยามมีสิน 2) นางพัทยา รุ่งเดชารัตน์ มีผลการ
ศึกษาและวิเคราะห์ ดังนี้
54
กรณีศึกษาที่ 7 นางกมลรัตน์ ยามมีสิน อายุ 33ปี บ้านเลขที่ 34/43 ชุมชนวัดบางขุนนนท์
แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 13 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ นางกมลรัตน์ ยามมีสิน
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดา ชื่อ นายทองดี
เคยบวชอยู่ที่กรุงเทพ
เป็นเวลาหลายพรรษา
เมื่อลาสิขาบทออกมาก็
ประกอบอาชีพขับรถ
สามล้อ และประกอบ
อาชีพตัดผม จนกระทั่ง
ได้สมรสกับ นางหนูผล
ซึ่งเป็นชาวชัยภูมิด้วย
กัน ได้ประกอบอาชีพ
ขายอาหาร ฐานะพอมี
พอกิน มีลูกทั้งหมด 3
คน นางกมลรัตน์ เป็น
คนที่สอง การประกอบ
อาชีพขายของนั้นได้ทำ
มาจนกระทั่งปัจจุบันนี้
ช่วยเหลือพ่อแม่
ในการประกอบ
อาหารและทำงาน
ทั่วไปภายใน
ครอบครัว ก่อนไป
โรงเรียนเป็นกิจ
วัตรประจำวันทำ
ให้ได้ฝึกให้เป็นผู้มี
ความรับผิดชอบ
และการขยันอด
ทน
จบการศึกษา
ระดับประถม
ศึกษาตอนปลาย
จากโรงเรียนวัด
บางขุนนนท์ซึ่งอยู่
ใกล้บ้าน และ
ศึกษาต่อในระดับ
อาชีวศึกษาที่
พาณิชยการราช
ดำเนินเรียนได้
เพียง 1 ปี เพราะมี
ครอบครัว
ช่วยบิดามารดา
ขายอาหารที่บ้าน
ประมาณ 5 ปี
และไปเป็นลูกจ้าง
ทำหน้าที่เป็นแม่
ครัวให้กับชาว
เกาหลี ประมาณ
5 ปี จึงลาออก
กลับมาช่วยบิดา
มารดาขายอาหาร
ที่บ้านเดิมเพราะ
ไม่มีผู้ช่วยเหลือ
มาจนกระทั่ง
ปัจจุบันนี้
ประกอบอาชีพขาย
อาหารร่วมกับบิดา
มารดาและได้ขยาย
กิจการทำน้ำผลไม้
แปรรูปขายปลีกและ
ขายส่ง ทำให้ฐานะ
ของครอบครัวดีขึ้น
ปัจจุบันได้เลิกร้างกับ
สามีคนแรกและได้
แต่งงานกับสามีคนที่
2 มีบุตร 1 คน
55
ตารางที่ 14 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
บ้านของนาง
กมลรัตน์ บิดา
มารดาให้ความ
รักความอบอุ่น
เป็นแบบอย่าง
ในการประกอบ
อาชีพที่สุจริต
อย่างขยัน
ขันแข็ง และมี
ความซื่อสัตย์
ต่อผู้บริโภค
มีความเชื่อ
ความศรัทธา
ในหลักคำ
สอนของ
ศาสนา และ
ทำนุบำรุง
พุทธศาสนา
เสมอเมื่อมี
โอกาส
ไม่มีความประทับ
ใจกับ
โรงเรียน
เป็นชุมชนที่ความ
ช่วยเหลือเกื้อกูล
ต่อกัน มีขนบธรรม
เนียมประเพณี ทำ
กิจกรรมร่วมกันใน
วันสำคัญทาง
ศาสนาและเทศ
กาล ต่าง ๆ แต่
ยังมีแหล่ง
อบายมุข เช่น
บ่อนการพนัน
กำหนดโดย
ความเห็นชอบ
ของประชาชน มี
วัตถุประสงค์ที่
สอดคล้องกับวิธี
ชีวิตของชุมชน
ประชาชนมี
ความเข้าใจและ
ยอมรับที่จะ
ปฏิบัติตามกฎ
ระเบียบที่
กำหนดไว้
รับข่าวสารทุก
ทางแต่ไม่ได้ให้
ความสำคัญกับ
เรื่องใดเป็นพิเศษ
56
กรณีศึกษาที่ 8 นางพิทยา รุ่งเดชารัตน์ อายุ 50 ปี บ้านเลขที่ 31/157 ชุมชนวัดบางขุนนนท์
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 15 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ นางพิทยา รุ่งเดชารัตน์
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดาเป็นคนเชื้อสายจีน
มารดาเป็นคนไทยตั้ง
บ้านเรือนอยู่ที่บริเวณ
ใกล้บริเวณปากแม่น้ำ
ท่าจีนจังหวัด
สมุทรสาคร ประกอบ
อาชีพเลี้ยงเป็ด
ช่วยบิดามารดา
ประกอบอาชีพ
และหารายได้มา
ตั้งแต่วัยเด็ก จน
กระทั่งเรียน
จบระดับมัธยม
ศึกษาปีที่ 6
จบการศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 บิดาจึงส่ง
ให้เรียนต่อด้าน
วิชาชีพเย็บเสื้อผ้า
จนได้รับความ
ชำนาญ
ประกอบอาชีพ
เป็นลูกจ้างเย็บ
เสื้อผ้ากับญาติผู้พี่
เมื่อมีความ
ชำนาญและมีฝี
มือดีขึ้นจึงแยกตัว
มาประกอบอาชีพ
เป็นช่างเย็บเสื้อ
ผ้าซึ่งมีรายเป็น
ของตนเองจน
กระทั่งได้สมรส
และมีบุตรจึงได้
ย้ายครอบครัวไป
อยู่ที่ชุมชนวัดบาง
ขุนนนท์
ประกอบอาชีพตัด
เย็บเสื้อผ้าทำอาหาร
ส่งขายตามสำนัก
งานที่เป็นลูกค้า
ประจำ ทำให้มีราย
ได้
เพียงพอกับค่าใช้จ่าย
ภายในครอบครัว
ส่วนสามีไปลงทุน
เลี้ยงกุ้งที่จังหวัด
ยะลา ปัจจุบันบุตร
สาวคนโตประกอบ
อาชีพเป็นนางพยา
บางที่โรงพยาบาลศิริ
ราช นับได้ว่าเป็น
ครอบครัวที่มีความ
สมบูรณ์ ปัจจุบันนาง
พิทยาเป็นเลขานุการ
กองทุนหมู่บ้าน
57
ตารางที่ 16 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
มีความผูกพันธ์
กับครอบครัว
บิดามารดารัก
เอาใจใส่
สนับสนุนเรื่อง
การศึกษา วิธี
การอบรมเลี้ยง
ดู บิดา
มารดา อบรม
สั่งสอนให้ลูก
ทำงาน อาชีพ
สุจริต มีความ
ขยันขันแข็ง
มัธยัสถ์
เป็นผู้จัดการ
ในการทำกิจ
กรรมของวัด
จึงมีความผูก
พันกับวัดสูง
มีความ
ศรัทธา และ
ความเชื่อใน
วิถีชีวิตชาว
พุทธสูง
ไม่มีประทับใจ
และผูกพันกับโรง
เรียนเนื่องจาก
นางพิทยามี
ความสนใจด้าน
การรักสวยรัก
งาน จึงหันไป
เรียนการตัดเย็บ
เสื้อผ้าตั้งแต่เด็ก
เป็นชุมชนที่ความ
ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อ
กัน มีขนบธรรม
เนียมประเพณี ทำ
กิจกรรมร่วมกันใน
วันสำคัญทาง
ศาสนาและเทศกาล
ต่าง ๆ แต่ ยังมี
แหล่งอบายมุข เช่น
บ่อนการพนัน
วัตถุประสงค์
ของกองทุนเพื่อ
ให้เงินกู้แก่
สมาชิก พัฒนา
จิตใจสมาชิกให้
เป็นคนดีมีคุณ
ธรรม 4 ประการ
เป็นที่เข้าใจและ
ยอมรับของ
สมาชิกองทุน
รับข่าวสารทุก
ทาง แต่ไม่ได้
ให้ความสำคัญ
เฉพาะเรื่องใด
เรื่องหนึ่งเป็น
พิเศษ ส่วน
มากจะรับข่าว
สารเพื่อความ
บันเทิง
58
5. ชุมชนหมู่ 6 บางระมาด
แผนภาพที่ 6 แสดงป้ายชุมชนหมู่ 6 บางระมาด
ชุมชนหมู่ 6 บางระมาด ตั้งอยู่แขวงบางระมาด หมู่ 6 เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร เป็นชุม
ชนชายขอบ ประชาชนมีอาชีพทำสวนผลไม้ปลูกพืชผสมผสานเป็นอาชีพหลัก
สภาพทั่วไป ประชาชนตั้งบ้านเรือนอยู่กันเป็นกลุ่ม ๆ มีความห่างที่สามารถติดต่อกันได้ ผู้ที่
มีฐานะจะสร้างบ้านเรือนอยู่ริมคลองบางระมาดซึ่งเป็นคลองสายหลักของชุมชน ผู้ที่เป็นญาติพี่น้อง
กันก็จะอยู่กันเป็นกลุ่ม สำหรับผู้ที่มีฐานะด้อยลงไปก็จะปลูกบ้านเรือนในสวน ซึ่งบ่งบอกถึงวิถีชีวิต
ดั้งเดิมที่มีความผูกพันอยู่กับสายน้ำ ใช้ลำคลองเป็นเส้นทางสัญจรขนผลผลิตจากสวนสู่ตลาด ซึ่งยัง
คงมีให้เห็นถึงวิถีชีวิตแบบชาวสวน อีกลักษณะคือด้านหลังของชุมชนปัจจุบันจะมีถนนเข้าถึงและมี
รถรับจ้างประจำทางวิ่งประจำ ซึ่งสภาพของชุมชนนี้จะมีให้เห็นทั้งแบบที่เป็นชนบทและเมือง มีพื้น
ที่ว่างเปล่าและมีอากาศบริสุทธิ์ เศรษฐกิจของชุมชน ประชาชนมีทั้งฐานะร่ำรวยและยากจน ผู้ร่ำรวย
จะมีที่สวนเป็นของตนเองและเป็นเจ้าของดั้งเดิม ส่วนที่ยากจนจะเป็นผู้ที่มีอาชีพรับจ้างทำงาน ที่อยู่
59
อาศัยสร้างแบบอยู่ชั่วคราว และยังมีอาชีพรับราชการและรัฐวิสาหกิจ ที่เข้าไปซื้อที่ปลูกบ้าน จะมี
ฐานะร่ำรวยเช่นกัน ภาพรวมของชุมชนประชาชนมีเศรษฐกิจดี สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม ถ้า
เป็นชาวบ้านดั้งเดิมยังคงใช้วิธีชีวิตแบบเรียบ ๆ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน จากการศึกษาพบว่า
ประชาชนร่วมมือร่วมใจกันไปช่วยเหลืองานของเพื่อนบ้าน เช่นงานบวช งานแต่งงาน และงานศพ
ชุมชนยังคงรักษาวัฒนธรรมของความเป็นชาวบ้าน มีฐานะเศรษฐกิจดีแต่ยังใช้วิธีชีวิตแบบเรียบ ๆ
ไม่อวดโอ้ มีความยึดมั่นเรื่องความมีบุญคุณต่อกันเป็นคุณาภพในจิตใจที่ได้ปลูกฝังกันมา ประกอบ
กับวิถีชีวิตที่อยู่ธรรมชาติที่ร่มเย็น การใช้ชีวิตจึงเรียบง่าย จากคุณภาพของประชาชนเป็นผลที่ส่งให้
ชุมชนได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนนำร่องการจัดตั้งกองทุนหมู่บ้านของเขตตลิ่งชัน และประสบผล
สำเร็จในการบริหารจัดการ
ผลการศึกษาและวิเคราะห์สมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนชุมชนหมู่ 6 บางระมาด เป็น
รายบุคคล 2 ราย ประกอบด้วย 1) นางลัดดา น่วมในชาติ 2) นายส้ม กล่ำถนอม มีผลการศึกษา
และวิเคราะห์ดังนี้
60
กรณีศึกษาที่ 9 นางลัดดา น่วมในชาติ อายุ 61 ปี อยู่บ้านเลขที่ 2 หมู่ 6 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน
กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 16 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของนางลัดดา น่วมในชาติ
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาของนาง
ลัดดา เป็นชาวสวน
ดั้งเดิมของ ชุมชน
บางระมาด เขต
ตลิ่งชัน ตั้งบ้านเรือน
อยู่ชายคลองบาง
ระมาด วิถีชีวิตเรียบ
ง่าย มีฐานะอยู่ใน
ร ะ ดั บ มี กิ น มี ใ ช้
ปัจจุบันบิดาถึงแก่
กรรม เหลือเพียง
มารดา ซึ่งชราภาพ
แต่ยังมีสุขภาพที่แข็ง
แรงสามารถที่จะ
ออกไปทำสวนใกล้
บ้านได้ และอยู่ร่วม
ครอบครัวเดียวกัน
กับนางลัดดามีวิถี
ชีวิตของครอบครัว
อยู่อย่างเรียบง่าย
ช่วยบิดามารดา
ทำงานบ้านและ
ช่วยเก็บพืชผักผล
ไม้ในสวนเพื่อให้
มารดานำไปขายที่
ตลาด และนอก
จากนี้ยังช่วยดูแล
คุณยายที่แก่ชรา
จนกระทั่งถึงแก่
กรรม
จบระดับการ
ศึกษาชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่ 6และ
ไม่ได้ศึกษาต่อที่
ใด ในขณะที่
เรียนหนังสือนั้น
ไม่ได้รับความ
สะดวกสบายใน
การเดินทางไป
โรงเรียน จะต้อง
เดินทางด้วยเท้า
เป็นระยะทาง
ไกลจึงจะได้ขึ้น
รถประจำทางไป
ถึงโรงเรียน
เป็นลูกจ้างรักษา
ความสะอาดในโรง
พยาบาลรามาธิบดี
จนเกษียณอายุราช
การ และได้ออกมา
ทำสวนผลไม้อยู่ที่
บ้านเดิม ซึ่งมีชีวิต
ที่เรียบงาน
ปัจจุบันมีอาชีพ
เก็บพืชผักผลไม้
ในสวนขายโดยมี
พ่อค้ามารับซื้อที่
บ้าน และ
ปรนนิบัติรับใช้
มารดา และคุณ
ป้าซึ่งชราภาพ มี
อายุ 80-90 ปี
61
ตารางที่ 18 สรุปข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
บ้านมีความ
รักความผูก
พันระหว่าง
พ่อแม่ลูก วิถี
ชีวิตอยู่แบบ
สมถะ สถาน
ภาพทาง
เศรษฐกิจมี
กินมีใช้ บิดา
มารดาอบรม
สั่งสอนให้เป็น
ผู้ที่มีความ
ขยัน อดทน
อดออม ไม่ฟุ้ง
เฟ้อ
มีความเชื่อ
ความ
ศรัทธาใน
หลักคำสอน
ของศาสนา
ทำบุญตัก
บาตรทุกวัน
ช่วยเหลือ
กิจกรรมของ
วัดตามเทศ
กาล เช่น วัน
เข้าพรรษา
วันออก
พรรษา
เป็นต้น
ไม่มีความ
ประทับใจเกี่ยว
กับครูอาจารย์
เป็นพิเศษ
วิถีชีวิตแบบชาวสวน
ที่เรียบง่าย การสร้าง
บ้านเรือนที่อยู่อาศัย
อยู่ ใกล้ ๆ กันใน
กลุ่มครือญาติและมี
ความสัมพันธ์กับ
เพื่อนบ้าน มีการพึ่ง
พาอาศัยกัน มีความ
เคารพและนับถือ
เชื่อฟังผู้อาวุโส
วัตถุประสงค์
และระเบียบมี
ความสอด
คล้องกับวิถี
ชีวิตชุมชน
ประชาชนมี
ความเข้าใจ
และยอมรับใน
กฎระเบียบข้อ
บังคับ
รับข่าวสารจากผู้
นำชุมชนและ
จากสื่อวิทยุโทร
ทัศน์ ไม่ให้ความ
สำคัญในเรื่องใด
เป็นพิเศษ
62
กรณีศึกษาที่ 10 นายส้ม กล่ำถนอม อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 2/1 ชุมชนหมู่ 6 บางระมาด เขตตลิ่ง
ชัน กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 19 ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติชีวิตของ นายส้ม กล่ำถนอม
ภูมิหลังของบิดา
มารดา
ชีวิตวัยเด็ก ชีวิตวัยเรียน ชีวิตวัยทำงาน ชีวิตในปัจจุบัน
บิดามารดาเป็นชาวนา
จังหวัดอยุธยา มีอาชีพ
ทำนาและรับจ้างทำนา
มีฐานะยากจน มีบุตร
8 คน บิดาเสียชีวิตตั้ง
แต่นายส้มยังอยู่ในวัย
ทารก มารดาเป็นผู้รับ
ผิดชอบเลี้ยงดูและอบ
รมสั่งสอนแต่เพียงผู้
เดียว วิถีชีวิตของครอบ
ครัวมีความยากลำบาก
มาดารซึ่งมีฐานะ
ยากจนไม่
สามารถเลี้ยงดู
บุตรได้ จึงยกให้
พระผู้มีฐานะเป็น
ลุงรับเลี้ยงตั้งแต่
วัยเด็ก จนกระทั่ง
อายุ 8 ขวบจึงได้
ออกจากวันและ
ได้เป็นเด็กเร่ร่อน
ในกรุงเทพ รับจ้าง
ล้างถ้วยชามเพื่อ
แลกเปลี่ยนกับ
อาหารแต่ละมื้อ
ไม่เข้าเรียนในโรง
เรียนตามระบบ
แต่พระผู้เลี้ยงดู
เป็นผู้สอนหนังสือ
ให้พออ่านพอ
เขียนได้
รับจ้างเข็นผักใน
ปากคลองตลาด
ด้วยความขยัน
และซื่อสัตย์ จน
กระทั่งมีผู้มาแนะ
นำและให้ช่วย
เหลือไปขับรถส่ง
ของให้ผู้ประกอบ
การ ต่อมาเปลี่ยน
ไปขับรถส่วนตัว
ให้กับผู้มีอิทธิพล
ในจังหวัดอ่างทอง
จากนั้นมาขับรถ
ประจำทางสาย
82 ในกรุงเทพฯ
ทำธุรกิจขายน้ำตาล
สดตามงานออกร้าน
ต่าง ๆ และขายส่ง
สถานภาพของครอบ
ครัวมีพอกินพอใช้
63
ตารางที่ 20 ข้อมูลที่เกี่ยวกับองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรม
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อม
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
การเลือกรับ
ข่าวสาร
ขาดความอบ
อุ่นจากครอบ
ครัวเพราะ
สถานภาพทาง
เศรษฐกิจของ
ครอบครัวยาก
จนมาก มารดา
ไม่สามารถอบ
รมเลี้ยงบุตรได้
ได้รับความ
เมตตา
อุปการะ
เลี้ยงดูอบรม
สั่งสอนและ
ให้ความรู้
จากพระผู้มี
ศักดิ์เป็นลุง
ตั้งแต่วัยเด็ก
ไม่ได้เรียน
หนังสือใน
โรงเรียนใช้ชีวิต
เป็นเด็กเร่ร่อนใน
กรุงเทพ
มาสร้างบ้านเรือนอยู่
ในชุมชนที่เป็นสวน
ผลไม้ ใช้ชีวิตแบบ
พึ่งพาตนเอง แต่มี
ส่วนร่วมในกิจกรรม
ของชุมชนตาม
โอกาส มีความ
สัมพันธ์กับเพื่อน
บ้าน
วัตถุประสงค์
และระเบียบมี
ความสอด
คล้องกับวิถี
ชีวิตชุมชน
ประชาชนมี
ความเข้าใจ
และยอมรับใน
กฎระเบียบข้อ
บังคับ
รับข่าวสารจากผู้
นำชุมชนและ
จากสื่อวิทยุ โทร
ทัศน์ ไม่ให้ความ
สำคัญในเรื่องใด
เป็นพิเศษ
64
4.2 การวิเคราะห์การก่อเกิดจริยธรรมจากองค์ประกอบที่กำหนดเป็นราย
บุคคล
เป็นการศึกษาว่าองค์ประกอบใดที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมของสมาชิกกองทุน
จากการศึกษาทั้ง 10 กรณี พบว่าองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมของสมาชิกกอง
ทุนแต่ละกรณีศึกษามีดังนี้
กรณีศึกษาที่ 1 นาง สงวนศรี วงศ์ยิ้ม พบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิด
จาก 4 องค์ประกอบ คือ บ้าน วัด โรงเรียน และ สภาพแวดล้อมทางสังคม ดังตารางที่ 21
ตารางที่ 21 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรม นาง สงวนศรี
บ้าน วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อมทาง
สังคม
ครอบครัวมีความรัก
ความอบอุ่น ร่วมกันรับ
ประทานอาหารกันเป็น
ประจำ มีโอกาสได้พูด
คุยกัน บิดามารดาอบ
รมสั่งสอนด้วยวิธีให้
เหตุผล ฝึกให้รับผิด
ชอบ ให้มีระเบียบวินัย
มีความเชื่อศรัทธาใน
หลักธรรม วันพระแปด
ค่ำ สิบห้าค่ำ ถือศีลอยู่
ที่วัดเป็นประจำ
มีความประทับใจในครู
ผู้สอน ได้ยึดแบบแผน
อย่างมีระเบียบวินัย
ต ร ง ต่ อ เ ว ล า ม า ใ ช้
ปฏิบัติเกี่ยวกับการ
ดำเนินชีวิตของตน
เป็นชุมชนเมืองขนาด
ใหญ่มี 300 หลังคา
เรือน สร้างอย่างมี
ระเบียบ มี วัด โรงเรียน
ศูนย์เด็กเล็ก สนามเด็ก
เล่น ประชาชนมีความ
สัมพันธ์กันและทำกิจ
กรรมร่วมกัน
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 1 นางสงวนศรี วงศ์ยิ้ม ประกอบด้วยสมาชิก 7 คน ประกอบด้วย
ผู้สูงอายุคือ คุณปู่ บิดามารดาและบุตร บิดามารดามีอาชีพมั่นคงมีรายได้ที่แน่นอน สถานภาพทาง
เศรษฐกิจของครอบครัวพอมีพอกิน หัวหน้าครอบครัวเป็นผู้นำการดำเนินชีวิตของสมาชิกเป็นไป
อย่างมีระเบียบ ฝึกให้เป็นผู้รู้จักรับผดชอบหน้าที่ เช่น มอบให้ช่วยหลือภาระกิจของครอบครัวด้วย
การให้ปรนนิบัติรับใช้คุณปู่ จนเป็นที่รักและไว้วางใจ ก่อนที่คุณปู่จะเสียชีวิตจึงได้ถ่ายทอดวิชาการ
นวด การทำลูกปะคบและมอบตำรายาโบราณ อีกทั้งได้สั่งให้นำวิชาความรู้ไปช่วยหลือเพื่อนมนุษย์
โดยไม่ให้เอาเปรียบผู้ด้อยโอกาสกว่า บ้านจึงเป็นส่วนที่สร้างให้มีระเบียบวินัย มีหน้าที่รับผิดชอบ มี
65
ความซื่อสัตย์ มีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ส่วนด้านที่เกิดจากวัด นางสงวนศรี มีความเชื่อความ
ศรัทธาในหลักธรรม เชื่อว่า “จะซื่อสัตย์ต่อกฎระเบียบกองทุน ปฏิบัติตามเงื่อนไขก็ถือว่าเป็นการทำ
ความดีเพื่อส่วนรวม ประกอบกับสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้วยผลที่นางสงวนศรี เป็นที่รู้จักประชา
ชนในชุมชนให้ความนับถือในฐานะที่ได้ให้ความช่วยเหลือในเรื่องการนวดหรือตำรายาแผนโบราณ
ที่ได้รับการถ่ายทอดจากปู่ ความที่ได้รับการนับถือจากเพื่อนบ้าน เป็นส่วนที่ทำให้เป็นคนที่
ละอายต่อการทำความชั่ว
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า องค์ประกอบบ้าน วัด และสภาพแวดล้อมทาง
สังคมมีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมของนางสงวน ส่งผลต่อการกู้ยืมเงินจากกองทุนหมู่บ้านโดย
นำเงินส่งคืนตรงตามเวลาและครบตามจำนวน เป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการกองทุนว่าเป็นลูก
หนี้ชั้นดี
สำหรับองค์ประกอบอื่นที่กำหนดได้แก่ การบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุนได้ศึกษา
เกี่ยวกับระเบียบของกองทุนและพฤติกรรมการรับข่าวสาร ไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริย
ธรรม
กรณีศึกษาที่ 2 นางวรรณา แม้นเลขา พบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิด
จาก 3 องค์ประกอบคือ บ้าน วัด และสภาพแวดล้อมทางสังคม ดังตารางที่ 22
ตารางที่ 22 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนางวรรณา แม้นเลขา
บ้าน วัด สภาพแวดล้อมทางสังคม
ครอบครัวมีความรัก
ความอบอุ่น มีความ
สัมพันธ์ระหว่างพี่น้อง
สูง ให้ความช่วยเหลือ
เกื้อกูลกัน บิดามารดา
เป็นแบบอย่างในความ
ขยันขันแข็ง สอนให้บุตร
มีความซื่อสัตย์ ต่อมา
ประกอบอาชีพ และมี
ความกตัญญูรู้คุณ
มีความประทับใจกับวัดตั้งแต่
วัยเด็ก โรงเรียนตั้งอยู่ในวัด ได้
ทำกิจกรรมวันสำคัญทาง
ศาสนา เมื่อย้ายเข้าไปอยู่ใน
บ้านสามี ได้รับการอนุเคราะห์
จากวัดเรื่องการทำศพให้แก่
แม่บุญธรรม มีความเชื่อ
ศรัทธาตามหลักพระพุทธ
ศาสนาว่าทำดีได้ดีทำชั่ว ได้ชั่ว
จึงมีความกลัวต่อการทำความ
ชั่ว
เป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่มีประชาชน
อยู่อาศัยสามร้อยหลังคาเรือน สร้าง
บ้านอยู่อย่างมีระเบียบแบ่งออกเป็น
ซอย ในชุมชนมีโรงเรียน วัด ศูนย์เด็ก
เล็ก และสนามเด็กเล่น ประชาชนมี
ความสัมพันธ์ในการร่วมกันทำกิจกรรม
ในเวลากลางวันจะมีผู้สูงอายุเฝ้าบ้าน
เป็นส่วนมาก บ้านของนางวรรณาอยู่
ท่ามกลางผู้สูงอายุ จึงมีความสัมพันธ์
กับผู้สูงอายุมาก
66
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 2 ครอบครัวนางวรรณา แม้นเลขา มีความผูกพันกันระหว่างพี่น้อง
สูง บิดามารดาเป็นแบบอย่างเรื่องของความซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทนต่อการประกอบอาชีพ เมื่อเข้า
ไปเป็นสมาชิกในครอบครัวของสามี ทำหน้าที่เป็นผู้ปรนนิบัติรับใช้มารดาบุตรบุญธรรมของสามี
เป็นอย่างดี จนเป็นที่ชื่นชมของเพื่อนบ้านว่าเป็นผู้มีจิตใจงาม ได้รับความช่วยเหลือให้การสนับสนุน
การประกอบอาชีพ อีกทั้งได้รับความเมตตาจากเจ้าอาวาสวัดเมตตาให้ความอนุเคราะห์ในการจัดงาน
ศพในการจัดงานศพให้แก่มารดาบุญธรรมของสามี
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า นางวรรณา แม้นเลขา เป็นคนดีคนหนึ่งของชุมชน
คือเป็นผู้มีจริยธรรมที่เกิดมาจากบ้าน วัด และสภาพแวดล้อมทางสังคม เมื่อเป็นสมาชิกของกองทุน
และกู้เงินไปประกอบอาชีพ จึงมีพฤติกรรมดีเป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการกองทุนว่าเป็นลูกหนี้
ชั้นดี
สำหรับองค์ประกอบอื่นที่กำหนด คือ โรงเรียน ระเบียบกองทุน และพฤติกรรมการรับข่าว
สารไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม
กรณีศึกษาที่ 3 นางพรรณิภา อุ่นแจ่ม พบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิด
จาก 4 องค์ประกอบ คือ บ้าน วัด และสภาพแวดล้อมทางสังคม และระเบียบกองทุน ดังตารางที่
23
ตารางที่ 23 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนางพรรณิภา อุ่นแจ่ม
บ้าน โรงเรียน สภาพแวดล้อมทาง
สังคม
ระเบียบ
กองทุน
วัยเด็กมีความสมบูรณ์
ให้ความรัก ความอบ
อุ่น อบรมสั่งสอนให้
เป็นคนขยัน รู้จักเก็บ
ออม โอบอ้อมอารี
และมีความเคารพยำ
เกรงต่อผู้อาวุโส และให้
มีความกตัญญูรู้คุณคน
ต่อบรรพบุรุษ
คณุผู้สอนมีความ
สัมพันธ์ส่วนตัวกับ
มารดาจึงเอาใจใส่
และดูแลเป็นพิเศษ
ใ ห้ ค ว า ม รั ก ค ว า
เมตตา ทำให้มี
ความประทับใจ
เคารพนับถือเชื่อฟัง
ครู
ประชาชนเป็นคนในพื้น
ที่เดิมมีมาก และยังยึด
ถือวัฒนธรรมแบบชาว
บ้าน ให้ความช่วยเหลือ
เกื้อกูลกัน เชื่อฟัง
เคารพนับถือผู้อาวุโส
เป็นผู้เข้าร่วมทำงานตาม
โครงการกองทุนหมู่บ้าน
และชุมชนเมือง ได้รับ
ความไว้วางใจให้เป็นจัด
ระบบการกู้ยคมเงินของ
สมาชิกทำให้เขาใจถึงวัตถุ
ประสงค์ของกองทุนเป็น
อย่างดี
67
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 3 ครอบครัวนางพรรณิภา อุ่นแจ่ม เป็นครอบครัวที่มีบิดามารดาที่
มีวิธีการอบรมเลี้ยงดู ด้วยการมีส่วนร่วมและเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านความขยันขันแข็ง มีความอด
ทนกตัญญูรู้คุณ มีจิตใจโอบอ้อมอารีต่อเพื่อนบ้าน มีความรักและสามัคคี ส่งเสริมด้านการศึกษาของ
บุตร โดยเปลี่ยนอาชีพจากการทำสวนมาเปิดร้านขายหนังสือเพื่อต้องการให้บุตรรักการอ่านหนังสือ
โดยทางอ้อม ทำให้นางพรรณิภาได้รับการถ่ายทอดพฤติกรรมที่ดีจากครอบครัวตั้งแต่วัยเด็ก เมื่อได้
ศึกษาในโรงเรียนได้รับการเอาใจใส่จากครูที่เป็นเพื่อนของมารดาอย่างใกล้ชิด ทำให้ได้รับการกล่อม
เกลาให้เป็นคนดีเป็นที่รักและเชื่อถือของเพื่อนบ้าน ได้รับความไว้วางใจจากประธานกองทุนให้เป็น
ผู้ดูแลรับผิดชอบทำบัญชีเงินกองทุน ตลอดจนรับผิดชอบเรื่องการเงินของกองทุนร่วมกับคณะ
กรรมการ ตลอดระยะเวลา 10 เดือน ที่เข้าร่วมปฏิบัติงานตามโครงการบัณฑิตกองทุนหมู่บ้าน เมื่อ
จบโครงการแล้ว ประธานและคณะกรรมการกองทุนได้ขอความร่วมมือให้ช่วยเหลือต่อ เพราะเป็นผู้
ที่มีความเข้าใจวัตถุประสงค์และระเบียบกองทุนของดี
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า การก่อเกิดจริยธรรมมีอิทธิพลมาจากองค์ประกอบ
บ้าน วัด และสภาพแวดล้อมทางสังคม และระเบียบกองทุน
สำหรับองค์ประกอบที่กำหนดอื่น คือ วัด ไม่พบลักษณะเด่นของการก่อเกิดจริยธรรมไม่เข้า
ใจลึกซึ้งในหลักการ พฤติกรรมการรับข่าวสารไม่ส่งผลต่อการเกิดจริยธรรม และไม่มีความสนใจที่
จะรับข่าวสารใด ๆ อย่างจริงจัง
68
กรณีศึกษาที่ 4 นางเรณู นำผล พบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิดจาก 3 องค์
ประกอบ คือ บ้าน โรงเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม สรุปได้ดังตารางต่อไปนี้ดังตารางที่ 24
ตารางที่ 24 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนางเรณู นำผล
บ้าน โรงเรียน สภาพแวดล้อมทางสังคม
ส ถ า น ภ า พ ท ง ด้ า น
เศรษฐกิจของครอบคัว
มีความสมบูรณ์บิดา
มารดาเลี้ยงด้วยความ
รัก ฝึกให้มีระเบียบวินัย
ใฝ่รู้ และเป็นแบบอย่าง
ความเป็นผู้มีจิตเมตตา
ต่อผู้ที่ด้อยกว่า อีกทั้ง
เป็นแบบอย่างของ
ความเป็นผู้นำที่มีความ
ซื่อสัตย์
ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้
เป็นผู้มีระเบียบวินัย กล้า
ตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ
ต่อตนเองและผู้อื่น
สังคมให้ความไว้วางใจอีกทั้งสภาพส่วนตน
ที่กำหนดให้เป็นผู้ที่จะต้องรับผิดชอบต่อ
สังคม
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 4 ครอบครัวนางเรณู นำผล มีบิดามารดามุ่งหวังให้บุตรมีการ
ศึกษา และประกอบอาชีพรับราชการ มีทัศนคติว่า การรับราชการเป็นอาชีพที่สบาย มีเกียรติ และมี
ศักดิ์ศรี จึงได้เอาใจใส่อย่างใกล้ชิด มีกุสโลบายการอบรมสั่งสอนด้วยวิธีการแบ่งปันของที่ไม่เท่ากัน
เป็นการปลูกจิตสำนึกว่า “การเป็นผู้บังคับบัญชาจะต้องทำหน้าที่ให้สมบรูณ์หรือการเป็นผู้ใต้บังคับ
บัญชาที่ต้องวางตนให้เหมาะสม” เมื่อไปอยู่ในหอพักของโรงเรียน ก็ได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์
ผู้สอนวิชาพลศึกษาให้เป็นประธานนักกีฬา เป็นการปลูกฝังความมั่นใจ การตัดสินใจ ความรับผิด
ชอบและรู้จักเสียสละ เมื่อย้ายครอบครัวไปสร้างบ้านในชุมชนซอยพัฒนา 79 จึงเป็นที่น่าเชื่อและ
ได้รับความไว้วางใจของประชาชนในชุมชน ซึ่งนางเรณู จะมีลักษณะเป็นผู้นำได้รวมกลุ่มประชาชน
ทำกิจกรรมในชุมชน เช่นการพัฒนาวัด ชุมชน จัดตั้งกลุ่มออกกำลังกายเป็นธุระในการจัดตั้งศูนย์
เด็กเล็กในชุมชนตลอดจนการให้ความช่วยเหลือ แนะนำเรื่องภายในครอบครัวให้แก่เพื่อนบ้าน ได้
รับการคัดเลือกให้เป็นเลขานุการของกองทุนในคณะกรรมการชุดแรกของการจัดตั้งกองทุน เมื่อ
69
หมดวาระประธานกองทุนก็ได้รับความไว้วางใจให้เป็นประธานกองทุน นางเรณูจึงมีความเข้าใจใน
วัตถุประสงค์และระเบียบของกองทุนเป็นอย่างดี นับว่านางเรณูเป็นดคนดีของชุมชนมีจริยธรรมที่
เกิดจากการได้รับการอบรมสั่งสอนจากบ้าน โรงเรียน สภาพแวดล้อมทางสังคม ทำให้ส่งผลต่อ
การปฏิบัติตามกฎระเบียบของกองทุน และสามารถส่งเงินคืนตามกำหนดเวลาและครบตามจำนวน
ทำให้ได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการกองทุนว่าเป็นลูกหนี้ชั้นดี
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม
เกิดจากบ้าน โรงเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม
สำหรับองค์ประกอบอื่นที่กำหนด คือ วัด ระเบียบกองทุน และพฤติกรรมการรับข่าวสาร
ไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม
กรณีศึกษาที่ 5 นางปราณี ปฐพี พบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิด
จาก 2 องค์ประกอบ คือ บ้าน และระเบียบกองทุน สรุปได้ดังตารางต่อไปนี้ดังตารางที่ 25
ตารางที่ 25 สรุปองค์ประกอบการก่อเกิดจริยธรรมนางปราณี ปฐพี
บ้าน ระเบียบกองทุน
ฐานะยากจน แต่บิดามารดามีความ
รักและห่างใย เป็นแบบอย่างที่ดีมี
ความขยันอดทนประกอบอาชีพ
สุจริต
มีความเข้าใจวัตถุประสงค์ของ
กองทุน และพอใจการกำหนด
ระเบียบกองทุน
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 5 ครอบครัวนางปราณี ปฐพี มีฐานะทางเศรษฐกิจของครอบ
ครัวยากจน อาชีพของบิดามารดาไม่มั่นคง ทำงานรับจ้างทั่วไป บางครั้งต้องออกนอกพื้นที่หลายๆ
วัน นางปราณี ต้องช่วยเหลือบิดามารดารับภาระงานตั้งแต่วัยเด็ก จึงถือเป็นเรื่องปกติที่นางปราณี
จะอยู่ตามลำพังกับน้องเป็นเวลาหลายๆ วัน การที่บิดามารดากลับบ้านได้อยู่กันพร้อมหน้าพ่อแม่
ลูก เป็นบางครั้งก็ถือเป็นความสุขที่เพียงพอแล้ว นางปราณีประทับใจในคำสอนของบิดาที่ว่า “เรา
ยากจนแต่เราก็ทำงานที่สุจริตได้เงินที่บริสุทธิ์มาเลี้ยงลูกของเรา” ทำให้นางปราณีเกิดสำนึกดีในคำ
ของบิดาและยึดถือปฏิบัติในการดำรงชีวิตมาตลอด ความซื่อสัตย์สุจริตจึงมีในจิตสำนึกของนาง
ปราณี เมื่อเป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน ก็มีความเข้าใจกฎระเบียบของกองทุนและเมื่อกู้เงินไปแล้ว
ยอมรับที่จะปฏิบัติตามกฎระเบียบโดยเคร่งครัด นับเป็นพฤติกรรมดีของนางปราณีที่เกิดจากบ้าน
70
เป็นสำคัญ และระเบียบของกองทุนเป็นส่วนสนับสนุน ส่งผลให้นางปราณีมีความรับผิดชอบส่งคืน
กองทุนตามกำหนดเวลาทุกงวดจนครบตามจำนวน ได้รับการพิจารณาว่าเป็นลูกหนี้ชั้นดีของกอง
ทุน
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า อิทธิพลที่ก่อให้เกิดจริยธรรมมาจากองค์ประกอบ
บ้าน และระเบียบกองทุน
สำหรับองค์ประกอบ วัด โรงเรียน สภาพแวดล้อมทางสังคมและพฤติกรรมการรับข่าวสาร
ไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม
กรณีศึกษาที่ 6 นางเอื้อมเดือน ทุถาวร พบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริย
ธรรมเกิดจาก 2 องค์ประกอบ คือ บ้าน และโรงเรียน สรุปได้ดังตารางที่ 26
ตารางที่ 26 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนางเอื้อมเดือน ทุถาวร
บ้าน โรงเรียน
มีฐานะพอกินพอใจ บิดามารดาประกอบ
อาชีพที่สุจริตให้ความรักความอบอุ่น
เป็นแบบอย่างของความขยันขันแข็ง มี
ความรับผิดชอบ
ได้รับการฝึกฝนให้เป็นผู้ที่มีระเบียบวินัยมี
ความขยันและอดทน ตลอดจนความรับ
ผิดชอบ
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 6 นางเอื้อมเดือน ทุถาวร ได้รับแบบอย่างความเป็นผู้นำจาก
บิดาและได้รับการปลูกฝังและฝึกฝนให้รักในงานศิลปอาชีพการตัดเย็บเสื้อผ้าจากมารดามาแต่วัย
เด็ก ประกอบกับความเฉลียวฉลาดและเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ จึงสามารถพัฒนาตัวเองจากผู้รับจ้างมา
เป็นเจ้าของกิจการโรงงานเย็บเสื้อผ้าขนาดเล็ก ทำการบริหารจัดการเองทุกขั้นตอนจนประสบผล
สำเร็จในระดับหนึ่ง และจากวัยเด็กได้รับการอบรมจากโรงเรียนให้หลาบจำต่อการประพฤติปฏิบัติที่
ไม่ถูกต้อง เช่น การหนีโรงเรียนไปเที่ยว ไม่ทำการบ้าน ทำให้นางเอื้อมเดือนได้สำนึกและจดจำ เมื่อ
มาสร้างครอบครัวและประกอบธุรกิจเป็นโรงงานเย็บเสื้อผ้าขนาดเล็กในชุมชนฉัตรชัย-เสริมโชค ทำ
ให้ครอบครัวมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าครอบครัวอื่นอีกหลายครอบครัว จึงต้องรักษาสถานภาพนั้น
ไว้เป็นการสร้างความเชื่อถือให้แก่สังคมเพื่อประโยชน์ด้านธุรกิจของตน ความมีจริยธรรมของนาง
เอื้อมเดือนจึงมาจากองค์ประกอบจากบ้าน โรงเรียน และยังพบว่าการรักษาสถานภาพการประกอบ
ธุรกิจเป็นส่วนหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเช่นกัน จึงเป็นเหตุที่ส่งผลให้ปฏิบัติตามเงื่อน
71
ไขการกู้ยืมเงินกองทุน เพื่อนำไปขยายกิจการของตน และปฏิบัติตามสัญญาอย่างเคร่งครัด เป็นที่
ยอมรับของคณะกรรมการกองทุนว่า เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์และเป็นลูกหนี้ชั้นดีของกองทุน
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า อิทธิพลที่ก่อให้เกิดจริยธรรมมาจาก องค์ประกอบ
บ้านและโรงเรียน
สำหรับองค์ประกอบ วัด ระเบียบกองทุนและพฤติกรรมการรับข่าวสารไม่พบว่า มีอิทธิพลต่อ
การก่อเกิดจริยธรรม ถึงแม้นว่าบิดาของนางเอื้อมเดือนจะบวชและครองตนเป็นสมณเพศแล้ว นาง
เอื้อมเดือนจะไปเยี่ยมเยียนในฐานะเป็นบิดาเป็นประจำ
กรณีศึกษาที่ 7 นางกมลรัตน์ ยามมีสิน องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิดจาก 2
องค์ประกอบ คือ บ้าน และระเบียบกองทุน สรุปได้ดังตารางที่ 27
ตารางที่ 27 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนางกมลรัตน์ ยามมีสิน
บ้าน ระเบียบกองทุน
บ้านมีความรักความอบอุ่นรักใคร่กลม
เกลียว และอบรมสั่งสอนให้เป็นมีความรับ
ผิดชอบ ขยันขันแข็ง และมีความซื่อสัตย์
ในการประกอบอาชีพ
จากกฏระเบียบของกองทุนที่กำหนดให้ทุกคน
ต้องมีความรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์ นาง
กมลรัตน์ ยอมรับและปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนด
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 7 นางกมลรัตน์ ยามมีสิน เป็นบุตรคนกลางของบิดามารดา
ไม่ประสบผลสำเร็จในด้านการศึกษา จึงเป็นที่ห่วงใยของบิดามารดา และมีความผูกพันกับบิดา
มารดามาก นางกมลรัตน์ เคยแยกครอบครัวออกไปอยู่ต่างหาก แต่เนื่องจากความเป็นห่วงบิดา
มารดาที่สุขภาพไม่ดี อีกทั้งมารดาไม่มีผู้ช่วยเหลือในการประกอบอาชีพ จึงได้กลับมาอยู่กับบิดา
มารดาตามเดิม ความรักและห่วงใยที่นางกมลรัตน์มีต่อบิดามารดา จึงเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดี มี
ความกตัญญูต่อบิดามารดา ได้รับการสั่งสอนและแบบอย่างที่ดีให้เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์ จากบิดา
ซึ่งดำรงชีวิตอยู่ในสมณเพศตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่จึงได้ลาอุปสมบทมาประกอบอาชีพและมี
ครอบครัว ได้รับการกล่อมเกลาให้เป็นคนดี นางกมลรัตน์จึงได้รับการถ่ายทอดความเป็นคนดีจาก
บิดา จากการที่นางกมลรัตน์มีความสนิทสนมกับกรรมการกองทุน และได้รับความไว้วางใจให้ช่วย
เหลือทำบัญชีการเงินทั้งที่ไม่ได้เป็นกรรมการกองทุน การเข้าไปเกี่ยวข้องอย่างไม่เป็นทางการ ทำให้
72
เข้าใจวัตถุประสงค์ของกองทุนว่าเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนของสมาชิกทุกคน จึงได้ยอมรับและ
ปฏิบัติตามระเบียบของกองทุนที่กำหนดขึ้นโดยสมาชิก
จากการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ จึงสรุปได้ว่าการก่อเกิดจริยธรรมของนางกมลรัตน์ เกิดจาก
อิทธิพลของบ้านและระเบียบของกองทุน ที่มีผลให้นางกมลรัตน์ปฎิบัติตามกฎระเบียบของกองทุน
อย่างเคร่งครัด จนได้รับการยอมรับจากสมาชิกและคณะกรรมการกองทุนว่าเป็นสมาชิกที่ดี
ส่วนองค์ประกอบ โรงเรียน วัด สภาพแวดล้อมทางสังคมและพฤติกรรมการรับข่าวสารไม่พบ
ว่ามีอิทธิพลที่ก่อให้เกิดจริยธรรม
กรณีศึกษาที่ 8 นางพิทยา รุ่งเดชารัตน์ องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิด
จาก 2 องค์ประกอบ คือ บ้าน และสภาพแวดล้อมทางสังคม สรุปได้ดังตารางที่ 28
ตารางที่ 28 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนางพิทยา รุ่งเดชารัตน์
บ้าน สภาพแวดล้อมทางสังคม
ครอบครัวมีความรักความอบอุ่น ฐานะ
เศรษฐกิจของครอบครัวสมบูรณ์ในระดับปาน
กลาง บิดามารดา อบรมสั่งสอนให้ร่วมกันรับ
ผิดชอบการประกอบอาชีพของครอบครัว ให้
มีความขยันอดทนซื่อสัตย์ และรู้คุณค่าของ
เงิน
สังคมมีความสัมพันธ์ที่ด ี และเอื้อเฝื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
ทำกิจกรรมร่วมกันตามประเพณีและวัฒนาธรรมของ
ชุมชน อีกทั้งสถานภาพเฉพาะตัวของนางพิทยาเป็น
ที่นับถื่อและให้ความไว้วางใจจากเพื่อนบ้านได้รับ
การคัดเลือกให้เป็นเลขาของกองทุน
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 8 นางพิทยา รุ่งเดชารัตน์ จากการที่บิดามารดามีอาชีพทำ
ฟาร์มเลี้ยงเป็ดที่อำเภอหาดใหญ่ จึงต้องใช้แรงงานเป็นจำนวนมาก ด้วยกุศโลบายของบิดาที่
ต้องการอบรมสั่งสอนบุตรให้มีความรับผิดชอบและขยันขันแข็ง และยังเป็นการลดต้นทุนการผลิต
จึงฝึกฝนให้บุตรมีส่วนร่วมในการประกอบอาชีพ เมื่อย้ายไปสร้างบ้านเรือนอยู่ในชุมชนวัดบางขุน
นนท์ ได้ประกอบอาชีพหลายอย่างเช่น รับจ้างเย็บเสื้อผ้า รับจ้างซักเสื้อผ้า และรับทำอาหารส่งตาม
บ้านและลูกค้าประจำ นอกจากนี้สภาพแวดล้อมที่อยู่กับธรรมชาติและสัตว์เลี้ยง เป็นส่วนที่สร้างจิต
ใจและลักษณะนิสัยให้เป็นคนสุขุมเยือกเย็นรอบคอบ เป็นส่วนที่สร้างเสริมบริบททางความคิดให้
นางพิทยา เป็นคนดีมีจริยธรรม เป็นที่รักและไว้ใจของเพื่อนบ้านใกล้เคียงจนได้รับการคัดเลือกให้
เป็นเลขานุการของกองทุน
73
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า การก่อเกิดจริยธรรมของนางพิทยาคือ บ้านและ
สภาพแวดล้อมทางสังคม ทำให้เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบและปฎิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด
มีผลให้ได้รับการจัดให้เป็นลูกหนี้ชั้นดีของกองทุน
สำหรับองค์ประกอบ วัด โรงเรียน พฤติกรรมการรับข่าวสารและระเบียบกองทุนไม่พบว่ามี
อิทธิต่อการก่อเกิดจริยธรรม
กรณีศึกษาที่ 9 นางลัดดา น่วมในชาติ องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิดจาก
2 องค์ประกอบ คือ บ้าน และ สภาพแวดล้อมทางสังคม สรุปได้ดังตารางที่29
ตารางที่ 29 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนางลัดดา น่วมในชาติ
บ้าน สภาพแวดล้อมทางสังคม
ครอบครัวมีความรักความอบอุ่น พ่อแม่ลูก
ทำกิจกรรมการงานร่วมกัน การอบรมเลี้ยง
ดูแบบเรียบง่าย ไม่ให้ฟุ้งเฟ้อ พอใจในสิ่งที่
ตนเองมีอยู่ มีความซื่อสัตย์ เมตตา กรุณา
และกตัญญูต่อผู้มีประคุณ
เป็นชุมชนเมืองชายขอบ วิถีชีวิตของประชาชนใน
ชุมชนเป็นแบบชาวสวนที่มีสภาพสมบูรณ์ มีความ
สงบสุขร่มเย็น การตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่กันอย่าง
สมดุลไม่แออัด สุขภาพจิตและสุขภาพกายของ
ประชาชนดีกว่าชุมชนอื่น สถานภาพทางสังคมเป็น
ที่นับถือและให้ความไว้วางใจจากประชาชนในชุม
ชน
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 9 นางลัดดา น่วมในชาติ เป็นบุตรคนเดียวของบิดามารดา จึง
ได้รับความรักความอบอุ่นและแบบอย่างผู้มีจิตใจอ่อนโยนและมีเมตตา มีความกระตือรือร้นที่จะ
ช่วยเหลือผู้อื่นจากบิดามารดา อีกทั้งสภาพแวดล้อมของสังคมภายในชุมชนยังมีความช่วยเหลือ
เกื้อกูลกัน ซึ่งครอบครัวและเครือญาติของนางลัดดาเป็นคนดั้งเดิมในชุมชน ที่ประชากรในชุมชนให้
ความเคารพนับถือ ตลอดจนบุตรสาวของตน และญาติผู้น้องซึ่งมีศักดิ์เป็นน้องเขยได้รับคัดเลือก
จากสมาชิกในชุมชนให้เป็นประธานกองทุนและเลขานุการกองทุน และปฏิบัติหน้าที่จนเป็นที่ชื่นชม
ของคนในชุมชน ให้ความเป็นธรรมต่อสมาชิกทุกคน
จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากภูมิหลังของครอบครัว และบริบททางสังคมของนางลัดดาที่ยัง
คง รักษาสถานภาพและชื่อเสียงไม่ให้เกิดความเสื่อมเสีย จึงวิเคราะห์ได้ว่ามีอิทธิพลในการก่อเกิดจ
ริยธรรมมาจากบ้านและสภาพแวดล้อมทางสังคม
74
สำหรับองค์ประกอบ วัด โรงเรียน ระเบียบกองทุนและพฤติกรรมการรับข่าวสารไม่พบว่ามี
อิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม ถึงแม้นว่านางลัดดาจะทำบุญตักบาตรทุกวัน แต่มีวัตถุประสงค์ใน
การทำบุญให้กับบิดามารดา
กรณีศึกษาที่ 10 นายส้ม กล่ำถนอม องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเกิดจาก 2
องค์ประกอบคือ วัด สภาพแวดล้อมทางสังคม สรุปได้ดังตารางที่ 30
ตารางที่ 30 สรุปองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมนายส้ม กล่ำถนอม
วัด สภาพแวดล้อมทางสังคม
ได้รับการอบรมสั่งสอน ให้มีความซื่อสัตย์
สุจริต จากพระสงฆ์และได้รับคำแนะนำให้
ประกอบอาชีพที่สุจริต ประทับใจเชื่อและ
ศรัทธาในคำสั่งสอนของพระผู้ที่ให้ความ
เมตตาเลี้ยงดู
จากสังคมในวัยเด็กที่ต้องพบกับคนมากมายตั้ง
แต่วัยเด็กและได้พบกับคนดีที่ช่วยเหลือให้ได้
ประกอบอาชีพที่สุจริตและสามารถสร้างฐานะได้
จากผู้ที่ไม่มีอะไรในชีวิต
ผลการศึกษาจากกรณีที่ 10 นายส้ม กล่ำถนอม บิดามารดาเป็นชาวอยุธยา
อาชีพ-ทำนา มีฐานะยากจน นายส้ม ได้รับการอุปการะเลี้ยงดูจากพระ ผู้มีศักดิ์เป็นลุงตั้งแต่วัยเด็ก
จนกระทั่งอายุ 8-9 ขวบ จึงได้ออกจากวัด ใช้ชีวิตเร่ร่อน รับจ้างล้างถ้วยชามตามร้านอาหาร โดยขอ
ค่าจ้างเป็นอาหารเลี้ยงชีวิต นายส้มมีความทรงจำที่ได้รับการอบรมจากพระผู้เป็นลุงว่า “ถึงจะอด
อยากอย่างไรอย่าไปลักขโมยของใครให้ขอหรือทำงานแลกเปลี่ยนกับเขา” นายส้มได้ยึดถือคำสอน
มาเป็นแนวทางดำเนินชีวิตจนถึงปัจจุบัน เมื่อเข้ามาอยู่อาศัยในชุมชนและเป็นสมาชิกกองทุนหมู่
บ้าน มีความเข้าใจวัตถุประสงค์และระเบียบของกองทุนที่มีเจตนาช่วยเหลือคนยากจนให้มีทุนไป
ทำอาชีพและช่วยลดหนี้สินที่เสียดอกเบี้ยให้นายทุนด้วยอัตราสูง จากความประทับใจในคำสอน
ของพระสงฆ์ที่ไม่ให้ลักขโมย เป็นศีลข้อเดียวที่สามารถเชื่อมโยงความคิดให้สำนึกดี ส่งเสริมให้เกิด
ความขยัน และเป็นคนดีของสังคม และประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมและระเบียบของ
กองทุนซึ่งถือว่าเป็นกฎส่วนหนึ่งของสังคมนั้น
จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า อิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมคือ วัด และ
สภาพแวดล้อมทางสังคม จึงเป็นผลให้นายส้ม กล่ำถนอม เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์ ส่งคืนเงินกองทุน
ได้ตามเงื่อนไขของสัญญา เป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการกองทุนว่าเป็นลูกหนี้ชั้นดี
75
สำหรับองค์ประกอบ บ้าน โรงเรียน ระเบียบกองทุน และพฤติกรรมการรับข่าวสาร ไม่พบ
ว่ามีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม
4.3 สรุปผลการวิเคราะห์การก่อเกิดจริยธรรม
จากการวิเคราะห์องค์ประกอบที่มีอิทธิพลการก่อเกิดจริยธรรมทั้ง 10 กรณีศึกษา สรุปได้
ดังตารางที่ 31
ตารางที่ 31 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลการก่อเกิดจริยธรรมของสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน
กรณี
ศึกษา
ที่
สมาชิกผู้ใช้บริการ
กองทุน
บ้า
น
วัด โรงเรียน สภาพแวด
ล้อมสังคม
ระเบีย
บ
กองทุน
พฤติ
กรรม
การรับ
ข่าว
สาร
จำนวน
องค์
ประกอบ
แยกตาม
กรณีศึกษา
1 นางสงวน วงศ์ยิ้ม ⌡ ⌡ ⌡ ⌡ 4
2 นางวรรณา แม้นเลขา ⌡ ⌡ ⌡ 3
3 นางพรรณิภา อุ่นแจ่ม ⌡ ⌡ ⌡ 3
4 นางเรณู นำผล ⌡ ⌡ ⌡ 3
5 นางปราณี ปฐพี ⌡ ⌡ 2
6 นางเอื้อมเดือน ทุถาวร ⌡ ⌡ 2
7 นางกมลรัตน์ ยามมีสิน⌡ ⌡ 2
8 นางพิทยา รุ่งเดชารัตน์ ⌡ ⌡ 2
9 นางลัดดา น่วมในชาติ ⌡ ⌡ 2
10 นายส้ม กล่ำถนอม ⌡ ⌡ 2
รวมองค์ประกอบ
ทุกกรณีศึกษา
9 3 4 7 2 - 25
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมของแต่ละกรณีศึกษามีมากกว่าหนึ่งองค์
ประกอบ
เมื่อพิจารณาจากการศึกษาทั้ง 10 กรณีศึกษาพบว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดจริยธรรมสูง
เรียงตามลำดับดังนี้ องค์ประกอบ บ้านจำนวน 9 กรณีศึกษา วัด จำนวน 3 กรณีศึกษา โรงเรียน
76
จำนวน 4 กรณีศึกษา สภาพแวดล้อมสังคมจำนวน 7 กรณีศึกษา ระเบียบกองทุนจำนวน 2 กรณีส่วน
พฤติกรรมการรับข่าวสารพบว่าไม่มีอิทธิพลต่อการก่อให้เกิดจริยธรรม
จากการศึกษาทั้ง 10 กรณีศึกษา พบผลการศึกษาแยกตามองค์ประกอบที่มีอิทธิพลก่อให้
เกิด จริยธรรมเรียงตามลำดับดังนี้
บ้าน เป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพลที่ก่อให้เกิดจริยธรรมมากที่สุด จากการศึกษาพบว่า วิธี
การ อบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยเป็นการอบรมเลี้ยงดูที่เป็นบ่อเกิดของจริยธรรม และยังเป็นวิธี
การที่ส่งเสริมให้บุคคลมีลักษณะมุ่งอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของดวงเดือน พันธุมนาวิน
และคณะ (2520) ที่พบว่า การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัวมีส่วนเกี่ยวข้องกับจริยธรรมของบุคคลเป็น
อย่างมาก และมีอิทธิพลคงทนไปถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ฉะนั้นการอบรมเลี้ยงดูจากบ้านจึงมีความ
สำคัญมากที่สุด และเป็นข้อปฏิบัติแรกในการวางพื้นฐานทางจริยธรรมของบุคคล หากการอบรม
เลี้ยงดูจากครอบครัวไม่เหมาะสมตั้งแต่วัยเด็กแล้ว การแก้ไขปรับปรุงจิตใจของบุคคลในภายหลัง
อาจทำได้ยาก ในบางกรณีก็อาจทำไม่ได้เลย เพราะสายเกินกว่าจะแก้ไข
การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยมีองค์ประกอบ ประการคือ การอบรมเลี้ยงดูแบบรักมาก
เป็นการอบรมเลี้ยงดูที่บิดามารดา กระทำตนสนิทสนมกับบุตร ให้ความรัก ความสำคัญแก่บุตร
เคารพในสิทธิและความคิดเห็นที่ถูกต้องของบุตร ทำให้บุตรมีความรู้สึกว่าตนเป็นที่ภาคภูมิใจของ
บิดามารดา ประการที่สองคือ การอบรมเลี้ยงดูแบบใช้เหตุผล เป็นการอบรมเลี้ยงดูที่บิดามารดาชี้แจง
เหตุผลและให้การสนับสนุนหรือขัดขวางพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องหรือเหมาะสม ไม่ใช้อำนาจเข้าข่ม
หรือออกคำสั่งแต่เพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ยังมีการชมเชย หรือให้รางวัลและแสดงความพึงพอใจ
เมื่อบุตรทำความดี มีการลงโทษว่ากล่าวตักเตือนหรือแสดงความเสียใจเมื่อบุตรทำความผิด ประการ
ที่สาม คือ การอบรมเลี้ยงดูแบบลงโทษทางจิตมากกว่าทางร่างกาย เป็นการลงโทษด้วยวิธีว่ากล่าว
ตักเตือน ทำมึนตึงเพิกเฉยกับบุตรเมื่อกระทำความผิด จนกว่าบุตรจะกระทำตนเป็นคนดี ไม่ลงโทษ
ให้เจ็บกายโดยไม่จำเป็น โดยเฉพาะเมื่อบุตรมีอายุ 10 ปีขึ้นไป ประการที่สี่คือ การอบรมเลี้ยงดู
แบบควบคุม เป็นการอบรมเลี้ยงดูที่บิดามารดาคอยสอดส่องและควบคุมการกระทำของบุตรมากพอ
ประมาณ แต่ไม่มากจนเป็นที่หักหาญน้ำใจ
จากการศึกษาทั้ง 10 กรณีศึกษา องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม มากที่สุด
คือ บ้าน พบจาก กรณีศึกษาที่ 1 ถึงกรณีศึกษาที่ 9 จึงนับได้ว่า บ้านมีความสำคัญสูงที่สุด
77
สภาพแวดล้อมทางสังคม จากการศึกษาพบว่า สภาพแวดล้อมทางสังคมเป็นส่วนประกอบ
ที่สำคัญที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดจริยธรรมรองลงมาจากบ้าน ถึงแม้นว่าการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัว
จะเหมาะสม บุคคลได้รับการอบรมด้านจริยธรรมมาดี แต่สังคมไม่ได้รับการพัฒนาให้มีสภาพเอื้อ
ต่อการกระทำความดีของบุคคล ขาดแบบอย่างที่จะกระตุ้นให้บุคคลมีความซื่อสัตย์ และผลักดันให้
บุคคลกระหายที่จะกระทำดีแล้ว บุคคลนั้นก็ไม่สามารถจะต้านทานการยั่วยุได้ อาจมีพฤติกรรมไป
ตามแรงผลักดันของสิ่งยั่วยุนั้นได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงทดลองของ ดวงเดือน พันธุม
นาวินและคณะ ที่ยืนยันได้จากผลการทดลองว่า สภาพแวดล้อมของวัยรุ่นมีอิทธิพลโดยตรงอย่างรุน
แรงต่อพฤติกรรมการโกง ในสภาพการยั่วยุสูง แม้นเด็กที่มาจากครอบครัวที่มีการอบรมเลี้ยงดูแบบ
ประชาธิปไตยและมีจริยธรรมสูง แต่ก็ยังพ่ายแพ้แก่อำนาจฝ่ายต่ำได้โดยง่าย
จากผลการวิเคราะห์ พบว่า กรณีศึกษาที่ 1, 2, 3, 4, 8 , 9 และ 10 มีพฤติกรรมไปตามการ
ผลักดันของสภาพแวดล้อมสังคม ซึ่งบุคคลเหล่านี้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ยึดหลักความยุติธรรมและ
มีเหตุผล
โรงเรียน เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึงความสัมพันธ์กับครู อาจารย์ พบในกรณีศึกษาที่ 1, 3,
4 และ 6 ที่มีผลมาจากความประทับใจต่อครูผู้สอน และฝึกฝนควบคุมให้ศิษย์เป็นผู้มีระเบียบวินัย ใน
กรณีศึกษาที่ 3 มีความประทับใจครูผู้สอนซึ่งเป็นเพื่อนบ้านและมีความสนิทสนมกับมารดา เป็นผู้ที่
ให้ความรักความห่วงใยคล้ายกับมารดาของตน จึงเกิดการยอมรับทั้งลักษณะที่ดีและไม่ดี
ดังนั้นกรณีที่ยอมรับในกฎเกณฑ์หรือการควบคุม ถือได้ว่าเป็นผู้ที่มีลักษณะมุ่งอนาคต มี
ความอดทน ยอมทำตามกฎเกณฑ์ของสังคมได้ ถือว่าเป็นผู้มีจริยธรรม ส่วนความประทับใจใน
ลักษณะของการได้รับความรักจากครู ถือได้ว่าครูเป็นพื้นฐานที่ก่อให้เกิดจริยธรรม
วัด เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึงความสัมพันธ์กับวัด ความเชื่อความศรัทธาในหลักธรรม
จากการศึกษาพบในกรณีศึกษาที่ 1, 2 และ 10 ความเชื่อและศรัทธาในหลักธรรม เห็นได้จากกรณี
ศึกษาที่ 1 เกิดความเชื่อตามศรัทธาที่มีมาจากครอบครัว วัดเป็นสถาบันที่สำคัญในการขัดเกลาทาง
สังคมและถ่ายทอดวัฒนธรรม ศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลักของคนไทย การถ่ายทอดลักษณะทาง
วัฒนธรรม และความเชื่อในหลักธรรมทางพุทธศาสนา จึงมาจากครอบครัวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ
และมีการทำกิจกรรมทางศาสนาที่วัดในวันสำคัญๆ ต่างๆ อีกทั้งศาสนาพุทธมีลักษณะวัฒนธรรมทาง
ด้านจิตใจ จึงเห็นได้จากกรณีศึกษาที่ 1 ที่บิดามารดามีความศรัทธาในหลักธรรม และเคร่งครัดใน
การปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี จึงได้รับการถ่ายทอดให้มีความเชื่อและศรัทธาในหลักธรรม
เป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้เกิด จริยธรรม ส่วนในกรณีศึกษาที่ 2 ได้รับการอนุเคราะห์จากวัดเรื่องการทำ
78
ศพให้แก่แม่บุญธรรม มีความเชื่อศรัทธาตามหลักพระพุทธศาสนาว่าทำดีได้ดีทำชั่ว ได้ชั่ว จึงมีความ
กลัวต่อการทำความชั่ว และในกรณีศึกษาที่ 9 มีความเชื่อและศรัทธาที่มีผลมาจากวัด เนื่องจากในวัย
เด็กได้อาศัยอยู่กับพระสงฆ์ในวัด ได้รับการอบรมสั่งสอน รับใช้ปรนนิบัติใกล้ชิดกับพระสงฆ์ ได้รับ
ความรักและเมตตาจากพระ เมื่อออกจากวัดใช้ชีวิตเป็นเด็กเร่ร่อนก็ยังยึดถือหลักธรรมคำสั่งสอน
ตามหลักศึล 5 ถือได้ว่า เป็นพื้นฐานที่ก่อให้เกิดจริยธรรม
ระเบียบของกองทุน จากองค์ประกอบการบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
ได้ศึกษาระเบียบของกองทุนทั้ง 5 ชุมชน พบว่า นอกจากวัตถุประสงค์ของกองทุนที่ให้สมาชิกกู้ไป
สร้างอาชีพใหม่และลดค่าใช้จ่ายแล้ว วัตถุประสงค์ของประชาชนใน 5 ชุมชนมีความเห็นพ้องต้องกัน
คือ เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจให้สมาชิกเป็นคนดีมีคุณธรรม 4 ประการคือ มีความซื่อสัตย์ ไม่
เห็นแก่ตัว ไม่มัวเมาในอบายมุข และรู้จักสามัคคี ซึ่งหมายถึงต้องการให้สมาชิกเป็นคนดีมีจริยธรรม
กรณีศึกษาทั้ง 10 กรณี ได้มาจากวิธีการพิจารณาคัดเลือกของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
จากลูกหนี้ชั้นดีของกองทุน คือเป็นผู้ที่ปฏิบัติตามระเบียบของกองทุนอย่างเคร่งครัด ถือระเบียบเป็น
ข้อปฏิบัติ ที่กำหนดให้บุคคลปฏิบัติตาม บุคคลที่ยอมรับและปฏิบัติได้ตามกฎระเบียบของกองทุนจึง
ถือเป็นผู้ที่มีจริยธรรม ดังนั้น อิทธิพลที่มีผลต่อการก่อเกิดจริยธรรมส่วนหนึ่งของกรณีศึกษา 4, 5
และ 7 คือระเบียบกองทุน
ส่วนองค์ประกอบพฤติกรรมการรับข่าวสารไม่พบว่าเป็นองค์ประกอบที่มีผลก่อให้เกิดจริย
ธรรมจากการศึกษาในครั้งนี้
79
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
การศึกษา การก่อเกิดจริยธรรม: กรณีศึกษา สมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านและ
ชุมชนเมือง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่ก่อเกิดจริยธรรมของสมาชิกผู้ใช้บริการกอง
ทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง และศึกษาวิถีชีวิตที่ดีงามของสมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้านและชุม
ชนเมือง กลุ่มตัวอย่างใช้ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ในพื้นที่ 4 เขต คือ เขตบางกอก
น้อย เขตบางพลัด เขตตลิ่งชัน และเขตหนองแขม โดยผู้วิจัยจะคัดเลือกเฉพาะชุมชนนำร่องที่
สามารถจัดตั้งกองทุนได้เป็นกลุ่มแรก ได้แก่ ชุมชนเทพากรร่วมใจ ชุมชนพัฒนาซอย 79 เขตบาง
พลัด ชุมชนหมู่ 6 บางละมาด เขตตลิ่งชัน ชุมชนฉัตรชัย-เสริมโชค เขตหนองแขม ชุมชนวัดบาง
ขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีให้คณะกรรมการกองทุนเป็นผู้ระบุสมาชิกผู้
กู้ที่เป็นลูกหนี้ชั้นดีกองทุนละ 2 คน จำนวน 10 กรณีศึกษา
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีเข้าไปทำความรู้จัก
สร้างความคุ้นเคย สังเกต และทำการสัมภาษณ์เจาะลึกเป็นรายบุคคล เปิดโอกาสให้กรณีศึกษาพูด
คุยได้อย่างอิสระในสิ่งที่เป็นภูมิหลังของครอบครัว การดำเนินชีวิตตั้งแต่วัยเด็ก วัยเรียน วัยทำงาน
และการดำรงชีวิตในปัจจุบัน เพื่อหาความสัมพันธ์และบรรยากาศในครอบครัว ความเชื่อและศรัทธา
ในหลักธรรม และความสัมพันธ์กับวัด ความประทับใจเกี่ยวกับครู เพื่อน สภาพแวดล้อมสังคม
ระเบียบกองทุนและพฤติกรรมการรับข่าวสาร ผู้วิจัยได้ใช้คำถามเป็นประเด็นๆ โดยอาศัยการพูดคุย
แบบไม่เป็นทางการ และใช้สังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้
1. ข้อมูลชุมชน เกี่ยวกับสถานที่ตั้ง สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี
ศึกษาข้อมูลภูมิหลังของกรณีศึกษา และข้อมูลองค์ประกอบที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดจริยธรรมของ
สมาชิกกองทุนเป็นรายบุคคล ชุมชนละ 2 คน รวม 5 ชุมชน รวมทั้งสิ้น 10 กรณีศึกษา
2. วิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ เป็นรายบุคคล
3. สรุปองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม และสรุปแยกเป็นรายบุคคล
สรุปผลการวิจัย
การศึกษา เรื่อง การก่อเกิดจริยธรรม: กรณีศึกษา สมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้าน
80
และชุมชนเมือง มีผลการศึกษตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ กล่าวคือ เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่ก่อ
เกิดจริยธรรมของสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ในการวิจัยได้
ศึกษาประวัติของสมาชิกและศึกษาข้อมูลองค์ประกอบที่กำหนดไว้ ประกอบด้วย บ้าน วัด โรง
เรียน สภาพแวดล้อมสังคม ระเบียบกองทุน พฤติกรรมการรับข่าวสาร จากการศึกษาพบว่า องค์
ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม ที่มีอิทธิพลมากที่สุดได้แก่ บ้าน ศึกษาจากความ
สัมพันธ์ในครอบครัว และวิธีการอบรมเลี้ยงดู มีจำนวน 9 กรณีศึกษา ได้แก่ กรณีศึกษาที่ 1 ถึงกรณี
ศึกษาที่ 9 รองลงมาเป็นองค์ประกอบ สภาพแวดล้อมสังคม มีจำนวน 7 กรณีศึกษาที่พบ ได้แก่ กรณี
ศึกษาที่ 1 , 2, 3, 4, 8 ,9 และ 10 องค์ประกอบ โรงเรียน มีจำนวน 4 กรณีศึกษาที่พบได้แก่ กรณีศึกษา
ที่ 1, 2,4,5 และ 6 องค์ประกอบ วัด มีจำนวน 3 กรณีศึกษาที่พบ ได้แก่ กรณีศึกษาที่ 1, 2 และ 10 องค์
ประกอบ ระเบียบกองทุน มีจำนวน 2 กรณีศึกษาที่พบได้แก่ กรณีศึกษาที่ 5 และ กรณีศึกษาที่ 7 ส่วน
องค์ประกอบพฤติกรรมการรับข่าวสารพบว่าไม่มีอิทธิพลที่ก่อเกิดจริยธรรมในการศึกษาครั้งนี้
จากผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพ มีคุณ
ธรรมและจริยธรรม เป็นคนดีของสังคม เพื่อให้เกิดความเจริญของสังคมและมีความยั่งยืนต่อไป
การอภิปรายผลการวิจัย
จากการศึกษาองค์ประกอบที่ก่อให้เกิดจริยธรรมของผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านและ
ชุมชนเมืองของชุมชนนำร่องในโซนกรุงธนเหนือ สามารถอภิปรายผลภายใต้แนวคิด ทฤษฎีได้ดังนี้
จากการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนและการบริหารจัดการของทั้ง 5 ชุมชน พบว่า เป็นชุมชนที่มี
ความพร้อม และมีการบริหารจัดการกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการ สมาชิกกองทุนให้
ความร่วมมือ ร่วมใจกัน ปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด มีความซื่อสัตย์ ตรงเวลา โดยที่สมาชิก
ส่วนน้อยมีปัญหาด้านการคืนเงินกู้ แต่ด้วยการบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุน ทำให้
สามารถแก้ไขปัญหาได้ ส่งผลให้การบริหารกองทุนเป็นไปตามเป้าหมาย เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้
บริการกองทุน
ด้านข้อมูลทั่วไป พบว่า ทั้ง 10 กรณีศึกษา เป็นลักษณะของคนดีมีคุณธรรมและจริยธรรม มี
ความซื่อสัตย์ ประกอบอาชีพอย่างสุจริต มีความเอื้ออาทร ประพฤติตนอย่างมีคุณธรรม มีความ
กตัญญูกตเวทีต่อบุพการี มีจิตใจที่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และช่วยเหลือผู้อื่น มีความรับผิดชอบ และทำงาน
เปน็ ได้ผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนที่นำมาศึกษา จงึ ไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ คนด ี เป็นที่ชื่นชมยกย่อง
จากคณะกรรมการกองทุนของชุมชนว่าเป็นคนดี มีจริยธรรม
81
จากการวิเคราะห์อิทธิพลขององค์ประกอบที่ก่อให้เกิดจริยธรรม พบว่า องค์ประกอบที่มี
อิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมมากที่สุด คือ บ้าน จากการศึกษาข้อมูลภูมิหลังของครอบครัว กรณี
ศึกษาส่วนใหญ่ มีบรรยากาศครอบครัวที่บิดามารดาเป็นผู้ให้การเลี้ยงดูเป็นส่วนใหญ่มี 1 กรณีที่ได้
รับการอบรมเลี้ยงดูจากพระ เพราะครอบครัวมีลูกมาก บิดาเสียชีวิต มารดาเห็นว่าลูกควรมีการศึกษา
เพื่อเป็นคนดีของสังคม จึงนำไปฝากกับญาติซึ่งเป็นพระช่วยอบรมเลี้ยงดูแทน วิธีการอบรมเลี้ยงดู
ของบิดามารดา ที่พบในการศึกษาครั้งนี้ เป็นตัวแบบของครอบครัว ที่บิดามารดาให้ความรักความเอา
ใจใส่ต่อบุตร ควบคุมดูแลให้บุตรเป็นคนมีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ พึ่งพาตนเองได้ และรู้
จักแบ่งปันกัน สอนให้ทำงานเป็น ไม่พบบรรยากาศครอบครัวที่มีลักษณะของการขัดแย้ง ซึ่งวิธีกา
รอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวส่งผลให้เด็กมีความประพฤติดี มีความรับผิดชอบ ช่วยเหลือเอื้อ
อาทรต่อกัน และมีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและญาติผู้ใหญ่ บิดามารดาจึงมีอิทธิพลต่อ
พัฒนาการทางจริยธรรมของเด็ก จากการวิเคราะห์ยังพบว่า วิธีการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยมี
ผลต่อต่อการก่อเกิดจริยธรรมของบุคคลสูง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ เพียเจ้ท์ ที่ชี้ให้เห็นว่า การ
เลี้ยงดูแบบไม่เข้มงวดนี้ มีส่วนสนับสนุนพัฒนาการทางการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของเด็ก ครอบ
ครัวที่มีวิธีการอบรมเลี้ยงดูแบบรักสนับสนุน เป็นกรณีศึกษาที่บิดามารดาให้ความรัก เอาใจใส่ ทำให้
เด็กเกิดความอบอุ่น มีความรักบิดามารดา และยึดถือบิดามารดาเป็นแบบอย่าง เป็นวิธีการ อบรมที่ส่ง
ผลให้เด็กมีคุณธรรมและจริยธรรมสูง จากการวิเคราะห์ครอบครัวที่มีวิธีการ อบรมแบบพึ่งตนเอง
จากกรณีศึกษาที่บิดามารดามีภาระหน้าที่ในประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวที่ทำการค้าขาย
ไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร ทำให้บุตรต้องพึ่งตนเอง ซึ่งถือเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กทำกิจกรรมด้วยตนเอง
โดยยึดถือบิดามารดาเป็นแบบอย่าง ส่งผลให้เด็กสามารถพึ่งตนเองได้เร็ว ทำงานเป็น มีความรับผิด
ชอบ พี่จะดูแลน้องด้วยความเมตตารักใคร่ ทำให้เกิดความเอื้ออาทร เผื่อแผ่และช่วยเหลือผู้อื่น การอ
บรมเลี้ยงดูแบบพึ่งตนเอง จึงทำให้เด็กเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงอย่างเห็นได้ชัด ลักษณะการเลี้ยงดู
ของบิดามารดาแบบนี้ ยังส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็กทำให้เกิดลักษณะเฉพาะตัว เช่น มีลักษณะของ
ผู้นำ ความมีระเบียบ และมีความรับผิดชอบสูง ครอบครัวที่มีวิธีการ อบรมแบบใช้เหตุผล เป็นกรณีที่
บิดามารดาได้อธิบายเหตุผลให้แก่บุตรในขณะที่ให้การส่งเสริมหรือขัดขวางบุตรการกระทำของ
บุตร รวมทั้งการให้รางวัลหรือทำโทษบุตรอย่างมีความเหมาะสมกับการกระทำของบุตรมากกว่าการ
ทำตามอารมณ์ของตนเอง การกระทำของบิดามารดาเป็นเครื่องช่วยให้เด็กได้เรียนรู้และรับทราบสิ่ง
ที่ควรและไม่ควรทำ ซึ่งการอบรมแบบนี้มีความสำคัญต่อ จริยธรรมและจิตใจเด็ก เกี่ยวข้องโดย
ตรงกับสุขภาพจิตที่มีลักษณะมุ่งอนาคต ครอบครัวที่มีวิธีการ อบรมแบบควบคุมหรือแบบเข้มงวด
เป็นกรณีศึกษาที่บิดามารดาใช้การควบคุมอย่างใกล้ชิด เพื่อให้เด็กทำตามความต้องการของบิดา
มารดา หรือใช้วิธีการปล่อยให้เด็กตัดสินใจเองว่าควรทำหรือไม่ควรทำ เปิดโอกาสให้เด็กเป็นตัวของ
82
ตัวเองบ่อยครั้งโดยไม่เข้าไปยุ่งมากนัก การเลี้ยงดูแบบนี้มีผลให้เด็กเป็นคนมีระเบียบ ทำตามกรอบที่
วางไว้ ในทางตรงกันข้ามการเข้มงวดกวดขันอาจทำให้เด็กมีพฤติกรรมไปทางเก็บกด ไม่แสดง
ความคิดเห็น หลีกหนีไม่ยอมพบหน้าพ่อแม่ เบื่อครอบครัวได้
ผลการศึกษาด้านภูมิหลังของกรณีศึกษาทั้ง 10 กรณีพบว่า ครอบครัวส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพค้าขายและมีฐานะยากจน การอบรมเลี้ยงดูของแต่ละครอบครัวมีการอบรมเลี้ยงดูแบบต่างๆ
ซึ่งทุกแบบสามารถส่งผลให้เด็กเป็นคนดี มีจริยธรรมได้ โดยที่บิดามารดาเป็นตัวแบบของ
ครอบครัวที่ถ่ายทอดลักษณะการปฏิบัติตนให้กับบุตร ในด้านการประกอบอาชีพ การมีคุณธรรม
ความเชื่อ และการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงามของสังคม ยึดในหลักธรรมคำสั่งสอน
ของพุทธศาสนา เป็นการปลูกฝังความเป็นคนดี มีความรับผิดชอบ และกตัญญูกตเวทีต่อบุพการีให้
กับบุตรมาตั้งแต่วัยเด็ก ด้านการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่มีการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษา ถึง
ระดับปริญญาตรี ทุกกรณีให้ความสนใจในด้านการศึกษา ด้านการดำรงชีวิตในปัจจุบัน ส่วนใหญ่
มีลักษณะการประกอบอาชีพค้าขายภายในชุมชนแบบพอมีพอกินถึงปานกลาง
การวิเคราะห์ตามองค์ประกอบที่ก่อให้เกิดจริยธรรมแยกตามองค์ประกอบที่กำหนดไว้
สรุปผลการศึกษาตามองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมเรียงตามลำดับดังนี้
บ้าน เป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพลมากที่สุด เป็นสถาบันที่สำคัญต่อการพัฒนาด้าน
จริยธรรม มีวิธีการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวที่พบ 4 ลักษณะ คือ แบบรักสนับสนุน แบบพึ่ง
ตนเอง แบบใช้เหตุผล แบบเข้มงวด แต่ละครอบครัวมีการอบรมเลี้ยงดูที่ผสมผสานกัน ผลของกา
รอบรมเลี้ยงดูทำให้เด็กเป็นคนด ี แสดงให้เห็นว่าครอบครัวเป็นสถาบันที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิด
จริยธรรมสูง โดยเฉพาะการเลี้ยงดูแบบให้ความรักสนับสนุนจะมีผลต่อการเกิดจริยธรรมสูง ส่วนกา
รอบรมเลี้ยงดูแบบพึ่งตนเอง มีลักษณะการพึ่งตนเองที่ทำให้เด็กสามารถช่วยตนเองใน กิจกรรม
ต่างๆ ได้เองโดยอาศัยบิดามารดาเป็นแบบอย่างซึ่งส่งผลต่อจิตใจให้เป็นคนมีความรับผิดชอบ มี
ความเสียสละ เอื้อเฟื้อและมีจิตใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่สูง พบในครอบครัวมีประกอบอาชีพค้าขาย บทบาท
83
ของบิดามารดาทำให้บุตรยึดเป็นแบบอย่างในการประกอบอาชีพของตน จึงกล่าวได้ว่า บิดามารดามี
อิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็ก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของบิดามารดาในเรื่องสถานภาพทางสังคม
และในตัวเด็ก ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของเคย์ (Key 1975 อ้างใน ดวงเดือน พันธุมนาวิน และ
เพ็ญแข ประจนปัจจนึก 2520: 175) ที่ อธิบายให้เห็นว่า ลักษณะทางจริยธรรมมิได้มีติดตัวบุคคลมา
แต่กำเนิด แต่ต้องมีการเรียนรู้จากบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ฐานะทางเศรษฐกิจและ
สังคมของครอบครัวมีส่วนกำหนดจริยธรรมของเด็ก ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ จุฑามณี
จาบตะขบ (2542: 31) ที่พบว่า ความสัมพันธ์ในครอบครัว เมื่อเป็นเด็กไม่กล้าทำผิดเพราะกลัวถูกลง
โทษ โตมาหน่อย ทำความดีเพราะได้รางวัล พอ 10 ขวบ เริ่มทำความดีเพราะคนอื่นเขาก็ทำเหมือน
กัน พอวัยรุ่นทำความดี เพราะมันคือความดี ไม่ต้องหาเหตุผลอะไรอีกแล้ว ที่ชี้ให้เห็นว่าสัมพันธ
ภาพในครอบครัว เป็นความสัมพันธ์ตามบทบาทที่คนเรามีต่อสมาชิกคนอื่นในครอบครัว ลักษณะ
ของความสัมพันธ์ที่ดีประกอบด้วยความปรองดอง รักใคร่กลมเกลียวในครอบครัว ซึ่งความสัม
พันธภาพในลักษณะนี้ สามารถทำให้สมาชิกในครอบครัว มีความสุข มีสุขภาพจิตที่ดีได้เป็น
พื้นฐานของการก่อเกิดจริยธรรมตั้งแต่วัยเด็ก
สภาพแวดล้อมสังคม เป็นองค์ประกอบมีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรมรองลงมาจาก องค์
ประกอบบ้าน จากการศึกษาสภาพชุมชนทั้ง 5 ชุมชน พบว่า ลักษณะของชุมชนมีความแตกต่างกัน
มีทั้งชุมชนเมืองที่สมบรูณ์แบบ เป็นชุมชนที่อยู่ท่ามกลางความเจริญประชาชน มีความสะดวกสบาย
ทางด้านการอุปโภคบริโภค เศรษฐกิจชุมชนอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างร่ำรวย ภายในชุมชน
เป็นที่ตั้งของ บ้าน วัด โรงเรียน มีสถานที่ที่ได้รับการพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล เช่นสนามเด็ก
เล่น ศูนย์เด็กเล็ก สถานีอนามัย และมีการรวมกลุ่มของประชาชนเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นชุมชน
ที่มีความพร้อมในทุกด้าน ซึ่งสามารถทำให้บุคคลอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดมีส่งผลให้เกิดจริยธรรม
ได้ ชุมชนที่พบอีกลักษณะหนึ่งคือ ชุมชนชายขอบ เป็นชุมชนที่อยู่ห่างใจกลางเมือง แต่อยู่ในอาณา
เขตเมือง ระบบบริหารจัดการขึ้นอยู่กับส่วนกลาง ประกอบด้วย ชุมชนหมู่ 6 บางระมาด และชุม
ชนฉัตรชัย-เสริมโชค ซึ่งทั้ง 2 ชุมชนนี้มีลักษณะที่แตกต่างกัน ชุมชนหมู่ 6 บางระมาด เป็นชุมชน
ดั้งเดิม ปัจจุบันพัฒนาเป็นชุมชนกึ่งชนบทกึ่งเมือง ประชาชนดั้งเดิมมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สมถะ มี
อาชีพทำสวนผลไม้ ปลูกผัก มีการยึดถือขนบธรรมเนียมดั้งเดิม มีความเชื่อและศรัทธาบรรพบุรุษ
และผู้อาวุโส ซึ่งเห็นได้จากลักษณะของผู้นำชุมชน ส่วนชุมชนฉัตรชัย-เสริมโชคเป็นชุมชนใหม่
ประชาชนที่มาสร้างบ้านเรือนมาจากถิ่นอื่น มีการศึกษาในระดับต่ำ สถานทางเศรษฐกิจยากจน แต่
ทั้งสองชุมชนต่างมีสมาชิกที่มีคุณธรรม มีวิธีสร้างความเชื่อให้แก่สมาชิกชุมชนและสมาชิกให้
การเคารพนับถือผู้นำชุมชนเป็นอย่างดี สภาพแวดล้อมทางสังคมพบว่า มีวิถีชุมชนที่ไม่เป็น
84
ระเบียบมีความเป็นอยู่ที่หลากหลาย ฐานะทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับยากจนถึงปานกลาง ประชา
ชนทั้ง 5 ชุมชนประกอบอาชีพค้าขาย จึงมีการพบปะสังสรรค์กันในลักษณะการเป็นเพื่อนบ้าน คน
ในชุมชนเดียวกันมีการช่วยเหลือเอื้ออาทรต่อกัน ทำให้สภาพแวดล้อมทางสังคมของชุมชนมีผลต่อ
การก่อเกิดจริยธรรม ซึ่งเห็นได้จากผลการศึกษาที่พบว่า สมาชิกกองทุนของชุมชนเหล่านี้เป็นผู้ที่
มีจริยธรรม ซึ่งอธิบายได้ว่า บุคคลถึงแม้นว่าการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวจะเหมาะสม บุคคลและ
ได้รับการอบรมด้านจริยธรรมมาดี แต่สังคมไม่ได้รับการพัฒนาให้มีสภาพเอื้อต่อการกระทำความดี
ของบุคคล ขาดแบบอย่างที่จะกระตุ้นให้บุคคลมีความซื่อสัตย์ และผลักดันให้บุคคลกระหายที่จะ
กระทำดีแล้ว บุคคลนั้นก็ไม่สามารถจะต้านทานการยั่วยุได้ อาจมีพฤติกรรมไปตามแรงผลักดันของ
สิ่งยั่วยุนั้นได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงทดลองของ ดวงเดือน พันธุมนาวินและเพ็ญแข
ประจนปัจจนึก (2520: 183) ที่พบว่า สภาพแวดล้อมของวัยรุ่นมีอิทธิพลโดยตรงอย่างรุนแรงต่อพฤติ
กรรมการโกง ในสภาพการยั่วยุสูง แม้นเด็กที่มาจากครอบครัวที่มีการ อบรมเลี้ยงดูแบบ
ประชาธิปไตย และมีจริยธรรมสูง แต่ก็ยังพ่ายแพ้แก่อำนาจฝ่ายต่ำได้โดยง่าย นอกจากนี้ยังชี้ให้
เห็นว่า การที่บุคคลอยู่ในกลุ่มสังคมซึ่งมีค่านิยม และวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกันย่อมจะทำให้บุคคลมีจ
ริยธรรมที่แตกต่างกันไปด้วย กลุ่มสังคมที่ควรพิจารณาคือ กลุ่มที่แบ่งตามฐานะทางเศรษฐกิจ สถาน
ภาพทางสังคมของครอบครัว การประกอบอาชีพของบิดามารดา ระดับการศึกษา เมื่อนำมาเปรียบ
เทียบกันจะพบว่า มีลักษณะทางจริยธรรม 2 ประการ คือ ระดับการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม กับ
ลักษณะมุ่งอนาคต ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นลักษณะที่สำคัญที่สุดทางจริยธรรม รองลงมา เกิดจากจาก
พฤติกรรมเชิงจริยธรรม สถานการณ์เป็นสิ่งสำคัญที่มีผลต่อพฤติกรรมซึ่งจากการศึกษาของดวง
เดือน พันธุมนาวิน และเพ็ญแข ประจนปัจจนึก (2520: 183) ชี้ให้เห็นว่า บุคคลที่อยู่ในสถานการณ์
ยั่วยุ ซึ่งเป็นสภาพที่เร้าให้บุคคลเกิดความอยาก ความต้องการหรือความเห็นแก่ตัว อันจะมีผลผลัก
ดันให้บุคคลนั้นกระทำสิ่งที่ผิดกฎเกณฑ์ ข้อบังคับคำสั่ง หรือปทัถฐานของสังคมเพื่อประโยชน์ส่วน
ตน จากสภาพแวดล้อมที่ยั่วยุสูง เป็นสภาพแวดล้อมที่ปราศจากการสอดส่องดูแล นอกจากนี้
สภาพแวดล้อมยังมีผลต่อระดับจิตใจของเยาวชน โดยมีข้อสนับสนุนแนวคิดนี้จากผลการทดลอง
ของดวงเดือน พันธุมนาวิน และและเพ็ญแข ประจนปัจจนึก (2520: 186) ในการจัดสภาพแวด
ล้อมเพื่อยกระดับจิตใจของเยาวชนพบว่า ผู้มี จริยธรรมสูงมีความไวในการรับรู้สภาพแวดล้อม และ
ปฏิบัติตนได้สอดคล้องกับประสบการณ์ของตนมากกว่าผู้ที่มีจริยธรรมต่ำ จึงสรุปได้ว่า สภาพแวด
ล้อมเป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญที่ก่อเกิดจริยธรรมในบุคคลได้สูง
โรงเรียน เป็นองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับครู อาจารย์ ผลจาการศึกษาพบว่า เด็ก
ความสัมพันธ์กับครู โดยยึดครูเป็นต้นแบบ โรงเรียนจึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีผลต่อการก่อเกิด
85
จริยธรรม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการที่เด็กมีความประทับใจครู ด้านบทบาท พฤติกรรมการทำความดี
ลักษณะความเป็นผู้นำของครู และการได้รับความเมตตากรุณาจากครู เด็กจึงยึดถือครูเป็นต้นแบบใน
การทำความดี ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลองจากการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อยกระดับจิตใจของเยาว
ชนของดวงเดือน พันธุมนาวินและเพ็ญแข ประจนปัจจนึก (2520: 185-187) ที่พบว่า เยาวชนเป็นวัย
ที่ชอบเลียนแบบผู้ที่ตนชื่นชอบ จึงได้เลียนแบบตัวแบบนั้น การเลียนแบบจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่
กับลักษณะของตัวแบบเอง และลักษณะของผู้ที่จะเลียนแบบ จากผลการทดลองยังให้ข้อสนับสนุน
ว่า ลักษณะของตัวแบบและลักษณะทางจริยธรรมของผู้เลียนแบบต่างมีอิทธิพลต่อการเลียนแบบ
พฤติกรรมซื่อสัตย์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าลักษณะของตัวแบบที่เหมาะสมแก่การเลียนแบบจะสามารถ
ปลูกฝังพฤติกรรมซื่อสัตย์ให้แก่เยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดด้านการ
พัฒนาจริยธรรมของประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ (2542 : 6) ได้อธิบายถึง ลักษณะการเกิด
พัฒนาการทางจริยธรรม เกิดได้จากพัฒนาการตามพ่อแม่และครู เกิดจากการถ่ายทอดทางจิตใต้
สำนึกเมื่อปลาย 5 ขวบ และเกิดจากการเรียนเรื่อง จริยธรรมจากสังคมเมื่อเป็นเด็กไม่กล้าทำผิด
เพราะกลัวถูกลงโทษ โตมาหน่อย ทำความดีเพราะได้รางวัล พอ 10 ขวบ เริ่มทำความดีเพราะคนอื่น
เขาก็ทำเหมือนกัน พอวัยรุ่นทำความดี เพราะมันคือความดี ไม่ต้องหาเหตุผลอะไรอีกแล้ว
วัด เป็นองค์ประกอบที่มาจากความสัมพันธ์กับวัดและความเชื่อความศรัทธาในหลักธรรม
ผลการศึกษาพบว่า การก่อเกิดจริยธรรมมีผลสืบเนื่องมาจากการถ่ายทอดของครอบครัวที่มีบิดา
มารดาเป็นต้นแบบ ความสัมพันธกับวัดและความเชื่อความศรัทธาในหลักธรรมที่สอนให้คน
ประกอบกรรมดี และจากสังคม มีลักษณะของความเชื่อที่เกิดจากการถ่ายทอดวัฒนธรรมและ
ประเพณีที่สืบต่อกันมาของสังคมไทย มีความเชื่อเรื่องบาปบุญ คุณโทษ ซึ่งใช้เป็นกลยุทธ์ในการ
สอนให้คนเป็นคนดี มีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาและบรรพบุรุษ จากผลการศึกษาของ
จุฑามณี จาบตะขบ (2542: 9-21) อธิบายถึงความเชื่อไว้ว่า ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อของสังคมใดก็ตาม
อาจแบ่งได้ออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ความเชื่อที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบศาสนาใหญ่ หรือศาสนา
ประจำชาติ เป็นความเชื่อที่มีเหตุผลและอธิบายสิ่งที่คนสงสัยได้อย่างแจ่มชัด มีระบบ และเป็นตัว
กำหนด และความเชื่อพื้นบ้าน เป็นความเชื่อที่สืบทอดกันมาตามประเพณี ตลอดจนถือปฏิบัติ
ตามประเพณีความเชื่อในสังคมไทยทั้งสองระดับ มีความแตกต่างกันตรงที่ว่า ความเชื่อที่เป็น
ส่วนหนึ่งของระบบศาสนาใหญ่หรือศาสนาประจำชาต ิ เป็นความเชื่อที่มีเหตุผลและเป็นระบบ แต่
ความเชื่อพื้นบ้านเป็นความเชื่อที่ไม่สามารถหาเหตุผลมาอธิบายได้ หรือเป็นความเชื่อที่ไม่มีเหตุผล
เนื่องจากความเชื่อระดับนี้เป็นความฉับไวในการยอมรับและปฏิบัติไม่ต้องการให้เสียเวลาในการ
86
อธิบายเหตุผล ความเชื่อและความศรัทธาในหลักธรรมที่บุคคลมีต่อวัดและพระพุทธศาสนาจึงเป็น
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดจริยธรรมได้
ระเบียบกองทุน เป็นองค์ประกอบที่ใช้ในการบริหารจัดการกองทุนของคณะกรรมการกอง
ทุนหมู่บ้าน จากการศึกษา พบว่า ระเบียบกองทุน เป็นองค์ประกอบหนึ่งของกองทุนหมู่บ้านที่มีเป้า
หมายให้เกิดการพัฒนาจิตใจ เพื่อให้สมาชิกผู้ใช้ประโยชน์เป็นคนดีมีคุณธรรม 4 ประการ คือ มีความ
ซื่อสัตย์ ไม่เห็นแก่ตัว ไม่มัวเมาในอบายมุข และรู้จักสามัคคี ซึ่งหมายถึง ต้องการให้สมาชิกผู้ใช้
ประโยชน์จากกองทุนเป็นคนดีมีจริยธรรม (อ้างใน ระเบียบกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่ง
ชาติ) ดังนั้น ระเบียบกองทุน จึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่พบว่ามีอิทธิพลที่ก่อให้เกิดจริยธรรม
ของสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุน
พฤติกรรมการรับข่าวสาร เป็นองค์ประกอบที่ใช้ศึกษาการรับรู้ข่าวสารของสมาชิกผู้ใช้
ประโยชน์จากกองทุน ผลจากการศึกษาพบว่า กรณีศึกษาส่วนใหญ่นิยมข่าวประเภทการบันเทิง และ
สังคมจากสื่อ โทรทัศน์ และวิทยุ ส่วนสมาชิกกองทุนที่มีอาชีพทางเกษตรกรรม หรือชาวสวน เวลา
ไม่เอื้ออำนวยต่อการรับรู้ข่าวสาร ผู้ที่ประกอบอาชีพค้าขายส่วนใหญ่รับรู้ข่าวสารจากสื่อบุคคล
เพื่อนบ้าน และลูกค้าที่มาซื้อของเท่านั้น พฤติกรรมการรับข่าวสารจึงเป็นองค์ประกอบที่ไม่ส่งผลต่อ
การก่อเกิดจริยธรรม
สรุปได้ว่าองค์ประกอบที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดจริยธรรม เกิดจากครอบครัวหรือบ้านมากที่
สุด โดยยึดบิดามารดาเป็นแบบอย่าง รองลงมาเป็นองค์ประกอบสภาพแวดล้อมทางสังคม ซึ่งการ
ดำเนินชีวิตส่วนใหญ่ของสมาชิกในชุมชนยังมีความเอื้ออาทรต่อกัน ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ดีของการ
ก่อเกิดจริยธรรม องค์ประกอบ ความสัมพันธ์กับวัดและความเชื่อความศรัทธาในหลักธรรม เป็น
องค์ประกอบลำดับต่อมาที่มีความสำคัญในการก่อเกิดจริยธรรม เพราะวัดกับบ้านมีความใกล้ชิดกัน
มานาน วัดเป็นจุดศูนย์รวมของการทำกิจกรรมต่างๆ ของชาวบ้าน และยังเป็นแหล่งที่มีอิทธิพลใน
การถ่ายทอดหลักธรรมความเชื่อให้แก่ชาวบ้านมาช้านาน ส่วนองค์ประกอบ ความสัมพันธ์กับครู
อาจารย์มีอิทธิพลก่อให้เกิดจริยธรรม เพราะครูมีบทบาทที่สำคัญสำหรับเด็ก เป็นตัวแบบที่เด็กนำไป
ใช้เป็นแบบอย่าาง จากการที่เด็กเกิดความประทับใจในบทบาทและพฤติกรรมของครู โดยเฉพาะเด็ก
ที่ได้รับความเมตตากรุณาและความช่วยเหลือจากคร ู รวมทั้งเยาวชนอยู่ในช่วงที่เลียนแบบตัว
แบบที่ตนประทับใจ ครูจึงเป็นตัวแบบที่สำคัญสำหรับเยาวชนที่จะยึดถือเป็นแบบอย่าง องค์
ประกอบระเบียบกองทุน เป็นองค์ประกอบที่ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารกองทุน เพื่อให้บรรลุ
87
วัตถุประสงค์ นอกจากจะใช้สำหรับเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการจัดการกองทุนแล้ว ยังมีเป้า
หมายมุ่งพัฒนาจิตใจสมาชิกให้เป็นคนด ี 4 ประการ คือ มีความซื่อสัตย์ ไม่เห็นแก่ตัว ไม่มัวเมาใน
อบายมุข และรู้จักสามัคคี เป็นคนดีของสังคม ส่วนองค์ประกอบพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสาร จาก
การศึกษาไม่พบว่า เป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการก่อเกิดจริยธรรม เพราะสมาชิกส่วนใหญ่
นิยมข่าวสารประเภทการบันเทิง และสังคมจากสื่อประเภทวิทยุ โทรทัศน์ และมีส่วนน้อยที่อ่านจาก
หนังสือพิมพ์
สรุปผลการศึกษาได้ว่า องค์ประกอบสำคัญที่ก่อเกิดจริยธรรมของสมาชิกผู้ใช้
ประโยชน์
จากกองทุนหมู่บ้าน จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่า มีอิทธิพลมาจาก บ้าน
สภาพแวดล้อมสังคม โรงเรียน วัด และระเบียบกองทุน เรียงตามลำดับความ
สำคัญ และยังพบว่า พฤติกรรมการรับข่าวสาร เป็นองค์ประกอบที่ไม่มีอิทธิ
พลต่อการก่อเกิดจริยธรรมของผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุน
ข้อเสนอแนะ
ผลจากการศึกษาครั้งนี้ แสดงให้เห็นถึงความสำคัญขององค์ประกอบ
ต่างๆ โดยมีบ้าน เป็นสถาบันที่มีความสำคัญที่สุดในการปลูกฝังคุณธรรม และจ
ริยธรรมให้เกิดขึ้นในจิตใจมากที่สุด นอกจากนี้ครอบครัวยังมีบทบาทที่สำคัญใน
การถ่ายทอดลักษณะพระพุทธศาสนาทำให้คนเป็นคนดีมีคุณธรรมและจริย
ธรรม ความเชื่อความศรัทธาในหลักธรรมมาจากความสัมพันธ์กับวัด โดย
เฉพาะความเชื่อในพระรัตนตรัย กฎแห่งกรรม กฎแห่งการเวียนว่ายตายเกิด
ความเชื่อในพระรัตนตรัย อันเป็นความเชื่อที่สืบทอดกันมาตามประเพณี และถือ
ปฏิบัติตามประเพณีในสังคมไทย แม้ว่าปัจจุบันสภาพวิทยาการจะเจริญก้าวหน้า
ไปมากแต่ในวัฒนธรรมของคนไทยยังคงมีความเชื่อในเรื่องสิ่งต่างๆ ความเชื่อ
ยังมีบทบาทสำคัญในฐานะเป็นตัวกำหนดการแสดงออกของคนในสังคม ความ
88
สัมพันธ์ของครูอาจารย์ จะเกิดขึ้นได้จากการที่เด็กประทับใจในพฤติกรรมของ
ครู การได้รับความเอื้อเอ็นดู เมตตากรุณาที่ครูมีให้กับเด็ก ซึ่งครูทำหน้าที่ขัด
เกลาทางสังคมได้ดี ในด้านการให้ความรู้ ความเข้าใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
และทัศนคติของเด็กได้ พฤติกรรมของมนุษย์ที่แสดงออกมาเป็นสิ่งที่สามารถ
หล่อหลอมและกล่อมเกลาได้จากหลายๆ องค์ประกอบตั้งแต่ บ้าน วัด โรง
เรียน และ สภาพแวดล้อมทางสังคม
ผลการศึกษาครั้งนี้ เมื่อนำมาพิจารณาในภาพรวมแล้วพบว่า สถาบันครอบครัวมีความ
สำคัญเป็นอันดับแรก ซึ่งใช้เป็นแนวทางในการวางแผนกระตุ้นให้บิดามารดาเห็นความสำคัญของ
การอบรมเลี้ยงดูบุตร ต้องให้ความรัก ความเอาใจใส่ และความอบอุ่นแก่บุตร เป็นการปลูกฝังให้เด็ก
เป็นคนดี มีคุณธรรมและจริยธรรมได้
ผลการศึกษาให้ข้อสนับสนุนแนวคิดด้านการขัดเกลาทางสังคมที่มีผลต่อพฤติกรรมของ
บุคคลในสังคม ทำให้เห็นอิทธิพลของ บิดามารดา ครูอาจารย์ และความเชื่อความศรัทธาในหลัก
ธรรม ที่ส่งผลต่อการก่อเกิดคุณธรรมและจริยธรรมของบุคคล เป็นปัจจัยภายในที่มีความสำคัญด้าน
จิตใจ และในที่สุดก็จะแสดงผลทางพฤติกรรมทางสังคมของบุคคล และมีระเบียบกองทุนเป็นแนว
คิดในด้านการบริหารจัดการกองทุน ที่เป็นกลยุทธในการพัฒนาคุณภาพของคนให้มีระเบียบวินัย
ซื่อสัตย์ อันเป็นพื้นฐานของการเป็นคนดีมีจริยธรรม
ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรทำวิจัยสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนในชุมชนอื่นเพื่อเปรียบเทียบ
องค์ประกอบที่ก่อให้เกิดจริยธรรม
2. ควรทำวิจัยปัจจัยที่ทำให้ชุมชนบริหารงานสำเร็จในระดับ AAA
3. ควรศึกษาบทบาทของครู อาจารย์ในการพัฒนาจริยธรรมของเด็กในวัยเรียน
4. ควรศึกษายุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการของคณะกรรมการบริหารกองทุนหมู่บ้าน
และชุมชนเมืองที่ประสบผลสำเร็จ
89
บรรณานุกรม
กทม.สาร. กรุงเทพฯ: ฉบับ กุมภาพันธ์ 2545.
______. (2539). เอกสารการพัฒนาชุมชนของ. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการ
จัดทำเอกสารการพัฒนาชุมชน กรุงเทพมหานคร.
กมลรัตน์ ยามมีสิน. (2546, กุมภาพันธุ์ 13). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชน
วัดบางขุนนนท์. สัมภาษณ์.
กรมวิชาการ,. (2523). การประชุมทางวิชาการเกี่ยวกับจริยธรรมไทย. กรุงเทพฯ:
กองวิจัยการศึกษา.
กระบี่ ชลวิทย์. (2543). ครอบครัวที่มีคุณภาพในทัศนะของพนักงานธนาคารทหารไทย
ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต
(การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม) : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.
กิติมา สุรสนธ.ิ (2543). ความร้ทู้ทู างการสือื่อ่ สาร. กรุงเทพฯ: คณะวารสารศาสตร์และสื่อมวลชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ. (2544). คู่มือการพิจารณาเงินกู้
สำหรับคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการ
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
คณะกรรมการพัฒนาการศึกษาอบรมเลี้ยงดูเด็ก. (2535). รายงานการศึกษาแนวทางการพัฒนา
คุณธรรมจริยธรรม. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
งามตา วนินทานนท์. (2528). รายงานวิจัยฉบับที่ 50 ลักษณะทางพุทธศาสนาและ
พฤติกรรมศาสตร์ของบิดามารดาที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูบุตร. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
________. (2536). ลักษณะทางพุทธศาสนาและพฤติกรรมศาสตร์ของบิดามารดาที่
เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูบุตร. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
90
จิตติ มงคลชัยอรัญญา. (2541). กองบุญ: การแก้วิกฤตเศรษฐกิจแบบไทยๆ ใน
กระแสโลกาวิบัติ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จุฑามณี จาบตะขบ. (2542). การศึกษาปัจจัยที่ทำให้คนทำความดีเพื่อสังคม: ศึกษาเฉพาะ
กรณีบุคคลที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ตำบลกำแพงดิน อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2528). สถานภาพการศึกษาเรื่องคติความเชื่อของไทย. กรุงเทพฯ:
โครงการไทยศึกษา ฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉันทนา มุติ. (2540). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดูการสนับสนุนทาง
สังคมการบรรลุงานตามขั้นพัฒนาการและพฤติกรรมพลเมืองดีของวัยรุ่นในภาคใต้.
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(จิตวิทยาพัฒนาการ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชลบุษย์ เจริญสุข. (2540). การศึกาาความสัมพันธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดู การสนับสนุน
ทางสังคม การบรรลุงานตามขั้นพัฒนาการและพฤติกรรมพลเมืองดีของวัยรุ่น
ในภาคตะวันตก. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาพัฒนาการ)
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชาญชัย ยมดิษฐ์. (2528). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติศีลห้าตามคำรายงานของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตการศึกษา 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชำเลือง วุฒิจันทร์. (2522). จริยธรรมในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ.
ฐิติวรรณ สุกใส. (2540). ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการการมีพฤติกรรมคุณธรรมทางพุทธ
ศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดสมุทรปราการ.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขา การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2522). ตำราจิตวิทยา การพัฒนาจริยธรรม. กรุงเทพฯ: สถาบัน
วิจัยพฤติกรรมศาสตร์.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน และเพ็ญแข ประจนปัจจนึก. (2520). จริยธรรมของเยาวชนไทย.
กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
91
ประสานมิตร.
________. (2524). รายงานการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวกับสุขภาพจิตและ
จริยธรรมของนักเรียนวัยรุ่นไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
_______. (2526) . จุลสารฉบับที่ 4 ครูกับการปลูกฝังจริยธรรมแก่นักเรียน.
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน และคณะ. (2528). เรื่องปัจจัยทางจิตวิทยานิเวชที่เกี่ยวกับการ
อบรมเลี้ยงดูเด็กของมารดาไทย. รายงานการวิจัยฉบับที่ 32 กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัย
พฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
_______. (2524). คุณธรรมที่พึงประสงค์ของเยาวชนไทย. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
_______. (2529). รายงานการวิจัย เรื่อง การควบคุมอิทธิพลสื่อมวลชนของครอบครัว
กับจิตลักษณะที่สำคัญของเยาวชนไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ดวงเดอื น พันธุมนาวิน อรพินทร ์ ชูชม และงามตา วนนิ ทานนท. (2528). ปัจจัยทาง
จิตวิทยานิเวศน์ที่เกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กของมารดาไทย. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
เดโช สวนานนท์. (2518). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ทัศนา ทองภักดี. (2528). ความสัมพันธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดูแบบใช้เหตุผลกับความ
เชื่ออำนาจภายในตนของเด็กวัยรุ่นไทย.ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
นภาจรี นำเบ็ญจพล และอมรรัตน์ จันทร์เพ็ญสว่าง. (2537). จิตวิทยาศาสนา ความเชื่อและ
ความจริง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์กองทุน บี.ทราเวน.
ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. (2542). น้ำกับการพัฒนาการทางจริยธรรม (ของเด็กๆ).
มติชนรายวัน. วันที่ 15 กุมภาพันธ์
ปราณี ปฐพี. (2546, กุมภาพันธุ์ 10). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้านชุมชนฉัตรชัย-
เสริมโชค. สัมภาษณ์.
พรรณิภา อุ่นแจ่ม. (2546, กุมภาพันธุ์ 28). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชน
พัฒนาซอย 79. สัมภาษณ์.
92
พรรณี ชุทัย. (2521)จริยธรรมทางการศึกษา. เอกสารประกอบการสอนวิชา กศ.ส.ค.511.
กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
พระธรรมปิฏก. (2536). จะพัฒนาคนกันอย่างไร (พุทธศาสนากับการพัฒนามนุษย์).
กรุงเทพฯ : บริษัทจากธรรมิก จำกัด.
________. (2538). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬ่าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2526). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
________. (2527). สถาบันสงฆ์กับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โกมลคุมทอง.
________. (2523). การเสริมสร้างคุณสมบัติทางจริยธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์การศาสนา.
พัทยา สายหู. (2517). กลไกสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬ่าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิทยา รุ่งเดชารัตน์. (2546, กุมภาพันธุ์ 13). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชน
วัดบางขุนนนท์. สัมภาษณ์.
มารุต ดำชะอม. (2524). ระดับการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
เรณู นำผล. (2546, กุมภาพันธุ์ 10).สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้านชุมชนพัฒนาซอย 79.
สัมภาษณ์.
ลัดดา น่วมในชาติ. (2546, กุมภาพันธุ์ 20). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชนหมู่ 6
บางระมาด. สัมภาษณ์.
วรรณา แม้นเลขา. (2546, มกราคม 7). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชนวัดเทพากร.
สัมภาษณ์.
วิทย์ วิศทเวทย์. (2530). มนุษย์กับปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ศรีวรรณา เขียวลี. (2522). พัฒนาการทางจริยธรรมของนักเรียนในภาคกลาง. วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริศักดิ์ เขตตานุรักษ์. (2530). การศึกษาเชิงวิจารณ์เรื่องการพัฒนาค่านิยมทางศาสนาและ
จริยธรรมในเด็กก่อนวัยเรียน ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนยุวพุทธพิทยา
ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิดล.
สงวนศร ี วงศ์ยิ้ม. (2546, มกราคม 5). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชนวัดเทพากร.
93
สัมภาษณ์.
ส้ม กล่ำถนอม. (2546, กุมภาพันธุ์ 20). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชนหมู่ 6 บางระมาด.
สัมภาษณ์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2522). จริยธรรมในสังคมไทย. กรุงเทพฯ:
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ. (2544). คู่มือสำหรับ
ประชาชนเพื่อเตรียมการจัดตั้งและดำเนนงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานสถาบันราชภัฏ. (2545). คู่มือติดตามประเมินผล โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการ
บริหารจัดการกองทุนมู่บ้านและชุมชนเมือง. กระทรวงศึกษาธิการ (กุมภาพันธ์ 2545).
สุขุมาน มาสว่าง. (2541). จริยธรรมกับความสามารถในการคิดเป็นของชาวชนบท อำเภอ
วารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์. (2538). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ :
บริษัทจูนพับลิซซิ่ง.
สุชิรา บุญทัน. (2541). ปัจจัยบางประการของครอบครัวที่สัมพันธ์กับจริยธรรมด้านความ
กตัญญูกตเวทีของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในจังหวัดขอนแก่นวิทยาลัย.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไสว มาลาทอง. (2542). คู่มือการศึกษาจริยธรรม สำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา นักบริหาร
นักปกครองและ ประชาชนทั่วไป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
บริหารจัดการกองทุนมู่บ้านและชุมชนเมือง.
เอื้อมเดือน ทุถาวร. (2546, กุมภาพันธุ์ 11). สมาชิกผู้ใช้บริการกองทุนหมู่บ้าน ชุมชน
ฉัตรชัย-เสริมโชค. สัมภาษณ์.
Ayer,M.E and R.Bernrueter. (1937). A Study of the Relationship. Between Discipline and
Personality. Traits in Young Children”. Journal of Genetic Psychology.
50, 163-170, April.
Bandura Albert. (1977). Social Leaning Theory. New Jersey: Prentice-Hall Inc.
Englewood Gliffs.
Erikson Kickbuch, Morison et al., (1976). and Seigel in Rest, Moral Judgement
Related to Sample Characteristics, 49.
94
Fishbey , Martin and AJyen ,Icek. (1975). Belief, Attitude,Intention and Behavior.
Massachusettes : Addison-Wesley Publishing company.
Grimley K. Liam. (1974). A Cross Cultural. Study of Moral Development, Dissertation
Abstract 34, (January) .3990.
Herlock. (1956). Child Development. New York Mc Graw-Hill Book Co.,
Lindzey , Garder and Aronson ,Elliot .(1969). The Handbook of Social Psychology.
3rd ed. New York : Addison-Wesley Publishing Co.
Piaget, Jean. (1967). The Moral Judgement of the Child. London: Harcout brace Co.,
Rest, Cooper, Coder, Masanz and anderson, (1967). Developmental Psychology,
pp.491-501
TiTus, Harold Happer. (1936). Ethics for Today. New York: American Book Company.
95
การก่อเกิดจริยธรรมกรณีศึกษาสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (ตอนที่ 1)
การก่อเกิดจริยธรรมกรณีศึกษาสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (ตอนที่ 2)
การก่อเกิดจริยธรรมกรณีศึกษาสมาชิกผู้ใช้ประโยชน์จากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (ตอนที่ 3)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น