ศึกษาและโหลดฟรีเป็นตัวอย่างเกี่ยวกับงานวิจัย all free download research
วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 3)
16.1 ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว
ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว จากตารางที่ 16 สามารถ
สรุปได้ ดังนี้
1) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ในกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่ที่นักเรียนแสวงหาตามรายได้ครอบครัว ได้แก่ ห้องสมุดหมวดวิชา โดยผู้ที่มารายได้
ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 บาทจะมีระดับปัญหาในการแสวงหาโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.30 ผู้ที่มี
รายได้ 9,001 – มากกว่า 20,000 บาทมีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ ได้แก่ ห้องสมุด
ประชาชน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.68, 2.67 ในกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศมี
ความแตกต่าง กันที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) แหล่งสารสนเทศบุคคล กลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่
นักเรียนแสวงหาตามรายได้ครอบครัว ได้แก่ อาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน โดยผู้ที่มารายได้
ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 – มากกว่า 20,000 จะมีระดับปัญหาในการแสวงหามากโดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.33, 2.36, 2.64 จากผลการวิเคราะห์ในกลุ่มนี้ไม่มีความแตกต่างกัน ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
111
3) แหล่งสารสนเทศวัสดุ ในกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ
ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จากวีดี
ทัศน์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.36 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว 9,001 – 20,000 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จากคอมพิวเตอร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.33 ผู้ปกครองนักเรียนที่มี
รายได้ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ จากวารสาร
และนิตยสารโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.20 จากผลการวิเคราะห์การแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อย
กว่า 9,000 ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ จุลสารทาง
วิชาการ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.24 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว 9,001 – 20,000 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสืออ้างอิง โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.34 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ วารสารและนิตยสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.17 โดยจะ
พบว่านักเรียนในกลุ่มนี้มีค่าเฉลี่ยระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่ง
ตีพิมพ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อย
กว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนมี
ปัญหาในการแสวงหาได้แก่คอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้
ครอบครัว 9,001 - 20,000 มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่แหล่ง
สารสนเทศจากคอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.45 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว
มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ วีดีทัศน์
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.29 จากผลการวิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศของนักเรียน
ในกลุ่มนี้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
78
ตารางที่ 8 แสดงระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับรายได้
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 3.22 0.92 3.70 1.06 4.1 0.83 17.07 0.00**
จากห้องสมุดประชาชน 2.71 1.11 2.74 1.05 2.61 1.07 0.21 0.80
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่างๆ 2.73 1.05 2.94 1.18 3.26 1.08 3.42 0.03*
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.40 1.11 2.42 1.24 2.85 1.41 1.98 0.13
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.43 1.21 2.87 1.34 3.44 1.48 9.90 0.00**
จากห้องแนะแนว 2.74 1.19 2.97 1.22 2.50 1.26 2.96 0.05*
อื่น ๆ . . . . . .
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 4.08 1.04 4.09 1.24 4.00 0.81 0.10 0.90
จากเพื่อน 4.06 1.00 3.84 0.95 3.52 1.05 4.70 0.00**
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 3.64 0.85 3.58 1.19 3.82 0.86 0.80 0.44
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.93 1.01 3.23 1.21 3.35 1.12 3.76 0.02*
จากอาจารย์ท่านอื่นใน
โรงเรียน
3.04 1.056 3.10 1.26 3.88 2.54 5.50 0.00**
อื่น ๆ 2.00 0.00 . . . .
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 4.02 1.19 3.90 1.19 3.35 0.91 4.45 0.01**
จากการฟังวิทยุ 3.77 1.26 3.57 1.17 3.79 0.72 1.39 0.24
จากการอ่านหนังสือตำรา 3.26 1.39 3.29 1.14 3.58 1.04 0.98 0.37
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 3.64 1.15 3.30 1.05 3.55 1.05 4.42 0.01**
จากการอ่านวารสาร
นิตยสาร
3.00 1.17 3.47 1.09 3.85 0.78 12.04 0.00**
จากจุลสารทางวิชาการ 2.81 1.11 3.11 0.91 2.79 1.06 4.26 0.00**
จากวีดีทัศน์ประกอบการ
เรียน
2.99 1.18 3.20 1.22 2.94 0.85 1.78 0.16
79
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
จากการชมนิทรรศการทาง
วิชาการ
3.14 0.98 3.04 1.19 3.41 0.85 1.67 0.18
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3.49 1.06 3.77 1.00 3.76 1.01 3.27 0.03*
จากสารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ต
3.20 1.14 3.89 0.88 3.55 1.25 19.69 0.00**
อื่น ๆ . . . . . .
ประเภททรัพยากร
สารสนเทศทรัพยากร
สารสนเทศประเภทวัสดุ
ตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 3.68 0.96 3.78 0.81 3.97 0.52 1.67 0.18
หนังสืออ้างอิง 3.15 1.01 3.22 1.07 3.55 0.99 2.01 0.13
วารสารหรือนิตยสาร 3.16 0.96 3.45 0.90 3.85 0.82 9.10 0.00**
หนังสือพิมพ์ 3.51 0.99 3.54 1.22 3.52 0.96 0.03 0.96
จุลสาร 2.55 1.02 3.15 1.02 3.11 1.00 15.42 0.00**
กฤตภาค 2.33 1.13 2.85 1.11 2.97 0.90 10.80 0.00**
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 3.83 1.19 3.97 1.15 3.82 1.05 0.67 0.50
โทรทัศน์ 4.18 1.05 4.14 0.98 4.08 0.99 0.15 0.86
คอมพิวเตอร์ 3.86 1.26 4.02 0.98 4.23 1.10 1.82 0.16
วีดีทัศน์ 3.40 1.26 3.52 1.07 3.67 0.87 0.99 0.37
แผนที่ 3.06 1.10 3.41 0.93 3.14 0.78 5.54 0.00**
หุ่นจำลอง 273 1.23 3.16 1.07 3.29 0.62 7.54 0.00**
อื่น ๆ . . 2.00 0.00 . .
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
80
8.1 ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว
ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว จากตารางที่ 8 สามารถ
สรุปได้ ดังนี้
1.) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ในกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
นักเรียนแสวงหาตามรายได้ครอบครัว มากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน โดยผู้ที่มารายได้
ครอบครัวมากกว่า 20,000 บาทจะมีการแสวงหามากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.17 รองลงมาได้แก่
ผู้ที่มีรายได้ 9,001 – 20,000 บาท โดยมีค่าเฉลี่ย 3.70 การแสวงหาสารสนเทศของผู้ที่มีรายได้
มากกว่า 20,000 บาทและผู้ที่มีรายได้ 9,001 - 2 0,000 บาทไม่มีความแตกต่างกัน ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
2.)แหล่งสารสนเทศบุคคล กลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่นักเรียน
แสวงหาตามรายได้ครอบครัว มากที่สุดได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง โดยผู้ที่มารายได้ครอบครัวน้อยกว่า
9,000 - มากกว่า 20,000 บาทจะมีการแสวงหามากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.08, 4.09, 4.00 จาก
ผลการวิเคราะห์ในกลุ่มนี้ไม่มีความแตกต่างกัน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3.)แหล่งสารสนเทศวัสดุ ในกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุผู้ปกครอง
นักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 - 20,000 มีการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จากการชม
รายการโทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 และ 3.90 ตามลำดับ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้
ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ จากวารสารและนิตยสารโดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.85 จากผลการวิเคราะห์การแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่แตกต่างกัน อย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ประเภทของสารสนเทศ
1.) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อย
กว่า 9,000 ถึงมากกว่า 20,000 ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ มากที่สุด
ได้แก่ หนังสือทั่วไป โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.68, 3.78 และ 3.97 โดยจะพบว่ามีคะแนนการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2.) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว
น้อยกว่า 9,000 - 20,000 มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียน
แสวงหามากที่สุดได้แก่ โทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 และ 4.14 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้
ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่
แหล่งสารสนเทศจากคอมพิวเตอร์ โดยจะพบว่านักเรียนที่ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว
81
น้อยกว่า 9,000 - 20,000 และผู้ปกครองที่มีรายได้ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุมีตีพิมพ์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ปัญหาในการแสวงหา
ตารางที่ 9 แสดงปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ 2.14 0.99 2.24 0.85 -0.97 0.32
สาระที่ 2 การวัด 2.04 0.96 2.28 0.92 -2.53 0.01**
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.10 0.98 2.24 0.86 -1.48 0.13
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.31 1.08 2.44 0.97 -1.27 0.20
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความ
น่าจะเป็น
2.30 1.15 2.51 0.94 -1.96 0.05*
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
2.14 1.05 2.27 0.93 -1.27 0.20
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.01 1.16 2.15 1.08 -1.20 0.22
สาระที่ 2 การเขียน 2.13 1.25 2.29 1.24 -1.25 0.21
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.19 1.13 2.33 1.07 -1.26 0.20
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.22 1.14 2.37 1.11 -1.31 0.18
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม 2.40 1.09 2.53 1.08 -1.18 0.23
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดำรงชีวิต
2.19 1.10 2.49 1.11 -2.62 0.00**
สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2.22 1.17 2.55 1.10 -2.89 0.00**
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร 2.45 1.25 2.58 1.09 -1.12 0.26
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 2.36 1.25 2.50 1.08 -1.15 0.25
สาระที่ 5 พลังงาน 2.38 1.05 2.56 0.93 -1.74 0.08
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
โลก
2.49 1.08 2.66 1.03 -1.60 0.10
82
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ 2.58 1.88 2.49 1.07 0.54 0.58
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
2.47 1.17 2.66 1.21 -1.56 0.11
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 2.10 1.02 2.27 0.93 -1.70 0.08
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง วัฒนธรรมและ
การดำเนินชีวิตในสังคม
2.12 1.07 2.29 1.04 -1.57 0.11
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.26 0.99 2.36 1.00 -0.92 0.35
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 2.29 1.07 2.49 1.01 -1.93 0.05*
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.37 1.07 2.49 1.02 -1.18 0.23
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 2.28 1.17 2.35 1.00 -0.70 0.48
สาระที่ 2 ดนตรี 2.18 1.08 2.20 1.06 -0.13 0.89
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.39 1.18 2.34 1.08 0.45 0.64
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว 2.13 1.26 2.13 1.11 -0.00 0.99
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.21 1.21 2.29 1.19 -0.61 0.54
สาระที่ 3 การออกแบบเทคโนโลยี 2.51 1.21 2.63 1.04 -1.06 0.28
สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.37 1.11 2.45 1.01 -0.74 0.45
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและ
อาชีพ
2.34 1.16 2.54 1.08 -1.69 0.09
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของมนุษย์
2.25 1.18 2.37 1.09 -1.07 0.28
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.29 1.27 2.40 1.22 -0.85 0.39
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย
การเล่นเกม
2.20 1.20 2.20 1.17 0.05 0.95
83
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ
สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
2.26 1.19 2.30 1.17 -0.31 0.75
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต 2.34 1.29 2.44 1.27 -0.70 0.48
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.48 1.23 2.62 1.08 -1.21 0.22
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 2.52 1.21 2.62 1.07 -0.82 0.41
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น
2.40 1.19 2.43 1.06 -0.29 0.77
สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์ กับชุมชน
โลก
2.38 1.28 2.43 1.17 -0.35 0.72
9.1 ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ จากตารางที่ 9 สามารถแยกเป็น
กลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น คะแนนของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายโดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.37 และ 2.49
ตามลำดับ รองลงมาคือสาระที่ 4 พืชคณิตค่าเฉลี่ยของนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.29 และ 2.49 ตามลำดับ และเมื่อมีการเปรียบเทียบระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศจำแนกตามเพศ พบว่าเพศชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศมากกว่า
เพศหญิง โดยเฉพาะในเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น นักเรียนชายมีระดับปัญหาใน
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศมากกว่านักเรียนหญิงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
(พิจารณาจากค่า Sig. (2-tailed) ในตาราง มีค่าน้อยกว่า 0.05)
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทยด้านวรรณคดีและวรรณกรรมสูงที่สุด รองลงมา
คือ ด้านหลักการใช้ภาษา นักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศที่ ไม่มี
ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
84
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์คือ สาระที่ 7 เรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.58 รองลงมาคือสาระที่ 6 คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ
2.49 ส่วนนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในสาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์ โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.66 รองลงมาคือสาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่
ระดับความเชื่อมั่น 95%
4) กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักรียนหญิงและนักเรียนชายมี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 และ 2.34 สำหรับกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 3 นาฏศิลป์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.39 และ 2.34
ตามลำดับ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนหญิง
และนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 3 การ
ออกแบบเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 และ 2.63 ตามลำดับ รองลงมาคือ สาระที่ 5
เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ กลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนหญิงและนักเรียนชายมี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.34 และ 2.44 กลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชาย มีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่
ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
2.52 และ 2.62 ตามลำดับ รองลงมาคือ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.48
85
และ 2.62 ตามลำดับ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 10 แสดงปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 1.97 1.04 2.17 1.05 -1.92 0.05*
จากห้องสมุดประชาชน 2.29 1.16 2.40 0.98 -0.99 0.32
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.30 0.97 2.44 0.97 -1.45 0.14
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.37 1.11 2.53 1.17 -1.39 0.16
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.42 1.33 2.54 1.29 -0.89 0.37
จากห้องแนะแนว 2.11 1.05 2.33 1.06 -2.00 0.04*
อื่น ๆ
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.25 1.49 2.32 1.38 -0.43 0.66
จากเพื่อน 1.92 1.18 2.11 1.27 -1.53 0.12
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 2.16 1.27 2.20 1.11 -0.25 0.80
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.16 0.97 2.34 0.94 -1.77 0.07
จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน 2.45 1.40 2.51 1.21 -0.43 0.66
อื่น ๆ 2.00 0.00 2.00 0.00
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 1.96 1.21 2.18 1.20 -1.79 0.07
จากการฟังวิทยุ 2.12 1.27 2.29 1.25 -1.31 0.18
จากการอ่านหนังสือตำรา 1.91 1.03 1.96 1.00 -0.51 0.60
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 1.85 1.00 1.89 0.93 -0.40 0.68
จากการอ่านวารสาร นิตยสาร 2.09 1.11 2.26 1.19 -1.40 0.16
จากจุลสารทางวิชาการ 2.15 1.00 2.30 1.01 -1.39 0.16
จากวีดีทัศน์ประกอบการเรียน 2.12 1.01 2.22 1.05 -0.88 0.37
จากการชมนิทรรศการทางวิชาการ 1.94 1.07 2.25 1.11 -2.77 0.00**
86
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรม 2.15 1.14 2.40 1.10 -2.18 0.02*
จากสารสนเทศบน อินเทอร์เน็ต 2.12 1.15 2.26 1.20 -1.16 0.24
อื่น ๆ . . . .
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 1.99 1.09 2.10 1.17 -0.97 0.32
หนังสืออ้างอิง 2.00 1.19 2.29 1.14 -2.44 0.01**
วารสารหรือนิตยสาร 2.08 1.10 2.14 1.10 -0.52 0.60
หนังสือพิมพ์ 1.98 1.12 2.15 1.08 -1.54 0.12
จุลสาร 2.17 1.18 2.36 1.10 -1.62 0.10
กฤตภาค 2.05 1.15 2.28 1.17 -1.92 0.05*
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่
ตีพิมพ์
วิทยุ 2.03 1.28 2.24 1.34 -1.51 0.12
โทรทัศน์ 1.98 1.30 2.13 1.32 -1.06 0.28
คอมพิวเตอร์ 2.25 1.30 2.40 1.24 -1.12 0.26
วีดีทัศน์ 2.18 1.16 2.24 1.14 -0.47 0.63
แผนที่ 2.15 1.11 2.23 1.03 -0.70 0.48
หุ่นจำลอง 2.27 1.23 2.44 1.28 -1.33 0.18
อื่น ๆ 1.50 0.92 1.22 0.66 0.71 0.48
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
10.2 ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามเพศ จากตารางที่ 10 สามารถสรุป
ได้ ดังนี้
1) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
นักเรียนมีปัญหามากที่สุดได้แก่ หอสมุดแห่งชาติ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.42 และ 2.54 ในนักเรียน
หญิงและนักเรียนชายตามลำดับ แหล่งสารสนเทศสถานที่นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีปัญหา
87
เป็นอันดับสองได้แก่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมีคะแนน
ปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ไม่แตกต่างกันมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) แหล่งสารสนเทศบุคคล ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลที่นักเรียน
หญิงและนักเรียนชายมีปัญหามากที่สุดได้แก่ จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
2.45 และ 2.51 ตามลำดับ จะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมีปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศบุคคลไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) แหล่งสารสนเทศวัสดุ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียน
หญิงและนักเรียนชายมีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จากจุลสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ2.15
และ 2.30 ในนักเรียนหญิงและนักเรียนชายตามลำดับ โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมี
ปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์ที่นักเรียนหญิงมีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จุลสาร โดยมีค่าเฉลี่ย
2.05 และ 2.36 รองลงมาได้แก่แหล่งสารสนเทศจากกฤตภาค โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียน
ชายมีปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนมีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หุ่นจำลอง โดย
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.27 และ 2.446 ในนักเรียนหญิงและนักเรียนชายตามลำดับ รองลงมาได้แก่แหล่ง
สารสนเทศจาก แผนที่ โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมีปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
88
ตารางที่ 11 แสดงปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
X SD. X SD.
t Sig. (2-
tailed)
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ 2.19 0.92 2.19 0.93 0.05 0.95
สาระที่ 2 การวัด 2.17 0.96 2.14 0.93 0.32 0.74
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.23 0.94 2.08 0.90 1.54 0.12
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.36 1.00 2.39 1.06 -0.27 0.78
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 2.44 1.05 2.35 1.07 0.86 0.38
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2.24 0.97 2.17 1.02 0.65 0.51
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.12 1.16 2.03 1.06 0.77 0.43
สาระที่ 2 การเขียน 2.27 1.30 2.13 1.16 1.09 0.27
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.28 1.11 2.24 1.09 0.36 0.71
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.32 1.15 2.26 1.09 0.50 0.61
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม 2.54 1.10 2.35 1.05 1.63 0.10
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 2.36 1.12 2.31 1.10 0.46 0.64
สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2.42 1.17 2.34 1.11 0.66 0.50
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร 2.55 1.16 2.48 1.19 0.58 0.55
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 2.46 1.17 2.38 1.17 0.69 0.48
สาระที่ 5 พลังงาน 2.49 0.96 2.44 1.04 0.45 0.65
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 2.60 1.03 2.54 1.11 0.54 0.58
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ 2.54 1.72 2.52 1.17 0.14 0.88
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
2.59 1.23 2.54 1.14 0.37 0.70
89
ปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
X SD. X SD.
t Sig. (2-
tailed)
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 2.18 0.98 2.20 0.99 -0.20 0.83
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง วัฒนธรรมและการ
ดำเนินชีวิตในสังคม
2.24 1.09 2.17 1.02 0.61 0.53
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.28 0.95 2.37 1.06 -0.87 0.38
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 2.38 1.02 2.41 1.08 -0.22 0.82
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.43 1.04 2.43 1.06 -0.01 0.98
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 2.31 1.05 2.32 1.14 -0.09 0.92
สาระที่ 2 ดนตรี 2.21 1.05 2.16 1.09 0.48 0.62
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.40 1.12 2.32 1.15 0.70 0.48
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว 2.14 1.21 2.12 1.17 0.22 0.82
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.31 1.25 2.17 1.13 1.10 0.27
สาระที่ 3 การออกแบบเทคโนโลยี 2.60 1.12 2.52 1.14 0.71 0.47
สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.43 1.07 2.39 1.05 0.39 0.69
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ 2.47 1.12 2.41 1.12 0.54 0.58
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
มนุษย์
2.33 1.15 2.29 1.12 0.32 0.74
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.38 1.27 2.30 1.20 0.56 0.56
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย
การเล่นเกม
2.23 1.17 2.15 1.21 0.66 0.50
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ
และการป้องกันโรค
2.31 1.20 2.23 1.15 0.63 0.52
90
ปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
X SD. X SD.
t Sig. (2-
tailed)
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต 2.43 1.31 2.33 1.22 0.79 0.42
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.57 1.15 2.51 1.18 0.49 0.62
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 2.54 1.12 2.60 1.18 -0.50 0.61
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น
2.41 1.12 2.42 1.14 -0.14 0.88
สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์ กับชุมชน
โลก
2.42 1.24 2.38 1.20 0.32 0.74
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
11.1 ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน จากตารางที่ 11
สามารถแยกเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การ
วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น ค่าเฉลี่ยของโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่
โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.44 และ 2.35 ตามลำดับ รองลงมาคือสาระที่ 4 พีชคณิต โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ ของโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.36 และ 2.39
ตามลำดับ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. (2-tailed) ใน
ตาราง มีค่าน้อยกว่า 0.05)
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.54 และ 2.35 โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่
ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. (2-tailed) ใน
ตาราง มีค่ามากกว่า 0.05 ในทุกสาระของกลุ่มนี้)
91
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์เหมือนกันคือ สาระที่ 8
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.59 และ 2.54 กลุ่มนี้โรงเรียน
ขนาดขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศไม่แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
4) กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและ
โรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 5
ภูมิศาสตร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.43 และ 2.43 สำหรับกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียน
ขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 3 นาฏศิลป์ โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.40 และ 2.32 ตามลำดับ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับ
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่าโรงเรียน
ขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด
เหมือนกันคือ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.43 และ 2.33
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่
พิเศษระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.43 , 2.33 กลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศสาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.57 และโรงเรียนขนาดใหญ่มี
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาใน
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
92
ตารางที่ 12 แสดงปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
X SD. X SD.
t Sig. (2-
tailed)
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 2.09 1.08 2.05 1.01 0.41 0.68
จากห้องสมุดประชาชน 2.42 1.06 2.23 1.08 1.74 0.08
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.42 0.97 2.30 0.98 1.22 0.22
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.50 1.14 2.37 1.13 1.15 0.24
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.56 1.34 2.36 1.27 1.46 0.14
จากห้องแนะแนว 2.25 1.07 2.17 1.05 0.71 0.47
อื่น ๆ 9.00 0.00 9.00 0.00
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.32 1.47 2.24 1.39 0.54 0.58
จากเพื่อน 2.07 1.27 1.93 1.16 1.08 0.27
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 2.14 1.16 2.23 1.23 -0.70 0.47
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.32 0.95 2.16 0.96 1.53 0.12
จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน 2.53 1.30 2.41 1.30 0.91 0.35
อื่น ๆ 2.00 0.00 2.00 0.00
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 2.11 1.23 2.02 1.18 0.73 0.46
จากการฟังวิทยุ 2.29 1.30 2.08 1.21 1.58 0.11
จากการอ่านหนังสือตำรา 1.95 1.00 1.92 1.04 0.20 0.83
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 1.89 0.98 1.85 0.94 0.41 0.67
93
ปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
X SD. X SD.
t Sig. (2-
tailed)
จากการอ่านวารสาร นิตยสาร 2.26 1.18 2.05 1.10 1.71 0.08
จากจุลสารทางวิชาการ 2.28 1.02 2.14 0.98 1.35 0.17
จากวีดีทัศน์ประกอบการเรียน 2.21 1.03 2.10 1.03 1.02 0.30
จากการชมนิทรรศการทางวิชาการ 2.17 1.14 1.99 1.02 1.62 0.10
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.30 1.15 2.24 1.10 0.53 0.59
จากสารสนเทศบน อินเทอร์เน็ต 2.28 1.21 2.07 1.12 1.66 0.09
อื่น ๆ . . . .
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 2.04 1.17 2.06 1.07 -0.17 0.86
หนังสืออ้างอิง 2.17 1.16 2.11 1.20 0.45 0.65
วารสารหรือนิตยสาร 2.11 1.15 2.11 1.02 -0.01 0.99
หนังสือพิมพ์ 2.10 1.15 2.01 1.04 0.78 0.43
จุลสาร 2.29 1.17 2.24 1.10 0.45 0.64
กฤตภาค 2.18 1.17 2.15 1.15 0.28 0.77
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 2.20 1.38 2.05 1.21 1.09 0.27
โทรทัศน์ 2.10 1.37 2.00 1.24 0.68 0.49
คอมพิวเตอร์ 2.36 1.29 2.26 1.24 0.74 0.45
วีดีทัศน์ 2.23 1.19 2.18 1.08 0.38 0.69
แผนที่ 2.21 1.08 2.16 1.07 0.39 0.69
หุ่นจำลอง 2.37 1.27 2.34 1.24 0.20 0.83
อื่น ๆ 1.00 0.00 2.00 1.09 -3.11 0.00**
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
94
12.1ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน จากตารางที่ 12
สามารถสรุปได้ ดังนี้
1.)แหล่งสารสนเทศสถานที่ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หอสมุดแห่งชาติ โดย
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.56 ส่วนนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศสถานที่มากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 โดยจะพบว่า
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสถานที่
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2.)แหล่งสารสนเทศบุคคล ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลที่นักเรียน
ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จาก
อาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.53 และ 2.41 ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและ
โรงเรียนขนาดใหญ่ตามลำดับ โดยจะพบว่านักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับนักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่มีค่าเฉลี่ย การแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3.)แหล่งสารสนเทศวัสดุ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จาก
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.30 และ 2.24 ตามลำดับ แหล่งสารสนเทศวัสดุที่
นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1.ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการ
แสวงหามากที่สุดได้แก่ จุลสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.29 และ 2.24 โดยจะพบว่านักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
95
2.)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มี
ปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หุ่นจำลอง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 และ 2.34 ตามลำดับ
โดยจะพบว่านักเรียนโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
96
ตารางที่ 13 แสดงปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ 1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการ
ดำเนินการ
2.50 0.52 2.16 0.89 2.21 0.98 0.66 0.51
สาระที่ 2 การวัด 2.70 0.48 2.26 0.94 1.99 0.95 5.37 0.00**
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.80 0.42 2.20 0.98 2.07 0.85 3.28 0.03*
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.90 0.73 2.48 1.11 2.20 0.88 4.75 0.00**
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูล
และความน่าจะเป็น
2.70 0.48 2.29 1.08 2.55 1.02 3.08 0.04*
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์
3.70 0.48 2.14 0.98 2.21 0.95 12.39 0.00*
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.70 0.48 2.25 1.18 1.81 0.99 8.79 0.00**
สาระที่ 2 การเขียน 3.30 0.82 2.37 1.28 1.92 1.14 9.98 0.00**
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.90 1.10 2.41 1.20 2.01 0.88 7.67 0.00**
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.10 0.73 2.48 1.17 2.05 1.03 6.86 0.00**
สาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม
2.50 0.52 2.46 1.10 2.47 1.09 0.00 0.99
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดำรงชีวิต
2.80 1.31 2.44 1.12 2.17 1.07 3.54 0.02
สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2.50 0.52 2.53 1.10 2.18 1.21 4.41 0.01**
สาระที่ 3 สารและสมบัติของ
สาร
2.30 0.82 2.61 1.26 2.40 1.05 1.55 0.21
97
ระดับการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ 1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 2.60 0.84 2.46 1.22 2.37 1.10 0.37 0.68
สาระที่ 5 พลังงาน 2.30 0.82 2.36 0.99 2.64 0.99 3.63 0.02*
สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
2.60 0.84 2.40 0.98 2.82 1.14 7.10 0.00**
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และ
อวกาศ
2.30 0.82 2.30 1.00 2.89 2.03 7.25 0.00**
สาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.30 0.82 2.51 1.14 2.67 1.28 1.09 0.33
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม
2.50 0.52 2.21 0.98 2.14 1.00 0.73 0.48
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง
วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต
ในสังคม
2.90 1.10 2.10 1.05 2.32 1.05 4.15 0.01**
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.30 0.82 2.25 0.91 2.41 1.11 1.24 0.28
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 3.10 1.19 2.25 0.93 2.55 1.14 6.13 0.00**
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.60 0.84 2.37 1.01 2.50 1.10 0.81 0.44
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 3.50 0.52 2.23 0.97 2.36 1.21 6.82 0.00**
สาระที่ 2 ดนตรี 3.10 0.73 2.07 0.83 2.29 1.32 5.72 0.00**
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.30 0.82 2.39 0.99 2.34 1.33 0.09 0.90
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
2.50 0.52 2.01 0.97 2.28 1.45 2.77 0.06
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.90 1.10 2.23 1.11 2.24 1.32 1.47 0.23
98
ระดับการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ 1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
สาระที่ 3 การออกแบบเทค
โนโลย
3.30 0.48 2.40 1.15 2.76 1.08 6.79 0.00**
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
2.80 0.42 2.27 1.09 2.59 1.01 4.69 0.00**
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการ
ทำงานและอาชีพ
2.70 0.48 2.36 1.17 2.55 1.07 1.53 0.21
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพล
ศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของมนุษย์
2.80 0.42 2.28 1.13 2.33 1.17 0.98 0.37
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.70 0.48 2.37 1.17 2.29 1.37 0.55 0.57
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การ
ออกกำลังกาย การเล่นเกม
2.80 1.31 2.19 1.13 2.18 1.26 1.29 0.27
สาระที่ 4 การสร้างเสริม
สุขภาพ สมรรถภาพ และการ
ป้องกันโรค
2.80 0.42 2.19 1.19 2.37 1.19 2.04 0.13
สาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
ชีวิต
2.50 0.52 2.38 1.34 2.40 1.22 0.04 0.95
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.60 0.84 2.39 1.21 2.77 1.07 5.03 0.00**
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 3.30 0.48 2.38 1.11 2.79 1.16 7.98 0.00**
สาระที่ 3 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
2.30 0.48 2.28 1.11 2.62 1.14 4.26 0.01**
สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์
กับชุมชนโลก
1.80 0.42 2.22 1.22 2.70 1.19 8.56 0.00**
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
99
13.1 ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดผลการศึกษา จากตารางที่
13 สามารถแยกเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การ
วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็นโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.55 นักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย
1.00 – 3.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดในสาระที่ 4 พีชคณิต เมื่อเปรียบเทียบระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามระดับผลการเรียนพบว่าระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3.51 – 4.00 และนักเรียนที่มีระดับผล
การศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 3.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –2.50มีระดับปัญหาใน
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 2 การเขียนสูงที่สุด โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30 นักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 –3.50 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่ม
สาระที่ 4 คือ ด้านหลักการใช้ภาษา โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ2.84 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 –
4.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ ในกลุ่มสาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม จากผลการ
วิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศเนื้อหาสารสนเทศด้านผลการศึกษา มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –2.50 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดำรงชีวิตโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.80 นักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 –3.50 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.61 และ
นักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51–4.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 7 ดารา
ศาสตร์และอวกาศ นักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ
โดยมีคะแนนด้านเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
100
4).กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00–
2.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
สูงสุดในกลุ่มสาระที่ 4 ประวัติศาสตร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.10 , 2.55 นักเรียนที่มีผลการศึกษา
เฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด ในสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 สำหรับกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่ม
สาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –3.50 และนักเรียนที่มีผล
การศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50, 2.36 นักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 – 3.50มีรับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศมากที่สุดในกลุ่มสาระที่ 3 นาฏศิลป์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.39 พบว่านักเรียนที่มีผล
การศึกษา1.00 –2.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 และนักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 –
3.50 มีปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนที่มี
ผลการศึกษา 1.00 – 4.00 มีปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 3 การ
ออกแบบเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30, 2.40, 2.76 ตามลำดับ สำหรับกลุ่มนี้มีระดับปัญหา
ในการแสวงหาสารสเทศที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 – 2.50 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
มนุษย์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.80 นักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 – 4.00 มีปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศสูงสุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38, 2.40 จากผลการวิเคราะห์พบว่านักเรียนที่มีผล
การเรียน 1.00 – 2.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 – 4.00มีระดับปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา1.00 – 3.50 มีปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 ภาษเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60, 2.39
และนักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดใน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.79 ในกลุ่มนี้พบว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา
1.00 – 3.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
101
ตารางที่ 14 แสดงปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ 1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 2.60 0.96 2.15 1.02 1.92 1.08 3.46 0.03*
จากห้องสมุดประชาชน 2.10 0.73 2.30 1.04 2.42 1.13 0.80 0.44
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.00 0.00 2.30 0.92 2.49 1.06 2.38 0.09
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.10 0.73 2.54 1.12 2.35 1.18 1.74 0.17
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.40 1.17 2.52 1.28 2.43 1.38 0.22 0.80
จากห้องแนะแนว 2.40 1.17 2.19 1.00 2.26 1.13 0.36 0.69
อื่น ๆ
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.30 0.82 2.18 1.31 2.44 1.62 1.55 0.21
จากเพื่อน 2.30 0.48 2.08 1.28 1.90 1.17 1.28 0.27
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 3.50 0.52 2.10 1.14 2.21 1.25 6.81 0.00**
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.10 0.73 2.27 0.90 2.24 1.05 0.20 0.81
จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน 2.70 0.82 2.22 1.02 2.84 1.58 10.88 0.00**
อื่น ๆ . . 2.00 0.00 . .
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 2.90 0.73 2.24 1.32 1.79 0.98 9.04 0.00**
102
ระดับการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ 1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
จากการฟังวิทยุ 3.00 1.05 2.26 1.31 2.08 1.18 2.95 0.05*
จากการอ่านหนังสือตำรา 2.10 0.73 2.00 1.09 1.85 0.92 1.08 0.33
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 2.20 0.42 1.86 0.97 1.87 0.97 0.57 0.56
จากการอ่านวารสาร นิตยสาร 2.40 1.17 2.23 1.08 2.08 1.26 0.96 0.38
จากจุลสารทางวิชาการ 1.80 0.42 2.25 1.05 2.22 0.97 0.99 0.36
จากวีดีทัศน์ประกอบการเรียน 2.10 0.73 2.26 1.07 2.05 0.97 1.93 0.14
จากการชมนิทรรศการทาง
วิชาการ
2.20 0.42 2.08 1.20 2.12 0.97 0.08 0.91
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.50 0.52 2.32 1.21 2.20 1.03 0.65 0.51
จากสารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ต
1.80 0.42 2.14 1.23 2.29 1.12 1.35 0.26
อื่น ๆ . . . . . .
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภท
วัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 3.10 0.73 2.03 1.13 2.00 1.13 4.49 0.01**
หนังสืออ้างอิง 1.80 0.42 2.19 1.12 2.11 1.28 0.65 0.51
วารสารหรือนิตยสาร 2.10 0.73 2.07 1.01 2.16 1.24 0.31 0.73
หนังสือพิมพ์ 2.70 0.48 2.04 0.96 2.07 1.30 1.70 0.18
จุลสาร 2.40 1.17 2.37 1.19 2.12 1.06 2.30 0.10
กฤตภาค 2.10 0.73 2.38 1.23 1.87 1.01 9.03 0.00**
ทรัพยากรสารสนเทศประเภท
วัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 3.00 0.00 2.27 1.33 1.88 1.28 6.25 0.00**
โทรทัศน์ 3.20 0.42 2.15 1.28 1.86 1.36 6.11 0.00**
คอมพิวเตอร์ 2.70 0.48 2.45 1.25 2.12 1.32 3.33 0.03*
103
ระดับการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ 1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
วีดีทัศน์ 2.80 0.42 2.39 1.23 1.91 0.99 9.55 0.00**
แผนที่ 1.80 0.42 2.28 1.15 2.09 0.97 2.12 0.12
หุ่นจำลอง 2.10 0.73 2.49 1.24 2.18 1.28 2.94 0.05*
อื่น ๆ . . 3.00 0.00 1.00 0.00
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 *มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
14.1ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับผลการศึกษา
ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกระดับผลการศึกษา จากตารางที่ 14
สามารถสรุปได้ ดังนี้
1.)แหล่งสารสนเทศสถานที่ นักเรียนมีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่ที่นักเรียนแสวงหาตามระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 ที่นักเรียนมีปัญหาในการ
แสวงหามากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 นักเรียนที่มีผลการศึกษา
เฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสถานที่ได้แก่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.54 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศสถานที่ ได้แก่ ห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ จากผลการวิเคราะห์จำแนกตามระดับผล
การศึกษาปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสถานที่มีแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
2.)แหล่งสารสนเทศบุคคล นักเรียนที่มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคล
นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคลได้แก่
จากอาจารย์ที่ปรึกษาโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.5000 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคลได้แก่ บรรณารักษ์ห้องสมุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.27
นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคล ได้แก่
จาก อาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.84 โดยจะพบว่านักเรียนมีระดับปัญหาใน
การแสวงหาสารสนเทศบุคคลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3.)แหล่งสารสนเทศวัสดุ นักเรียนที่มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ
นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จากการฟังวิทยุ โดยมี
104
คะแนนเท่ากับ 3.0000 นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.32 นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 นักเรียน
มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศวัสดุที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1.)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ นักเรียนที่มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศวัสดุนักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จาก
หนังสือทั่วไป โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.10 นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาใน
การแสวงหา ได้แก่ จากกฤตภาค โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 –
4.00 ได้แก่ วารสารและนิตยสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.16 จากการวิเคราะห์พบว่าระดับปัญหาใน
การแสวงหาสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
2.)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ นักเรียนมีระดับปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศวัสดุนักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
ได้แก่ จากโทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.2000 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 4.00 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หุ่นจำลอง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.49 และ 2.18 โดยในกลุ่มนี้
พบว่ามีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
105
ตารางที่ 15 แสดงระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามระดับรายได้
ปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการ
ดำเนินการ
1.91 0.89 2.35 0.88 2.44 1.05 11.70 0.00**
สาระที่ 2 การวัด 2.04 0.98 2.23 0.94 2.23 0.85 1.80 0.16
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.04 0.95 2.28 0.87 2.02 1.08 3.18 0.04*
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.44 1.07 2.30 0.98 2.55 1.10 1.28 0.27
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูล
และความน่าจะเป็น
2.53 1.15 2.35 1.00 2.20 0.88 1.85 0.15
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์
2.09 1.06 2.36 0.95 1.79 0.72 6.62 0.00**
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.09 0.98 2.06 1.22 2.14 1.04 0.08 0.92
สาระที่ 2 การเขียน 2.20 1.14 2.22 1.29 2.26 1.42 0.04 0.95
106
ปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.21 1.06 2.26 1.05 2.52 1.52 1.12 0.32
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.10 0.98 2.41 1.13 2.47 1.54 3.77 0.02*
สาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม
2.37 0.84 2.54 1.18 2.41 1.37 1.13 0.32
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดำรงชีวิต
2.48 1.09 2.24 1.09 2.38 1.25 1.97 0.14
สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2.40 1.07 2.41 1.16 2.23 1.39 0.35 0.70
สาระที่ 3 สารและสมบัติของ
สาร
2.46 1.11 2.54 1.13 2.67 1.60 0.50 0.60
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 2.34 1.21 2.53 1.11 2.23 1.25 1.63 0.19
สาระที่ 5 พลังงาน 2.48 1.01 2.45 0.91 2.52 1.37 0.09 0.91
สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
2.57 0.92 2.62 1.12 2.29 1.24 1.44 0.23
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และ
อวกาศ
2.73 2.01 2.43 1.10 2.35 1.27 1.89 0.15
สาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.50 1.16 2.62 1.17 2.55 1.48 0.43 0.64
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม
2.16 0.88 2.20 1.04 2.23 1.04 0.10 0.90
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง
วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต
ในสังคม
2.10 1.07 2.28 1.02 2.23 1.18 1.28 0.27
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.17 0.76 2.38 1.07 2.52 1.33 2.78 0.06
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 2.26 1.08 2.42 0.91 2.76 1.45 3.44 0.03*
107
ปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.51 0.95 2.40 1.09 2.32 1.17 0.67 0.50
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 2.19 1.13 2.33 0.97 2.79 1.40 4.27 0.01**
สาระที่ 2 ดนตรี 1.93 0.87 2.26 1.03 2.88 1.60 12.46 0.00**
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.22 1.07 2.39 1.09 2.85 1.45 4.32 0.01**
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
1.94 1.01 2.12 1.19 3.05 1.45 12.77 0.00**
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.14 1.21 2.23 1.16 2.85 1.30 4.91 0.00**
สาระที่ 3 การออกแบบ
เทคโนโลยี
2.51 1.18 2.59 1.03 2.76 1.43 0.72 0.48
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
2.44 1.13 2.34 0.94 2.73 1.37 2.11 0.12
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการ
ทำงานและอาชีพ
2.47 1.22 2.34 0.94 2.97 1.50 4.71 0.00**
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพล
ศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของมนุษย์
2.28 1.19 2.23 1.04 2.97 1.29 6.34 0.00**
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.27 1.20 2.31 1.22 2.88 1.45 3.47 0.03*
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การ
ออกกำลังกาย การเล่นเกม
2.08 1.18 2.19 1.12 2.76 1.47 4.60 0.01**
สาระที่ 4 การสร้างเสริม
สุขภาพ สมรรถภาพ และการ
ป้องกันโรค
2.18 1.22 2.23 1.09 3.00 1.32 7.09 0.00**
สาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
ชีวิต
2.12 1.06 2.44 1.30 3.23 1.55 11.32 0.00**
108
ปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.26 1.02 2.62 1.14 3.32 1.42 12.97 0.00**
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 2.50 1.05 2.51 1.13 3.23 1.41 6.37 0.00**
สาระที่ 3 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
2.23 0.89 2.38 1.12 3.41 1.51 16.34 0.00**
สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์
กับชุมชนโลก
2.13 1.16 2.41 1.10 3.50 1.54 18.60 0.00**
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
15.1 ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้
ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ จากตารางที่ 15 สามารถแยกเป็น
กลุ่มต่างๆ ดังนี้
1).กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า9,000 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในกลุ่มสาระที่ 5 การวิเคราะห์
ข้อมูลและความน่าจะเป็น โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.53 นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ 9,001 – 20,000
มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในกลุ่มสาระที่ 6 ทักษะ/
กระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.36 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ มากกว่า
20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 พีชคณิตโดยมีค่าเฉลี่ยคือ
2.5588 เมื่อเปรียบเทียบระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ของผู้ปกครองพบว่า
นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่างกันมีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000
มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรมโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 ,2.54 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ มากกว่า 20,000 บาทมี
109
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 3 การฟัง การดู
และการพูด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.52 จากผลการวิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศด้านรายได้ครอบครัว มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.57, 2.62 นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้มากกว่า
20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร จากผล
การวิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มวิทยาศาสตร์มีความแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
4). สาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อย
กว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ ในกลุ่มสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ โดยมี
ระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - 20,000 คือมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.42, 2.76
สำหรับกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 นาฏศิลป์โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.22,
2.39 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่ากว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ
ในกลุ่มสาระที่ 2 ทัศนศิลป์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.88 จากผลการวิเคราะห์ในกลุ่มนี้ มีระดับปัญหา
ในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้
น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 การ
ออกแบบและเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51, 2.59 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ มากกว่า
20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและ
อาชีพ โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.97 จากผลการวิเคราะห์ ในกลุ่มนี้ มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า
9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของมนุษย์ โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.28 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - มากกว่า 20,000
มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 5 โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.44, 3.23 จากผล
110
การวิเคราะห์พบว่านักเรียนในกลุ่มนี้ มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ ในกลุ่ม สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.50 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศในกลุ่ม สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.62 นักเรียนที่ผู้ปกครองมี
รายได้มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 จากผลการวิเคราะห์นักเรียนในกลุ่มนี้ มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
ตารางที่ 16 แสดงระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับรายได้
ปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 1.95 0.93 2.12 1.03 2.35 1.49 2.39 0.09
จากห้องสมุดประชาชน 2.04 1.16 2.55 0.97 2.41 0.98 10.06 0.00**
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.30 0.99 2.41 0.96 2.41 0.98 0.62 0.53
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.20 0.97 2.60 1.20 2.58 1.28 5.52 0.00**
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.15 1.09 2.68 1.39 2.67 1.42 7.69 0.00**
จากห้องแนะแนว 2.20 0.99 2.28 1.08 1.94 1.17 1.59 0.20
111
ปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
อื่น ๆ . .
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.08 1.27 2.45 1.54 2.17 1.33 3.03 0.04*
จากเพื่อน 1.97 1.23 2.04 1.21 2.02 1.31 0.16 0.84
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 2.16 0.92 2.16 1.30 2.38 1.49 0.50 0.60
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.26 0.90 2.21 0.93 2.50 1.30 1.28 0.27
จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน 2.30 0.88 2.36 1.05 4.00 2.64 28.74 0.00**
อื่น ๆ 2.00 0.00 . . . .
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 1.99 1.10 2.15 1.29 2.02 1.14 0.75 0.47
จากการฟังวิทยุ 2.15 1.24 2.25 1.25 2.20 1.43 0.30 0.74
จากการอ่านหนังสือตำรา 1.90 0.98 1.96 1.06 1.97 0.96 0.17 0.84
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 1.98 1.02 1.80 0.92 1.82 0.96 1.47 0.22
จากการอ่านวารสาร นิตยสาร 2.30 1.02 2.08 1.22 2.20 1.27 1.48 0.22
จากจุลสารทางวิชาการ 2.14 0.84 2.33 1.07 2.00 1.20 2.44 0.08
จากวีดีทัศน์ประกอบการเรียน 2.36 1.01 2.07 0.99 1.94 1.20 4.30 0.01**
จากการชมนิทรรศการทาง
วิชาการ
1.89 1.01 2.28 1.15 1.91 0.96 5.92 0.00**
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.24 1.16 2.33 1.12 2.14 1.01 0.53 0.58
จากสารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ต
2.23 1.09 2.21 1.26 1.94 0.91 0.89 0.40
อื่น ๆ . . . . . .
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภท
วัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 2.01 1.05 2.07 1.19 2.05 1.09 0.13 0.87
112
ปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศ น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
X SD. X SD. X SD.
F Sig.
หนังสืออ้างอิง 1.90 1.06 2.34 1.23 2.00 1.07 6.46 0.00**
วารสารหรือนิตยสาร 1.99 0.92 2.19 1.17 2.17 1.33 1.41 0.24
หนังสือพิมพ์ 1.91 0.80 2.20 1.27 1.94 1.04 3.40 0.03*
จุลสาร 2.24 1.27 2.33 1.04 2.02 1.16 1.11 0.32
กฤตภาค 2.11 1.30 2.26 1.08 1.85 0.95 2.14 0.11
ทรัพยากรสารสนเทศประเภท
วัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 2.16 1.36 2.13 1.26 2.05 1.49 0.09 0.91
โทรทัศน์ 1.91 1.23 2.13 1.35 2.29 1.40 1.77 0.17
คอมพิวเตอร์ 2.15 1.23 2.45 1.23 2.26 1.60 2.41 0.09
วีดีทัศน์ 2.16 1.21 2.23 1.04 2.29 1.46 0.24 0.78
แผนที่ 2.24 1.10 2.22 1.06 1.76 0.95 3.00 0.05*
หุ่นจำลอง 2.62 1.36 2.28 1.17 1.73 0.93 7.96 0.00**
อื่น ๆ . . 1.35 0.78 . .
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
16.1ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว
ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว จากตารางที่ 16 สามารถ
สรุปได้ ดังนี้
1.)แหล่งสารสนเทศสถานที่ ในกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่ที่นักเรียนแสวงหาตามรายได้ครอบครัว ได้แก่ ห้องสมุดหมวดวิชา โดยผู้ที่มารายได้
ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 บาทจะมีระดับปัญหาในการแสวงหาโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.30 ผู้ที่มี
รายได้ 9,001 – มากกว่า 20,000 บาทมีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ ได้แก่ ห้องสมุด
ประชาชน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.68, 2.67 ในกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศมี
ความแตกต่าง กันที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
113
2.)แหล่งสารสนเทศบุคคล กลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่
นักเรียนแสวงหาตามรายได้ครอบครัว ได้แก่ อาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน โดยผู้ที่มารายได้
ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 – มากกว่า 20,000 จะมีระดับปัญหาในการแสวงหามากโดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.33, 2.36, 2.64 จากผลการวิเคราะห์ในกลุ่มนี้ไม่มีความแตกต่างกัน ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
3.)แหล่งสารสนเทศวัสดุ ในกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ
ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จากวีดี
ทัศน์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.36 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว 9,001 – 20,000 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จากคอมพิวเตอร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.33 ผู้ปกครองนักเรียนที่มี
รายได้ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ จากวารสาร
และนิตยสารโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.20 จากผลการวิเคราะห์การแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1.)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อย
กว่า 9,000 ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ จุลสารทาง
วิชาการ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.24 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว 9,001 – 20,000 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสืออ้างอิง โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.34 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ วารสารและนิตยสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.17 โดยจะ
พบว่านักเรียนในกลุ่มนี้มีค่าเฉลี่ยระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่ง
ตีพิมพ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2.)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อย
กว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนมี
ปัญหาในการแสวงหาได้แก่คอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้
ครอบครัว9,001 - 20,000 มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่แหล่ง
สารสนเทศจากคอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.45 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว
มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ วีดีทัศน์
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.29 จากผลการวิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศของนักเรียน
ในกลุ่มนี้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนที่
สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สรุปผลได้ตามลำดับดังนี้
1. ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาการแสวงหาและปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ ในการศึกษาต่อของ
นักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อเปรียบเทียบการแสวงหาสารสนเทศในการศึกษาต่อ ของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร
2. สมมติฐานของการวิจัย
1. นักเรียนที่มีเพศต่างกันมีการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อแตกต่างกัน
2. นักเรียนที่มีผลการเรียนต่างกันมีการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อแตกต่างกัน
3. นักเรียนที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้ดีมีการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อ
แตกต่างจากนักเรียนที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย
4. นักเรียนที่มาจากโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีการแสวงหา
สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อที่แตกต่างกัน
3. วิธีดำเนินการวิจัย
1. ลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบหลาย
ขั้นตอน ( Multi sampling) โดยแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มใหญ่แล้วแบ่งเป็นกลุ่มย่อยโดยการสุ่ม
อย่างง่าย ( Simplerandom sampling)
2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจำนวน 1 ชุด
แบ่งเป็น 3 ตอนคือ
ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม
113
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศและปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนของนักเรียนที่สำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยตัวเองโดยส่งแบบสอบถามไปจำนวน 500
ฉบับได้รับคืนเป็นฉบับที่สมบูรณ์ จำนวน 400 ฉบับ ซึ่งมากกว่าจำนวนขั้นต่ำของกลุ่มตัวอย่างที่
กำหนดไว้จำนวน 394 คน
4. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนำแบบสอบถามที่สมบูรณ์มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการทาง
สถิติด้วยคอมพิวเตอร์ตามโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS – X เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลต่อไปนี้
4.1 ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดส่วนตัวนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6
วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย
4.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศและปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศของ
นักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คำนวณค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4.3 เปรียบเทียบความแตกต่างในการแสวงหาสารสนเทศ และปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีเพศต่างกัน เกรดเฉลี่ยต่างกัน
รายได้ครอบครัวต่างกันและขนาดโรงเรียนต่างกัน โดยใช้ T – TEST, F - TEST
4. สรุปผลการวิจัย
จากผลการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำมาอภิปรายผลดังต่อไปนี้
1. นักเรียนมีความเห็นว่าการเรียนในกลุ่มสาระต่าง ๆ เป็นประโยชน์ต่อการสอบเข้าศึกษา
ต่อของนักเรียน
2. การแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 6 แยกตามเพศ พบว่า ในกลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์นักเรียนหญิงและนักเรียนชาย มีการ
แสวงหามากที่สุดในสาระที่ 3 เรขาคณิต ในกลุ่มสาระภาษาไทยนักเรียนหญิงมีการแสวงหามาก
ที่สุดในสาระที่ 1 การอ่าน นักเรียนชายมีการแสวงหามากที่สุดในสาระที่ 3 การฟัง ดู พูด ในกลุ่ม
สาระวิชาวิทยาศาสตร์นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีการแสวงหามากที่สุดในสาระที่ 2 ชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม ในกลุ่มสาระวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย
มีการแสวงหามากที่สุดในสาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ในกลุ่ม
สาระวิชาศิลปะนักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีการแสวงหามากที่สุดในสาระที่ 2 ดนตรี ในกลุ่ม
สาระวิชาสุขศึกษาและพลศึกษานักเรียนหญิงมีการแสวงหามากที่สุดในสาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
ชีวิตนักเรียนชายมีการแสวงหามากที่สุด ในสาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกายและการเล่น
114
เกม ในกลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีนักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีการแสวงหามาก
ที่สุดในสาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว ในกลุ่มสาระวิชาภาษาต่างประเทศนักเรียนหญิงและ
นักเรียนชายมีการแสวงหามากที่สุดในสาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
3. การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผล
ปรากฏว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
ในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 3 เรขาคณิต กลุ่ม สาระภาษาไทย ผลปรากฏว่าโรงเรียน
ขนาดใหญ่พิเศษมีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 1 การ
อ่านสูงที่สุด คือ โรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ ในสาระด้านสาระที่ 3
การฟัง ดู พูดสูงที่สุด กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่
มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์เหมือนกันคือ สาระที่ 2 ชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและ
โรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 2 หน้าที่
พลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่
พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่
2 ดนตรี กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่าโรงเรียนขนาด
ใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระ
ที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่า
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 5 ความปลอดภัย
ในชีวิตโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 3 การ
เคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่
พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2
ภาษาและวัฒนธรรม
4. ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ผลปรากฏว่านักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
ในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 3 เรขาคณิต เมื่อเปรียบเทียบระดับการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศจำแนกตามระดับผลการศึกษา พบว่า ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศของนักเรียน
ที่มีผลการศึกษาระดับ 3.51 – 4.00 ดีกว่านักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00 – 3.50 กลุ่มสาระภาษาไทย
ผลปรากฏว่า นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 – 4.00 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่ม
สาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 1 การอ่านสูงที่สุด กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา
3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 2 ชีวิตและ
115
สิ่งแวดล้อม กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 –
4.00 และนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด
เหมือนกันคือ ในสาระที่ 2 หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้
นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –3.50 และนักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่า
นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 – 3.50 และนักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00
มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การ
เล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 –
3.50 และนักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด
เหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
5. ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผล
ปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ 9,001 – 20,000 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศใน
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 6 ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนที่
ผู้ปกครองที่มีรายได้ น้อยกว่า 9,000 และมากกว่า20,000 บาทขึ้นไป มีระดับการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 3 เรขาคณิต เมื่อเปรียบเทียบระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
จำแนกตามรายได้ของผู้ปกครอง พบว่า ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศของนักเรียนที่
ผู้ปกครองมีรายได้ 9,001 – 20,000 บาท มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศดีกว่านักเรียนที่
ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 และ 20,000 บาทขึ้นไป กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่า
นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 และรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 3 การฟัง การดูการพูดสูงที่สุด ผู้ปกครองนักเรียนที่
มีรายได้ 9,001 – 20,000 บาทมีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้าน
สาระที่ 1 การอ่าน กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 มีระดับ
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ผู้ปกครองมีรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 8
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,001 – 20,000
บาทมีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดใน สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต สาระ
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000
บาท มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในกลุ่มสาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง
วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมนักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่า 20,000 คือ สาระที่ 4
116
ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,001 – 20,000
บาทมีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 ทัศนศิลป์ ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า
9,000 และนักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุด ใน
กลุ่มสาระที่ 2 ทัศนศิลป์ กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครอง
ที่มีรายได้น้อยกว่า 9,001 มีการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในสาระที่ 1 การดำรงชีวิตและ
ครอบครัว นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 – 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุด
ในกลุ่มสาระที่ 2 การอาชีพ นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหา
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ใน
กลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 และ มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหา
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬา
สากล ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 – 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดใน สาระที่ 5
เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มี
รายได้น้อยกว่า 9,000 - 20,000 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่
2 ภาษาและวัฒนธรรม นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุด คือ สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
6. ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผล
ปรากฏว่า นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่ม
สาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น กลุ่มสาระภาษาไทย
ผลปรากฏว่านักเรียนชายและนักเรียนหญิง มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่ม
สาระที่ 5 ด้านวรรณคดีและวรรณกรรมสูงที่สุด กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงมีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์คือ สาระที่ 7 เรื่องดาราศาสตร์
และอวกาศ รองลงมาคือสาระที่ 6 คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก นักเรียนชายมีระดับปัญหา
ในการแสวงหาสารสนเทศในสาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและ
นักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 3
นาฏศิลป์ กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนหญิง
และนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 3 การ
ออกแบบเทคโนโลยี กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนหญิงและ
นักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
117
ชีวิต กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
7. ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน กลุ่มสาระ
คณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาด
ใหญ่ มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 5
วรรณคดีและวรรณกรรม กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาด
ใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์เหมือนกันคือ สาระ
ที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ใน
กลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ มีระดับปัญหาการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาด
ใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด
เหมือนกันคือ ในสาระที่ 3 นาฏศิลป์ กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียน
กลุ่มนี้ พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ มีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ กลุ่มสาระ
สุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
พบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
โรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษา
และวัฒนธรรม
8. ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา กลุ่มสาระ
คณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น นักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 3.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ
สูงสุดในสาระที่ 4 พีชคณิต เมื่อเปรียบเทียบระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนก
ตามระดับผลการเรียนพบว่าระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศของนักเรียนที่มีผลการ
เรียนระดับ 3.51 – 4.00 และนักเรียนที่มีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 3.00 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาสารสนเทศ ที่แตกต่างกัน กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00 –
2.50 มีระดับปัญหาใน การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 2 การ
118
เขียนสูงที่สุด นักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 –3.50 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระ
ที่ 4 คือ ด้านหลักการใช้ภาษานักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศ ในกลุ่มสาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผล
การเรียน 1.00 –2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต นักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 –3.50 มีระดับปัญหาใน
การแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร นักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51–
4.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ กลุ่มสาระสังคม
ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00– 2.50 และนักเรียนที่มีผล
การเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 4
ประวัติศาสตร์ นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุด ในสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00
–3.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
สูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 ทัศนศิลป์ นักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศมากที่สุดในกลุ่มสาระที่ 3 นาฏศิลป์ กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00 – 4.00 มีปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 3 การออกแบบเทคโนโลยี กลุ่มสาระสุขศึกษา
และพลศึกษา สำหรับนักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ นักเรียนที่มีผลการเรียน
2.51 – 4.00 มีปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียนที่มีผลการเรียน1.00 – 3.50 มีปัญหาในการแสวงหาเนื้อ
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 ภาษเพื่อการสื่อสาร นักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดใน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
9. ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผล
ปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในกลุ่มสาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ 9,001 – 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศใน
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในกลุ่มสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนที่ผู้ปกครอง
ที่มีรายได้ มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4
พีชคณิต กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 5 วรรณคดีและ
119
วรรณกรรม ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ มากกว่า 20,000 บาทมีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด กลุ่ม
วิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระ
ที่ 3 สารและสมบัติของสาร กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่
ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ ในกลุ่มสาระ
ที่ 5 ภูมิศาสตร์ นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ 9,001 - 20,000 คือมีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครอง
ที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3
นาฏศิลป์ นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่ากว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศ ในกลุ่มสาระที่ 2 ทัศนศิลป์ กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในกลุ่มนี้
นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ มากกว่า
20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและ
อาชีพ กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000
มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
มนุษย์ นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศในกลุ่มนี้นักเรียนที่
ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ ในกลุ่ม
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - 20,000 มีระดับปัญหาใน
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่ม สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร นักเรียนที่ผู้ปกครองมี
รายได้มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
สรุปผลการวิจัยตามแหล่งสารสนเทศ
1. ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามเพศ แหล่งสารสนเทศสถานที่นักเรียน
หญิงและนักเรียนชายแสวงหามากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน แหล่งสารสนเทศบุคคลที่นักเรียน
หญิงและนักเรียนชาย แสวงหามากที่สุดได้แก่ จากพ่อ แม่ แหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียนหญิง
และนักเรียนชายแสวงหามากที่สุดได้แก่ จากการชมรายการโทรทัศน์
120
2. แหล่งสารสนเทศสถานที่จำแนกตามขนาดโรงเรียน ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ แสวงหามากที่สุดได้แก่
ห้องสมุดโรงเรียน แหล่งสารสนเทศบุคคล ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียน
ขนาดใหญ่แสวงหามากที่สุดได้แก่ จากพ่อ แม่ แหล่งสารสนเทศวัสดุ ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาด
ใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่แสวงหามากที่สุดได้แก่ จากการชมรายการโทรทัศน์
3. ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับผลการศึกษาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 4.00
แหล่งสารสนเทศที่นักเรียนแสวงหาตามระดับผลการศึกษามากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน
แหล่งสารสนเทศบุคคล นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 4.00 มีระดับการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศบุคคลมากที่สุดได้แก่ จากพ่อ แหล่งสารสนเทศวัสดุ นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51
– 4.00 มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุที่มากที่สุดได้แก่ จากการชมรายการโทรทัศน์
4. ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว แหล่งสารสนเทศ
สถานที่ ในกลุ่มนี้ผู้ปกครองที่มารายได้ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 - มากกว่า 20,000 บาทมีระดับการ
แสวงหาแหล่งสารสนเทศ มากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน แหล่งสารสนเทศบุคคล กลุ่มนี้
ผู้ปกครองที่มีรายได้ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 - มากกว่า 20,000 บาทมีระดับการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศสถานที่ มากที่สุดได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง แหล่งสารสนเทศวัสดุ ในกลุ่มนี้ผู้ปกครองที่มี
รายได้ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 - มากกว่า 20,000 บาทมีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ
มากที่สุดได้แก่ จากการชมรายการโทรทัศน์
สรุปผลการวิจัยตามประเภทสารสนเทศ
1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ จำแนกตามเพศ แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุ
ตีพิมพ์ที่นักเรียนหญิงและนักเรียนชายแสวงหามากที่สุดได้แก่ หนังสือทั่วไป ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์ จำแนกตามขนาดโรงเรียนโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่
แสวงหามากที่สุดได้แก่ หนังสือทั่วไป ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์จำแนกตามผล
การศึกษานักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 - 4.00 มีการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุ
ตีพิมพ์แสวงหามากที่สุดได้แก่ หนังสือทั่วไป ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ จำแนก
ตามรายได้ผู้ปกครองผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,000 - มากกว่า 20,000 แสวงหาสารสนเทศมากที่สุด
ได้แก่ หนังสือทั่วไป
2. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ จำแนกตามเพศ นักเรียนหญิงและนักเรียน
ชายมีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีมากที่สุดได้แก่ โทรทัศน์ ทรัพยากร
121
สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ จำแนกตามขนาดโรงเรียนโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียน
ขนาดใหญ่แสวงหามากที่สุดได้แก่ โทรทัศน์ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์จำแนก
ตามผลการศึกษานักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 - 4.00 มีการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศประเภท
วัสดุไม่ตีพิมพ์แสวงหามากที่สุดได้แก่ หนังสือทั่วไป ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
จำแนกตามรายได้ครอบครัวผู้ปกครองที่มีรายได้ น้อยกว่า 9,000 – มากกว่า 20,00 แสวงหามากที่สุด
ได้แก่ โทรทัศน์
5. การอภิปรายผลการวิจัย
1 .การแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 6 พบว่าการจัดการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระนักเรียนมีความเห็นว่า
การจัดการเรียนการสอนที่มีเนื้อหาตามกลุ่มสาระดีอยู่แล้วและเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนมาก
2. การใช้แหล่งสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศสถานที่ ที่นักเรียนใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหา
ความรู้เพื่อการศึกษาต่อนั้นจากห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ รับการแสวงหาอยู่ใน
ระดับมาก แหล่งสารสนเทศบุคคล พบว่านักเรียนส่วนใหญ่แสวงหาความรู้แหล่งสารสนเทศบุคล
และเพื่อนอยู่ในระดับมาก แหล่งสารสนเทศวัสดุ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่แสวงหาสารสนเทศจาก
แหล่งสารสนเทศวัสดุคือรายการโทรทัศน์ ฟังวิทยุ และจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับการ
แสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุอยู่ในระดับมาก
3. ประเภททรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์พบว่านักเรียนมีการแสวงหามากคือ หนังสือทั่วไป และหนังสือพิมพ์มีการ
แสวงหาสารสนเทศอยู่ในระดับมากทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนแสวงหา
มากได้แก่ โทรทัศน์และคอมพิวเตอร์ที่นักเรียนแสวงหาอยู่ในระดับมาก
4. ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ พบว่า นักเรียนมีปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์คือสาระที่ การวัดและกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 และ
สาระที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.01 และสาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น อย่างมี
นัยสำคัญที่ 0.05
5. ปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศด้านแหล่งสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศสถานที่ ที่
นักเรียนมีปัญหาในการแสวงหามากได้แก่หอสมุดแห่งชาติ และหอสมุดมหาวิทยาลัย แหล่ง
สารสนเทศบุคคลที่นักเรียนพบปัญหามากที่สุดได้แก่ อาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน แหล่งสารสนเทศ
วัสดุที่นักเรียนมีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
122
6. ข้อเสนอแนะ
จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่านักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีการแสวงหา
สารสนเทศแยกเป็นรายด้านดังนี้
ด้านเนื้อหาสารสนเทศ ควรจัดสารสนเทศในการศึกษาต่อของนักเรียนไว้มากๆ
ด้านแหล่งสารสนเทศ ควรให้ความช่วยเหลือและชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องให้กับนักเรียน
ด้านประเภทสารสนเทศ ควรจัดหาสารสนเทศประเภทหนังสืออ่านทั่วไปเพิ่มขึ้น
ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
ควรศึกษาเปรียบเทียบการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ในโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ :
องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กรุงเทพมหานคร. ประกาศกรุงเทพมหานครเรื่องแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียนของโรงเรียน
ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2548.
ก่อเกียรติ ขวัญสกุล. (2547). สารสนเทศเพื่อการค้นคว้า. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสารสนเทศศาสตร์
บรรณารักษศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2546). การใช้ SPSS for window ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 6).
กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2545). หลักสถิติ. (พิมพ์ครั้งที่7). กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชย
ศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. (2546). สารนิเทศและการศึกษาค้นคว้า. (พิมพ์ครั้งที่ 5).
กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์. คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ครรชิต มาลัยวงศ์. (2543). บรรณารักษ์ ศูนย์บริการและการสืบค้นสารสนเทศในปี 2000.
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : งานประชาสัมพันธ์และมัลติมิเดียศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สิ่งแวดล้อม.
จิรวรรณ ภักดีบุตร. (2532). วิวัฒนาการความต้องการและพฤติกรรมการค้นหาสารนิเทศ.
ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสารนิเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 1-7. (หน้า 173-181).
นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เจริญ คุ้มอักษร. (2543). ความต้องการสารสนเทศในชีวิตประจำวันของนักเรียนระดับมัธยม
ศึกษาตอนต้น ในจังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ฉันทนา ชาญพาณิชย์. (2537). เอกสารคำสอนวิชาสารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ :
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
124
ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ. (2537). บริการสารนิเทศ. ปทุมธานี. สาขาวิชาสารนิเทศ.
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.
ชัยพจน์ รักงาม. (2542). แหล่งเรียนรู้เพื่อเป็นคนรอบรู้ ในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน.
(หน้า72 – 75). ราชบุรี : หน่วยศึกษานิเทศ กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5.
ชุติมา สัจจานันท์. (2530). สารนิเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.
นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ. (2526). บริการสารสนเทศ : ความหมายและประเภท.
บรรณารักษศาสตร์. 3 (หน้า 26).
นันทา วิทวุฒิศักดิ์. (2542). การสืบค้นและสื่อสารสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : โปรแกรมบรรณารักษ
ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
________. (2540). สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ, ดี.ดี.บุ๊คสโตร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ, สุวีริยาสาส์น.
ประภาวดี สืบสนธิ์. (2532). การศึกษาความต้องการของผู้ใช้สารนิเทศ. วารสาร
บรรณารักษศาสตร์, 9, 12-28.
________. (2530). การใช้และการแสวงหาสารนิเทศของเกษตรอำเภอขามจังหวัด
จันทบุรี. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ประสานสุข ละม่อม. (2540). เอกสารคำสอนสารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : ภาควิชา
บรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา.
พยอม ยุวสุต. (2541). การใช้ห้องสมุดและสารสนเทศของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ในอำเภอเมืองเขตการศึกษา 5. วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
รามคำแหง.
พวา พันธุ์เมฆา. (2541). สารนิเทศกับการศึกษาค้นคว้า. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ
พิกุล วงศ์ก้อม. (2539). กลวิธีการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา
ในกรุงเทพมหานคร และเขตการศึกษา 9. วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
125
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). แนวการสึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืน
สารสนเทศ = Information Storage and retrieval. หน่วยที่ 5. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
แม้นมาส ชวลิต. (2533) สารนิเทศและสารนิเทศศาสตร์ ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
13201 สารนิเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 1-7. (หน้า 1-38). (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี :
สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
แม้นมาส ชวลิต. (2532) สารนิเทศและสารนิเทศศาสตร์ ใน เอกสารชุดวิชา นิเทศศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1-7. (หน้า10-12). นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช.
รัตนา หันจางสิทธิ์. (2543). ความต้องการสารสนเทศของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียน
โสตศึกษา จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ
: นามมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
สมาน ลอยฟ้า. (2544). การรู้สารสนเทศ: ทักษะที่จำเป็นสำหรับสังคมสารสนเทศ. คณะมนุษย์
ศาสตร์และสังคมศาสตร์. 19 (1), 1-5.
สำนักนายกรัฐมนตรี, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). แผนพัฒนาการศึกษา
แห่งชาติ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535 – 2539. ม.ป.ท.
สุกานดา ดีโพธิ์กลาง และคณะ. (2544). ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า.
ศูนย์หนังสือ, 19 (1), 1-5.
สุขุม เฉลยทรัพย์. (2532). คุณค่าของสารนิเทศต่อบุคคล : กรณีเกย์ (Gay). ห้องสมุด. 33 (4), 41.
สุจริต บัวพิมพ์. (2533) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ ในห้องสมุดกับสารนิเทศเพื่อการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตในเอกสารการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2533. สมาคมห้องสมุดแห่ง
ประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
อมรรัตน์ ถาวรานุรักษ์. (2539). การใช้สารสนเทศเพื่อการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัยของนัก
เรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์คณะศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทร์วิโรฒประสานมิตร .
เอกสารประกอบการอบรมครูและบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดนครปฐม
ระหว่างวันที่ 9 – 10 พฤษภาคม 2539. นครปฐม : หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
126
เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. (2542). สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ฉะเชิงเทรา: โปรแกรมวิชา
บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราช
ภัฏราชนครินทร์.
ภาษาอังกฤษ
Chen, Ching-Chih ; and Hernon,Peter. (1982 , July ) Information seeking : Anticipation for
Librarians Special Libraries. 73 : 5 : 53-53.
Ford, Geoffreg. (1973, March ) Progress in doccumentation research in user behavior in
universityLibraries. Journal of Education. 2: 85.
Grogan, Denis. (1982). Science and Technology and Introduction to Literature. Pp.73.
Lodon :Clive Bingley.
Harrod, Leonard Montage. (1984). Harrod’s Librarians’ Glossarry. 3rd ed. Gower : A
Grafton Book.
Karadima, Oscar. (1984). Management Information System for Faculty Allocation
Instiution of Higher Education. A Case Study for the Universidad de santiago de Chile
(USACH), Dessertation Abstract International. 45(8) : 2411 – A.
Krikelas, J. (1983) Information-seeking Behavior : Patherns and concepts. Drexel Library
Quarcerly 19 (Spring) : 5.
Kulthau, Carol Collier. (1988) Perceptions of the Information Search Process in Libraries :
A study of changes from high school through colleage. Internatio
Peocessing And Managerment. 24.: 419.
Mancall, Jacqueline Cooper. (1978). “Resources Used by High School Students in Perparing.
Independent Study Project: A Bibliometric Approach,” Dissertation Abstracts
International. 38(9) : 5193A; March.
Taylor, Robert S. (1968). “ Question – Negotiation and Information Seeking in Libraries,”
College & Rearch Libraries. 29(1) : 178 – 194; January.
ภาคผนวก ก
รายนามผู้เชี่ยวชาญผู้ตรวจสอบความตรงเชิง
เนื้อหาเครื่องมือในการทำวิทยานิพนธ์
128
รายนามผู้เชี่ยวชาญผู้ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาเครื่องมือในการทำวิทยานิพนธ์
รองศาสตราจารย์หรรษา ศิวรักษ์
รองศาสตราจารย์จุมพจน์ วนิชกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริจันทร์ ศิริปทุมานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์
134
ภาคผนวก ข
แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัย
135
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
การแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร
............................................................................................................................................................
คำชี้แจง 1. แบบสอบถามชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจการแสวงหาสารสนเทศเพื่อเตรียมตัวสอบของ
นักเรียน ทั้งนี้แบบสอบถามชุดนี้จะไม่มีผลใดๆ ทั้งสิ้นต่อตัวนักเรียน
2. แบบสอบถามชุดนี้แบ่งออกเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่
เพศ ระดับผลการเรียน รายได้ครอบครัว ขนาดโรงเรียน
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเรื่อง การแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนแบ่ง
ออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านเนื้อหาสารสนเทศ ด้านแหล่งสารสนเทศ และด้านประเภทสารสนเทศซึ่ง
แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ดังนี้คือ
ระดับ 5 หมายถึง แสวงหามากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง แสวงหามาก
ระดับ 3 หมายถึง แสวงหาปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง แสวงหาน้อย
ระดับ 1 หมายถึง แสวงหาน้อยที่สุด
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ
ตอนที่ 1 สถานภาพส่วนบุคคล
1. เพศ
�� เพศชาย
�� เพศหญิง
2. ระดับผลการเรียนของนักเรียนที่สำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
�� ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 1.00 – 2.50
�� ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 2.51 – 3.50
�� ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 3.51 – 4.00
3. รายได้ครอบครัว
�� รายได้น้อยกว่า 9,000 บาท
�� รายได้ 9,001 – 20,000 บาท
�� รายได้มากกว่า 20,000 บาท
136
4. ขนาดโรงเรียน
�� โรงเรียนขนาดใหญ่ มีนักเรียน 1,500 – 2,499 คน
�� โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียน 2,500 คนขึ้นไป
ตอนที่ 2 แบบสอบถามการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนเป็นแบบสอบถามแบบ
มาตราส่วนประมาณค่าเกี่ยวกับการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียน
คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความในแบบสอบถามทีละข้อแล้วพิจารณาว่านักเรียนมีระดับการ
แสวงหาสารสนเทศในแต่ละข้อมากน้อยเพียงใดรวมทั้งนักเรียนมีระดับปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศในแต่ละข้อมากน้อยเพียงใด จากนั้นทำเครื่องหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง
มากที่สุด
137
ลำดับ ระดับการแสวงหา ปัญหาในการแสวงหา
ที่
เนื้อหาสารสนเทศที่นักเรียนแสวงหา
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
1.
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน
สาระที่ 2 การเขียน
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา
2.
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ 5 พลังงาน
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
3.
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการ
ดำเนินชีวิตในสังคม
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
4.
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
138
ลำดับ ระดับการแสวงหา ปัญหาในการแสวงหา
ที่
ด้านเนื้อหาสารสนเทศ
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
สาระที่ 2 ดนตรี
5.
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิต
สาระที่ 2 การอาชีพ
สาระที่ 3 การออกแบบเทคโนโลยี
สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
มนุษย์
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย
การเล่นเกม
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ
และการป้องกันโรค
7.
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น
8.
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก
139
ลำดับ ระดับการแสวงหา ปัญหาในการแสวงหา
ที่
ด้านแหล่งสารสนเทศ
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1. แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน
2. จากห้องสมุดประชาชน
3. จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ
4. จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย
5. จากหอสมุดแห่งชาติ
6. จากห้องแนะแนว
7. อื่น ๆ โปรดระบุ.......................................
8. แหล่งสารสนเทศบุคคล
จาก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง
9. จากเพื่อน
10. จากอาจารย์ที่ปรึกษา
11. จากบรรณารักษ์ห้องสมุด
12. จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน
13. อื่น ๆ โปรดระบุ.......................................
14. แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์
15. จากการฟังวิทยุ
16. จากการอ่านหนังสือตำรา
17. จากการอ่านหนังสือพิมพ์
18. จากการอ่านวารสาร นิตยสาร
19. จากจุลสารทางวิชาการ
20. จากวีดีทัศน์ประกอบการเรียน
21. จากการชมนิทรรศการทางวิชาการ
22. จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์
23. จากสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
24. อื่น ๆ โปรดระบุ...........................................
140
ลำดับ ระดับการแสวงหา ปัญหาในการแสวงหา
ที่
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป
2. หนังสืออ้างอิง
3. วารสารหรือนิตยสาร
4. หนังสือพิมพ์
5. จุลสาร
6. กฤตภาค
7. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ
8. โทรทัศน์
9. คอมพิวเตอร์
10. วีดีทัศน์
11. แผนที่
12. หุ่นจำลอง
13. อื่น ๆ โปรดระบุ......................................
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ
โปรดแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการแสวงหาสารสนเทศและปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศของนักเรียน
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
141
ภาคผนวก ค
รายชื่อโรงเรียนที่ใช้เก็บข้อมูล
142
ตารางที่ 1 กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนขนาดใหญ่
เขตพื้นท ี่ โรงเรียน กลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
โรงเรียนราชวินิตมัธยม 227 210 437 9 9 18
โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ 247 141 388 10 6 16
เขตพื้นที่
การศึกษาเขต 1
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิ 285 265 316 12 11 23
โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ 99 67 166 4 3 7
โรงเรียนบางกะปิขุนนวพันธ์
อุปภัมภ์
251 240 491 11 10 21
เขตพื้นที่
การศึกษาเขต 2
โรงเรียนบดินทร์เดชา
(สิง สิงหเสนี) 4
190 162 352 8 7 15
โรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม 211 227 438 10 18 28
เขตพื้นที่ โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง 117 84 201 5 5 10
การศึกษาเขต 3
โรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ 231 187 418 10 18 28
รวม 1,874 1.794 2,980 79 87 166
143
ตารางที่ 2 กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
เขตพื้นที่ โรงเรียน กลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
โรงเรียนสตรีวิทยา - 625 625 - 26 26
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 589 - 589 25 - 25
เขตพื้นที่
การศึกษาเขต 1
โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย 294 313 607 12 13 25
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ
375 357 732 15 15 30
โรงเรียนเทพลีลา 251 265 516 10 11 21
เขตพื้นที่
การศึกษาเขต 2
โรงเรียนหอวัง 334 340 674 14 14 28
โรงเรียนศึกษานารีวิทยา 332 300 632 14 13 27
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐาราม
วิทยาคม
เขตพื้นที่ 295 284 579 12 12 24
การศึกษาเขต 3
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยา 238 291 529 10 12 22
รวม 2,708 2.775 5,483 112 116 228
144
ภาคผนวก ง
ประวัติย่อของผู้วิจัย
145
ประวัติย่อผู้วิจัย
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ – สกุล นางกัลยา แทนเอี่ยม
วัน เดือน ปีเกิด 27 มีนาคม 2503
สถานที่เกิด จังหวัดปราจีนบุรี
ประวัติการศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาบรรณารักษศาสตร์ วิทยาลัยครู
เพชรบุรีวิทยาลงกรณ์
ตำแหน่งและสถานที่ทำงาน ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัดทองใน สำนักงานเขตสวนหลวง
กรุงเทพมหานคร
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 1)
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 2)
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 3)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น