ศึกษาและโหลดฟรีเป็นตัวอย่างเกี่ยวกับงานวิจัย all free download research
วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 2)
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 3.76 0.85 3.75 0.86 0.07 0.93
หนังสืออ้างอิง 3.22 0.97 3.24 1.15 -0.18 0.85
วารสารหรือนิตยสาร 3.35 0.92 3.42 0.96 -0.69 0.48
หนังสือพิมพ์ 3.48 1.16 3.58 1.05 -0.88 0.37
จุลสาร 2.89 1.05 2.96 1.07 -0.56 0.57
กฤตภาค 2.60 1.11 2.76 1.15 -1.30 0.19
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่
ตีพิมพ์
วิทยุ 3.88 1.18 3.93 1.13 -0.41 0.68
โทรทัศน์ 4.14 1.04 4.17 0.96 -0.37 0.70
คอมพิวเตอร์ 3.93 1.14 4.05 1.06 -1.03 0.30
วีดีทัศน์ 3.48 1.16 3.50 1.09 -0.14 0.88
หุ่นจำลอง 2.99 1.12 3.05 1.12 -0.51 0.60
อื่น ๆ 2.00 0.00 2.00 0.00
แผนที่ 3.27 0.98 3.25 1.03 0.20 0.83
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
64
4.1 ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน จากตารางที่ 4 สามารถสรุป
ได้ ดังนี้
1) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่นักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแสวงหามากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.57 และ
3.55 นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ตามลำดับ แหล่งสารสนเทศ
สถานที่ที่โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแสวงหาเป็นอันดับสองได้แก่ จากห้องแนะแนว โรงเรียนใหญ่
แก่ จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ โดยจะพบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับโรงเรียนขนาดใหญ่มี
คะแนนการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ไม่แตกต่างกันในห้องสมุดโรงเรียนอย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) แหล่งสารสนเทศบุคคล ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลที่นักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่แสวงหามากที่สุดได้แก่ จากพ่อ แม่โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 4.10 และ 4.04 ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ตามลำดับ แหล่ง
สารสนเทศบุคคลที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแสวงหาเป็นอันดับสองได้แก่ จากเพื่อน
โดยจะพบว่านักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่มีคะแนนการ
แสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) แหล่งสารสนเทศวัสดุ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียนในโรงเรียน
ขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่แสวงหามากที่สุดได้แก่ จากการชมรายการโทรทัศน์ โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.86 และ 3.99 ตามลำดับ แหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่
พิเศษและขนาดใหญ่แสวงหาเป็นอันดับสองได้แก่ จากการฟังวิทยุ มีการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภท
วัสดุตีพิมพ์ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่แสวงหามากที่สุดได้แก่
หนังสือทั่วไป โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.76 และ 3.75 รองลงมาได้แก่แหล่งสารสนเทศจาก
หนังสือพิมพ์ โดยจะพบว่านักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่มี
การแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
65
2. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
ประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่แสวงหามาก
ที่สุดได้แก่ โทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40 และ 4.17 ในตามลำดับ รองลงมาได้แก่แหล่ง
สารสนเทศจากคอมพิวเตอร์ โดยจะพบว่านักเรียนโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่
มีการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 5 แสดงระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการ
ดำเนินการ
2.80 0.42 2.98 0.54 3.20 0.81 5.82 0.00**
สาระที่ 2 การวัด 3.00 0.00 3.00 0.79 3.52 0.81 19.72 0.00**
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.60 0.84 3.21 0.84 3.85 0.70 35.26 0.00**
สาระที่ 4 พีชคณิต 3.20 0.42 2.87 0.81 2.97 0.83 1.30 0.27
สาระที่ 5 การวิเคราะห์
ข้อมูลและความน่าจะเป็น
2.70 0.48 3.17 0.89 3.19 1.02 1.30 0.27
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวน
การทางคณิตศาสตร์
3.50 0.52 3.22 0.99 3.48 0.97 3.17 0.04*
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 3.50 0.52 3.51 0.83 3.7 0.95 2.93 0.05*
สาระที่ 2 การเขียน 3.10 0.73 3.38 0.86 3.70 1.03 6.23 0.00**
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.90 1.10 3.67 0.83 3.59 0.90 3.91 0.02*
สาระที่ 4 หลักการใช้
ภาษา
2.90 1.10 3.25 0.80 3.57 0.75 9.23 0.00**
สาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม
2.30 0.82 3.15 0.84 3.38 1.06 7.71 0.00**
กลุ่มวิทยาศาสตร์
66
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดำรงชีวิต
2.30 0.82 3.48 0.86 3.56 0.79 10.72 0.00**
สาระที่ 2 ชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
2.50 0.52 3.42 0.77 3.77 0.77 18.72 0.00**
สาระที่ 3 สารและสมบัติ
ของสาร
2.20 0.42 2.94 0.89 3.38 0.97 15.13 0.00**
สาระที่ 4 แรงและการ
เคลื่อนที่
2.60 0.84 3.14 0.84 3.29 0.78 4.23 0.01**
สาระที่ 5 พลังงาน 2.80 0.42 3.06 0.84 3.39 0.87 7.86 0.00**
สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
2.30 0.82 2.87 0.87 3.09 1.10 4.52 0.01**
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และ
อวกาศ
1.50 0.52 2.85 1.01 3.29 1.26 16.59 0.00**
สาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
2.20 0.91 3.10 0.99 3.56 0.97 16.00 0.00**
กลุ่มสาระสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม
2.90 1.37 3.06 0.87 3.31 1.02 3.60 0.02*
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.20 0.91 2.94 0.94 3.37 0.83 15.06 0.00**
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 2.80 1.31 3.02 0.89 3.55 0.99 14.97 0.00**
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.30 0.82 3.32 0.93 3.35 1.01 5.63 0.00**
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 3.50 0.52 3.36 0.72 3.66 0.92 6.24 0.00**
สาระที่ 2 ดนตรี 2.80 0.42 3.38 0.63 3.87 0.95 23.00 0.00**
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.60 0.84 2.89 0.98 3.56 1.10 20.70 0.00**
67
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระวิชาการงาน
อาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
2.50 0.52 3.59 0.69 3.98 0.91 22.96 0.00**
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.30 0.82 3.54 0.82 3.79 1.04 13.95 0.00**
สาระที่ 3 การออกแบบ
เทคโนโลยี
3.00 0.00 2.94 1.08 3.52 0.79 16.61 0.00**
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
2.30 0.82 3.07 1.12 3.27 1.06 4.56 0.01**
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อ
การทำงานและอาชีพ
2.40 0.96 3.08 0.86 3.41 1.02 9.37 0.00**
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพล
ศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโต
และพัฒนาการของมนุษย์
2.20 0.91 3.46 0.93 3.78 1.10 13.83 0.00**
สาระที่ 2 ชีวิตและ
ครอบครัว
2.40 0.96 3.52 0.84 4.37 0.84 61.21 0.00**
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว
การออกกำลังกาย การเล่น
เกม
3.30 1.63 3.70 0.96 4.22 0.92 14.72 0.00**
สาระที่ 4 การสร้างเสริม
สุขภาพ สมรรถภาพ และ
การป้องกันโรค
2.50 0.52 3.59 0.98 3.75 0.84 9.13 0.00**
สาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
ชีวิต
2.20 0.91 3.75 0.85 4.09 1.07 21.21 0.00**
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการ
สื่อสาร
2.60 0.84 3.10 0.79 3.66 0.89 23.97 0.00**
68
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
สาระที่ 2 ภาษาและ
วัฒนธรรม
2.70 0.48 3.46 0.81 3.72 0.92 9.04 0.00**
สาระที่ 3 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น
2.30 0.48 3.03 0.81 3.51 1.21 15.09 0.00**
สาระที่4 ภาษากับ
ความสัมพันธ์ กับชุมชน
โลก
1.50 0.52 3.08 0.81 3.46 1.19 21.89 0.00**
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
5.1 ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดผลการศึกษา จากตารางที่ 5 สามารถ
แยกเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 4.00 มี
ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 3 เรขาคณิต โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.85 และ 3.54 รองลงมาคือสาระที่ 2 การวัด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51, 3.00 เมื่อ
เปรียบเทียบระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามระดับผลการศึกษาพบว่าระดับการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศของนักเรียนที่มีผลการศึกษาระดับ 2.51 – 4.00 ดีกว่านักเรียนที่มีผลการ
เรียน 1.00 – 2.50และการวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็นนักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 –
4.00 ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศดีกว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 – 2.50 อย่างมี
นัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. ในตาราง มีค่าน้อยกว่า 0.05)
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 – 4.00มีระดับการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 1 การอ่านสูงที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.73 , 3.51และ3.50 ตามลำดับรองลงมาคือ ด้านสาระที่ 2 การเขียน โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ
3.70, 3.38 และ 3.10 จากผลการวิเคราะห์ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศด้านผลการศึกษา ไม่
มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. ในตาราง มีค่า
มากกว่า 0.05 ในทุกสาระของกลุ่มนี้)
69
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 – 4.00มีระดับการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อมโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
3.77 รองลงมาคือสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 นักเรียน
ที่มีผลการเรียน 1.00 – 3.50 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญในด้านชีวิตและสิ่งแวดล้อม ด้านสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต และด้านดารา
ศาสตร์และอวกาศ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
4) กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 –
4.00 และนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด
เหมือนกันคือ ในสาระที่ 2 หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมโดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.57 และ 3.44 ตามลำดับ รองลงมาคือสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.35 และ
3.32 ตามลำดับ สำหรับกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –3.50 มีระดับการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศ ในกลุ่มสาระที่ 1 ทัศนศิลป์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50, 3.36 นักเรียนที่มีผล
การศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 2 ดนตรีโดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.87 ในกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนที่มี
ผลการศึกษา 1.00 – 2.50และ 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 1 การ
ดำรงชีวิตและครอบครัว โดยมีระดับค่าเฉลี่ย 3.59, 3.98 นักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 – 3.50 มี
ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 2 การอาชีพ โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ
3.79 ในกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับ
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม
กีฬาไทยและกีฬาสากล โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.37 รองลงมาคือ สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 จากผลการวิเคราะห์พบว่านักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00 – 3.50 และนักเรียนที่มี
ผลการเรียน 3.51 – 4.00มีระดับการแสวงหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
70
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 – 3.50 และนักเรียนที่มี
ผลการศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2
ภาษาและวัฒนธรรม โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.72 และ 3.46 ตามลำดับ ในกลุ่มนี้พบว่านักเรียนที่มีผล
การศึกษา 1.00 – 3.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 6 แสดงระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 2.30 0.48 3.31 0.88 3.99 1.08 31.14 0.00**
จากห้องสมุดประชาชน 1.60 0.96 2.87 1.03 2.57 1.09 9.28 0.00**
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 1.70 0.48 3.02 1.09 2.78 1.17 7.99 0.00**
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 1.60 0.96 2.48 1.08 2.47 1.38 2.57 0.07
จากหอสมุดแห่งชาติ 1.60 0.96 2.64 1.26 3.00 1.41 7.46 0.00**
จากห้องแนะแนว 1.90 1.44 2.88 1.13 2.84 1.30 3.15 0.04*
อื่น ๆ . . . . . .
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 3.70 1.49 4.01 0.96 4.20 1.31 1.92 0.14
จากเพื่อน 2.60 0.96 3.93 1.00 3.94 0.91 9.28 0.00**
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 2.90 0.73 3.35 1.05 4.06 0.89 26.45 0.00**
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.60 0.84 3.04 1.08 3.29 1.20 3.35 0.03*
จากอาจารย์ท่านอื่นใน
โรงเรียน
2.90 0.73 2.99 1.13 3.39 1.65 4.20 0.01**
อื่น ๆ . . 2.00 0.00 . .
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการ
โทรทัศน์
2.60 1.17 3.80 1.33 4.11 0.85 9.65 0.00**
จากการฟังวิทยุ 3.20 0.42 3.58 1.15 3.82 1.22 2.75 0.06
71
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
จากการอ่านหนังสือตำรา 2.40 1.17 3.23 1.23 3.47 1.21 4.56 0.01**
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 2.00 0.00 3.43 1.05 3.58 1.14 10.30 0.00**
จากการอ่านวารสาร
นิตยสาร
2.10 0.73 3.22 0.97 3.55 1.28 10.48 0.00**
จากจุลสารทางวิชาการ 1.80 0.42 3.09 0.95 2.87 1.08 9.13 0.00**
จากวีดีทัศน์ประกอบการ
เรียน
2.40 1.17 3.13 1.07 3.10 1.31 1.86 0.15
จากการชมนิทรรศการทาง
วิชาการ
2.20 0.42 3.06 1.10 3.25 1.09 5.03 0.00**
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เช่น โปรแกรม
1.90 0.73 3.74 1.03 3.68 0.95 16.33 0.00**
จากสารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ต
2.10 0.73 3.70 0.98 3.55 1.13 11.65 0.00**
อื่น ๆ . . . . . .
ประเภททรัพยากร
สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 2.80 0.42 3.65 0.92 3.98 0.69 14.04 0.00**
หนังสืออ้างอิง 2.10 0.73 3.10 0.94 3.48 1.13 12.70 0.00**
วารสารหรือนิตยสาร 2.10 0.73 3.13 0.86 3.81 0.85 39.90 0.00**
หนังสือพิมพ์ 3.00 0.00 3.37 1.02 3.78 1.22 7.56 0.00**
จุลสาร 2.10 0.73 2.81 0.86 3.13 1.26 7.50 0.00**
กฤตภาค 1.80 0.42 2.62 1.08 2.79 1.20 4.07 0.01**
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 3.00 0.00 3.72 1.10 4.22 1.19 11.90 0.00**
โทรทัศน์ 3.50 0.52 3.96 1.11 4.47 0.75 14.72 0.00**
คอมพิวเตอร์ 3.00 0.00 3.71 1.12 4.44 0.94 26.62 0.00**
72
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
วีดีทัศน์ 2.50 0.52 3.47 1.08 3.57 1.20 4.36 0.01**
แผนที่ 2.10 0.73 3.34 0.96 3.22 1.02 7.72 0.00**
หุ่นจำลอง 2.10 0.73 2.98 0.99 3.11 1.27 4.08 0.00**
อื่น ๆ . . 2.00 0.00 2.00 0.00
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
6.1 ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับผลการศึกษา
ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกระดับผลการศึกษา จากตารางที่ 6 สามารถสรุป
ได้ ดังนี้
1) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่นักเรียนแสวงหา
ตามระดับผลการศึกษามากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.99 , 3.37 และ2.3
ตามลำดับ นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 4.00 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศจำแนกตาม
แหล่งสารสนเทศสถานที่เป็นอันดับสองได้แก่ ห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ โดยจะพบว่านักเรียนที่มี
ผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 4.0 0 มีคะแนนการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่ไม่แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) แหล่งสารสนเทศบุคคล ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลที่นักเรียนที่มีผล
การศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 4.00 แสวงหามากที่สุดได้แก่ จากพ่อ แม่โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20, 4.01 และ
3.700 และนักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 แสวงหาเป็นอันดับสองได้แก่ จากอาจารย์ที่
ปรึกษา โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.06 และนักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับการ
แสวงหาเป็นอันดับสองได้แก่จากเพื่อนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93 โดยจะพบว่านักเรียนที่มีค่าเฉลี่ย
การแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) แหล่งสารสนเทศวัสดุ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียนมีผลการศึกษา
เฉลี่ย 2.51 – 4.00 มีการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จากการชมรายการโทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.11 และ 3.80 ตามลำดับ แหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียน แสวงหาเป็นอันดับสองได้แก่ จากการฟัง
วิทยุ มีคะแนนการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่แตกต่างกัน จากการชมรายการโทรทัศน์ และ
จากการฟังวิทยุอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
73
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภท
วัสดุตีพิมพ์ มากที่สุดได้แก่ หนังสือทั่วไป โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.98 และ 3.65 รองลงมาได้แก่แหล่ง
สารสนเทศจากหนังสือพิมพ์ โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.81 และ 3.13 โดยจะพบว่าค่าเฉลี่ยการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
ประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนแสวงหามากที่สุดได้แก่ โทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 และ
3.96 ในตามลำดับ รองลงมาได้แก่แหล่งสารสนเทศจากคอมพิวเตอร์ โดยจะพบว่านักเรียนที่มีผล
การศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 4.00 มีคะแนนการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ไม่
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 7 แสดงระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามระดับรายได้
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการ
ดำเนินการ
2.95 0.65 3.15 0.65 3.02 0.75 3.88 0.02*
สาระที่ 2 การวัด 3.11 0.73 3.29 0.86 3.17 0.96 1.95 0.14
สาระที่ 3 เรขาคณิต 3.24 0.73 3.59 0.94 3.52 0.56 7.37 0.00**
สาระที่ 4 พีชคณิต 3.02 0.73 2.86 0.83 2.85 0.98 1.72 0.17
สาระที่ 5 การวิเคราะห์
ข้อมูลและความน่าจะเป็น
2.90 0.79 3.34 1.02 3.29 0.76 9.91 0.00**
สาระที่ 6 ทักษะ/
กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
3.11 0.92 3.53 0.99 3.08 0.90 9.53 0.00**
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 3.30 0.89 3.81 0.77 3.58 1.04 15.44 0.00**
สาระที่ 2 การเขียน 3.22 0.77 3.69 0.99 3.52 1.05 10.76 0.00**
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 3.40 0.86 3.76 0.85 3.70 0.87 7.63 0.00**
74
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 3.09 0.67 3.54 0.87 3.47 0.66 14.30 0.00**
สาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม
3.00 0.95 3.36 0.90 3.32 1.03 6.67 0.00**
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดำรงชีวิต
3.18 0.84 3.72 0.82 3.32 0.63 19.20 0.00**
สาระที่ 2 ชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
3.50 0.80 3.60 0.78 3.29 0.87 2.55 0.07
สาระที่ 3 สารและสมบัติ
ของสาร
2.84 0.73 3.17 1.05 3.73 0.75 14.11 0.00**
สาระที่ 4 แรงและการ
เคลื่อนที่
3.05 0.81 3.23 0.81 3.52 0.86 5.15 0.00**
สาระที่ 5 พลังงาน 3.06 0.85 3.25 0.88 3.32 0.72 2.49 0.08
สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
2.82 0.77 3.02 1.08 3.00 1.07 1.89 0.15
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และ
อวกาศ
2.67 1.01 3.15 1.19 3.38 1.25 9.81 0.00**
สาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
3.11 1.11 3.31 1.00 3.58 0.60 3.65 0.02*
กลุ่มสาระสังคมศึกษา
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม
3.39 0.79 3.01 1.00 3.02 1.14 6.97 0.00**
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง
วัฒนธรรมและการดำเนิน
ชีวิตในสังคม
3.53 0.79 3.522 0.99 2.91 0.99 6.90 0.00**
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 3.10 0.78 3.13 0.99 2.82 1.11 1.64 0.19
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 3.14 0.84 3.30 1.03 3.17 1.167 1.15 0.31
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 3.24 0.81 3.38 1.06 3.14 1.04 1.29 0.27
75
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 3.46 0.93 3.49 0.70 3.58 0.95 0.33 0.71
สาระที่ 2 ดนตรี 3.61 0.83 3.45 0.79 4.02 0.75 7.67 0.00**
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 3.06 1.25 3.18 0.90 3.35 1.29 1.07 0.34
กลุ่มสาระวิชาการงาน
อาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
3.80 0.69 3.70 0.88 3.44 1.05 2.72 0.06
สาระที่ 2 การอาชีพ 3.51 0.91 3.71 0.99 3.38 0.73 2.98 0.05*
สาระที่ 3 การออกแบบ
เทคโนโลยี
3.01 1.02 3.27 0.95 3.29 1.11 3.23 0.04*
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
2.89 1.17 3.24 1.04 3.47 1.022 6.14 0.00**
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อ
การทำงานและอาชีพ
3.11 0.95 3.17 0.95 3.73 0.82 6.13 0.00**
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพล
ศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโต
และพัฒนาการของมนุษย์
3.66 1.03 3.47 1.09 3.67 0.68 1.62 0.19
สาระที่ 2 ชีวิตและ
ครอบครัว
3.93 0.84 3.73 1.04 4.05 0.88 2.81 0.06
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว
การออกกำลังกาย การเล่น
เกม
4.09 0.93 3.73 1.06 4.05 0.81 6.04 0.00**
สาระที่ 4 การสร้างเสริม
สุขภาพ สมรรถภาพ และ
การป้องกันโรค
3.80 0.93 3.44 0.93 4.00 0.85 9.32 0.00**
สาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
ชีวิต
3.99 0.85 3.74 1.10 3.94 0.88 2.85 0.05*
76
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการ
สื่อสาร
3.19 0.81 3.34 0.88 3.70 1.08 4.88 0.00**
สาระที่ 2 ภาษาและ
วัฒนธรรม
3.65 0.73 3.47 0.97 3.55 0.70 1.86 0.15
สาระที่ 3 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น
3.02 0.83 3.26 1.12 3.64 1.04 5.84 0.00**
สาระที่4 ภาษากับ
ความสัมพันธ์ กับชุมชน
โลก
2.95 0.86 3.24 1.06 3.88 1.17 12.43 0.00**
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
7.1 ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้
ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ จากตารางที่ 7 สามารถแยกเป็น
กลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้9,001 – 20,000 มีระดับ
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์โดยมีค่าเฉลี่ยคือ 3.53 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ น้อยกว่า 9,000 และ20,000
บาทขึ้นไป มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 3 เรขาคณิตโดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.24 และ 3.52 เมื่อเปรียบเทียบระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ของ
ผู้ปกครองพบว่าระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศของนักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ 9,001 –
20,000 บาท มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศดีกว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า
9,000 และ 20,000 บาทขึ้นไปมีดะดับการแสวงหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. ในตาราง มีค่าน้อยกว่า 0.05)
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 และ
รายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 3
77
การฟัง การดูการพูดสูงที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 , 3.70 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ 9,001
– 20,000 บาทมีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 1 การอ่าน
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.81 จากผลการวิเคราะห์ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศด้านรายได้
ครอบครัว มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. ใน
ตาราง มีค่ามากกว่า 0.05 ในทุกสาระของกลุ่มนี้)
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 มีระดับการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อมโดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 รองลงมาคือนักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหา
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีระดับค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.58 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,001 – 20,000 บาทมีระดับการแสวงหา
สารสนเทศสูงสุดใน สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.72 จาก
ผลการวิเคราะห์ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มวิทยาศาสตร์มีความแตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
4) สาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อย
กว่า 9,000 – 20,000 บาท มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในกลุ่มสาระที่
2 หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.57 และ 3.52
ตามลำดับ รองลงนักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่า 20,000 คือ สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.17 สำหรับกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,001 – 20,000 บาทมี
ระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 ทัศนศิลป์โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49
รองลงมาคือนักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 และนักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้
มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุด ในกลุ่มสาระที่ 2 ทัศนศิลป์โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.61, 4.02 จากผลการวิเคราะห์ในกลุ่มนี้ มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่าง
กันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้
น้อยกว่า 9,001 มีการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในสาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัวโดย
มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.80 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 – 20,000 มีระดับการแสวงหา
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 2 การอาชีพ โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71 นักเรียนที่ผู้ปกครอง
ที่มีรายได้มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 4 เทคโนโลยี
78
สารสนเทศ จากผลการวิเคราะห์ ในกลุ่มนี้ มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่าง
มีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า
9,000 และ มากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 3 การเคลื่อนไหว
การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.09, 4.05
รองลงมานักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 – 20,000 มีระดับการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดใน
สาระที่ 5 โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.74 จากผลการวิเคราะห์พบว่านักเรียนในกลุ่มนี้ มีระดับการ
แสวงหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 -
20,000 มีระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.65 และ 3.47 ตามลำดับ นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่า 20,000 มี
ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด คือ สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.88 จากผลการวิเคราะห์นักเรียนในกลุ่มนี้ มีระดับการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 8 แสดงระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับรายได้
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 3.22 0.92 3.70 1.06 4.1 0.83 17.07 0.00**
จากห้องสมุดประชาชน 2.71 1.11 2.74 1.05 2.61 1.07 0.21 0.80
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่างๆ 2.73 1.05 2.94 1.18 3.26 1.08 3.42 0.03*
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.40 1.11 2.42 1.24 2.85 1.41 1.98 0.13
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.43 1.21 2.87 1.34 3.44 1.48 9.90 0.00**
จากห้องแนะแนว 2.74 1.19 2.97 1.22 2.50 1.26 2.96 0.05*
อื่น ๆ . . . . . .
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 4.08 1.04 4.09 1.24 4.00 0.81 0.10 0.90
จากเพื่อน 4.06 1.00 3.84 0.95 3.52 1.05 4.70 0.00**
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 3.64 0.85 3.58 1.19 3.82 0.86 0.80 0.44
79
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.93 1.01 3.23 1.21 3.35 1.12 3.76 0.02*
จากอาจารย์ท่านอื่นใน
โรงเรียน
3.04 1.056 3.10 1.26 3.88 2.54 5.50 0.00**
อื่น ๆ 2.00 0.00 . . . .
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 4.02 1.19 3.90 1.19 3.35 0.91 4.45 0.01**
จากการฟังวิทยุ 3.77 1.26 3.57 1.17 3.79 0.72 1.39 0.24
จากการอ่านหนังสือตำรา 3.26 1.39 3.29 1.14 3.58 1.04 0.98 0.37
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 3.64 1.15 3.30 1.05 3.55 1.05 4.42 0.01**
จากการอ่านวารสาร
นิตยสาร
3.00 1.17 3.47 1.09 3.85 0.78 12.04 0.00**
จากจุลสารทางวิชาการ 2.81 1.11 3.11 0.91 2.79 1.06 4.26 0.00**
จากวีดีทัศน์ประกอบการ
เรียน
2.99 1.18 3.20 1.22 2.94 0.85 1.78 0.16
จากการชมนิทรรศการทาง
วิชาการ
3.14 0.98 3.04 1.19 3.41 0.85 1.67 0.18
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3.49 1.06 3.77 1.00 3.76 1.01 3.27 0.03*
จากสารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ต
3.20 1.14 3.89 0.88 3.55 1.25 19.69 0.00**
อื่น ๆ . . . . . .
ประเภททรัพยากร
สารสนเทศทรัพยากร
สารสนเทศประเภทวัสดุ
ตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 3.68 0.96 3.78 0.81 3.97 0.52 1.67 0.18
หนังสืออ้างอิง 3.15 1.01 3.22 1.07 3.55 0.99 2.01 0.13
วารสารหรือนิตยสาร 3.16 0.96 3.45 0.90 3.85 0.82 9.10 0.00**
หนังสือพิมพ์ 3.51 0.99 3.54 1.22 3.52 0.96 0.03 0.96
จุลสาร 2.55 1.02 3.15 1.02 3.11 1.00 15.42 0.00**
80
ระดับการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กฤตภาค 2.33 1.13 2.85 1.11 2.97 0.90 10.80 0.00**
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 3.83 1.19 3.97 1.15 3.82 1.05 0.67 0.50
โทรทัศน์ 4.18 1.05 4.14 0.98 4.08 0.99 0.15 0.86
คอมพิวเตอร์ 3.86 1.26 4.02 0.98 4.23 1.10 1.82 0.16
วีดีทัศน์ 3.40 1.26 3.52 1.07 3.67 0.87 0.99 0.37
แผนที่ 3.06 1.10 3.41 0.93 3.14 0.78 5.54 0.00**
หุ่นจำลอง 273 1.23 3.16 1.07 3.29 0.62 7.54 0.00**
อื่น ๆ . . 2.00 0.00 . .
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
8.1 ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว
ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามรายได้ครอบครัว จากตารางที่ 8 สามารถ
สรุปได้ ดังนี้
1.) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ในกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
นักเรียนแสวงหาตามรายได้ครอบครัว มากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน โดยผู้ที่มารายได้
ครอบครัวมากกว่า 20,000 บาทจะมีการแสวงหามากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.17 รองลงมาได้แก่
ผู้ที่มีรายได้ 9,001 – 20,000 บาท โดยมีค่าเฉลี่ย 3.70 การแสวงหาสารสนเทศของผู้ที่มีรายได้
มากกว่า 20,000 บาทและผู้ที่มีรายได้ 9,001 - 2 0,000 บาทไม่มีความแตกต่างกัน ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
2.)แหล่งสารสนเทศบุคคล กลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่นักเรียน
แสวงหาตามรายได้ครอบครัว มากที่สุดได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง โดยผู้ที่มารายได้ครอบครัวน้อยกว่า
9,000 - มากกว่า 20,000 บาทจะมีการแสวงหามากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.08, 4.09, 4.00 จาก
ผลการวิเคราะห์ในกลุ่มนี้ไม่มีความแตกต่างกัน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3.)แหล่งสารสนเทศวัสดุ ในกลุ่มนี้มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุผู้ปกครอง
นักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อยกว่า 9,000 - 20,000 มีการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จากการชม
81
รายการโทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 และ 3.90 ตามลำดับ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้
ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ จากวารสารและนิตยสารโดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.85 จากผลการวิเคราะห์การแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่แตกต่างกัน อย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ประเภทของสารสนเทศ
1.) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัวน้อย
กว่า 9,000 ถึงมากกว่า 20,000 ระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ มากที่สุด
ได้แก่ หนังสือทั่วไป โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.68, 3.78 และ 3.97 โดยจะพบว่ามีคะแนนการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2.) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว
น้อยกว่า 9,000 - 20,000 มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียน
แสวงหามากที่สุดได้แก่ โทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 และ 4.14 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้
ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่
แหล่งสารสนเทศจากคอมพิวเตอร์ โดยจะพบว่านักเรียนที่ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ครอบครัว
น้อยกว่า 9,000 - 20,000 และผู้ปกครองที่มีรายได้ครอบครัวมากกว่า 20,000 มีระดับการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุมีตีพิมพ์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ปัญหาในการแสวงหา
ตารางที่ 9 แสดงปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ 2.14 0.99 2.24 0.85 -0.97 0.32
สาระที่ 2 การวัด 2.04 0.96 2.28 0.92 -2.53 0.01**
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.10 0.98 2.24 0.86 -1.48 0.13
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.31 1.08 2.44 0.97 -1.27 0.20
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความ
น่าจะเป็น
2.30 1.15 2.51 0.94 -1.96 0.05*
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
2.14 1.05 2.27 0.93 -1.27 0.20
82
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.01 1.16 2.15 1.08 -1.20 0.22
สาระที่ 2 การเขียน 2.13 1.25 2.29 1.24 -1.25 0.21
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.19 1.13 2.33 1.07 -1.26 0.20
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.22 1.14 2.37 1.11 -1.31 0.18
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม 2.40 1.09 2.53 1.08 -1.18 0.23
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดำรงชีวิต
2.19 1.10 2.49 1.11 -2.62 0.00**
สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2.22 1.17 2.55 1.10 -2.89 0.00**
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร 2.45 1.25 2.58 1.09 -1.12 0.26
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 2.36 1.25 2.50 1.08 -1.15 0.25
สาระที่ 5 พลังงาน 2.38 1.05 2.56 0.93 -1.74 0.08
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
โลก
2.49 1.08 2.66 1.03 -1.60 0.10
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ 2.58 1.88 2.49 1.07 0.54 0.58
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
2.47 1.17 2.66 1.21 -1.56 0.11
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 2.10 1.02 2.27 0.93 -1.70 0.08
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง วัฒนธรรมและ
การดำเนินชีวิตในสังคม
2.12 1.07 2.29 1.04 -1.57 0.11
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.26 0.99 2.36 1.00 -0.92 0.35
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 2.29 1.07 2.49 1.01 -1.93 0.05*
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.37 1.07 2.49 1.02 -1.18 0.23
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 2.28 1.17 2.35 1.00 -0.70 0.48
สาระที่ 2 ดนตรี 2.18 1.08 2.20 1.06 -0.13 0.89
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.39 1.18 2.34 1.08 0.45 0.64
83
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว 2.13 1.26 2.13 1.11 -0.00 0.99
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.21 1.21 2.29 1.19 -0.61 0.54
สาระที่ 3 การออกแบบเทคโนโลยี 2.51 1.21 2.63 1.04 -1.06 0.28
สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.37 1.11 2.45 1.01 -0.74 0.45
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและ
อาชีพ
2.34 1.16 2.54 1.08 -1.69 0.09
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของมนุษย์
2.25 1.18 2.37 1.09 -1.07 0.28
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.29 1.27 2.40 1.22 -0.85 0.39
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย
การเล่นเกม
2.20 1.20 2.20 1.17 0.05 0.95
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ
สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
2.26 1.19 2.30 1.17 -0.31 0.75
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต 2.34 1.29 2.44 1.27 -0.70 0.48
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.48 1.23 2.62 1.08 -1.21 0.22
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 2.52 1.21 2.62 1.07 -0.82 0.41
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น
2.40 1.19 2.43 1.06 -0.29 0.77
สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์ กับชุมชน
โลก
2.38 1.28 2.43 1.17 -0.35 0.72
9.1 ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามเพศ จากตารางที่ 9 สามารถแยกเป็น
กลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
84
ความน่าจะเป็น คะแนนของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายโดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.37 และ 2.49
ตามลำดับ รองลงมาคือสาระที่ 4 พืชคณิตค่าเฉลี่ยของนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.29 และ 2.49 ตามลำดับ และเมื่อมีการเปรียบเทียบระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศจำแนกตามเพศ พบว่าเพศชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศมากกว่า
เพศหญิง โดยเฉพาะในเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น นักเรียนชายมีระดับปัญหาใน
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศมากกว่านักเรียนหญิงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
(พิจารณาจากค่า Sig. (2-tailed) ในตาราง มีค่าน้อยกว่า 0.05)
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทยด้านวรรณคดีและวรรณกรรมสูงที่สุด รองลงมา
คือ ด้านหลักการใช้ภาษา นักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศที่ ไม่มี
ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์คือ สาระที่ 7 เรื่องดาราศาสตร์และอวกาศ โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.58 รองลงมาคือสาระที่ 6 คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ
2.49 ส่วนนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในสาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์ โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.66 รองลงมาคือสาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่
ระดับความเชื่อมั่น 95%
4) กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 และ 2.34 สำหรับกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 3 นาฏศิลป์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.39 และ 2.34
ตามลำดับ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนหญิง
และนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 3 การ
ออกแบบเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 และ 2.63 ตามลำดับ รองลงมาคือ สาระที่ 5
85
เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ กลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนหญิงและนักเรียนชายมี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.34 และ 2.44 กลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชาย มีระดับปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่
ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
2.52 และ 2.62 ตามลำดับ รองลงมาคือ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.48
และ 2.62 ตามลำดับ ในกลุ่มนี้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 10 แสดงปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 1.97 1.04 2.17 1.05 -1.92 0.05*
จากห้องสมุดประชาชน 2.29 1.16 2.40 0.98 -0.99 0.32
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.30 0.97 2.44 0.97 -1.45 0.14
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.37 1.11 2.53 1.17 -1.39 0.16
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.42 1.33 2.54 1.29 -0.89 0.37
จากห้องแนะแนว 2.11 1.05 2.33 1.06 -2.00 0.04*
อื่น ๆ
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.25 1.49 2.32 1.38 -0.43 0.66
จากเพื่อน 1.92 1.18 2.11 1.27 -1.53 0.12
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 2.16 1.27 2.20 1.11 -0.25 0.80
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.16 0.97 2.34 0.94 -1.77 0.07
จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน 2.45 1.40 2.51 1.21 -0.43 0.66
86
ปัญหาในการแสวงหา
เพศหญิง เพศชาย
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
อื่น ๆ 2.00 0.00 2.00 0.00
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 1.96 1.21 2.18 1.20 -1.79 0.07
จากการฟังวิทยุ 2.12 1.27 2.29 1.25 -1.31 0.18
จากการอ่านหนังสือตำรา 1.91 1.03 1.96 1.00 -0.51 0.60
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 1.85 1.00 1.89 0.93 -0.40 0.68
จากการอ่านวารสาร นิตยสาร 2.09 1.11 2.26 1.19 -1.40 0.16
จากจุลสารทางวิชาการ 2.15 1.00 2.30 1.01 -1.39 0.16
จากวีดีทัศน์ประกอบการเรียน 2.12 1.01 2.22 1.05 -0.88 0.37
จากการชมนิทรรศการทางวิชาการ 1.94 1.07 2.25 1.11 -2.77 0.00**
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรม 2.15 1.14 2.40 1.10 -2.18 0.02*
จากสารสนเทศบน อินเทอร์เน็ต 2.12 1.15 2.26 1.20 -1.16 0.24
อื่น ๆ . . . .
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 1.99 1.09 2.10 1.17 -0.97 0.32
หนังสืออ้างอิง 2.00 1.19 2.29 1.14 -2.44 0.01**
วารสารหรือนิตยสาร 2.08 1.10 2.14 1.10 -0.52 0.60
หนังสือพิมพ์ 1.98 1.12 2.15 1.08 -1.54 0.12
จุลสาร 2.17 1.18 2.36 1.10 -1.62 0.10
กฤตภาค 2.05 1.15 2.28 1.17 -1.92 0.05*
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 2.03 1.28 2.24 1.34 -1.51 0.12
โทรทัศน์ 1.98 1.30 2.13 1.32 -1.06 0.28
คอมพิวเตอร์ 2.25 1.30 2.40 1.24 -1.12 0.26
วีดีทัศน์ 2.18 1.16 2.24 1.14 -0.47 0.63
แผนที่ 2.15 1.11 2.23 1.03 -0.70 0.48
หุ่นจำลอง 2.27 1.23 2.44 1.28 -1.33 0.18
อื่น ๆ 1.50 0.92 1.22 0.66 0.71 0.48
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
87
10.2 ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามเพศ
ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามเพศ จากตารางที่ 10 สามารถสรุป
ได้ ดังนี้
1) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
นักเรียนมีปัญหามากที่สุดได้แก่ หอสมุดแห่งชาติ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.42 และ 2.54 ในนักเรียน
หญิงและนักเรียนชายตามลำดับ แหล่งสารสนเทศสถานที่นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีปัญหา
เป็นอันดับสองได้แก่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมีคะแนน
ปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ไม่แตกต่างกันมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) แหล่งสารสนเทศบุคคล ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลที่นักเรียน
หญิงและนักเรียนชายมีปัญหามากที่สุดได้แก่ จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
2.45 และ 2.51 ตามลำดับ จะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมีปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศบุคคลไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) แหล่งสารสนเทศวัสดุ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียน
หญิงและนักเรียนชายมีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จากจุลสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ2.15
และ 2.30 ในนักเรียนหญิงและนักเรียนชายตามลำดับ โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมี
ปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์ที่นักเรียนหญิงมีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จุลสาร โดยมีค่าเฉลี่ย
2.05 และ 2.36 รองลงมาได้แก่แหล่งสารสนเทศจากกฤตภาค โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียน
ชายมีปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนมีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หุ่นจำลอง โดย
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.27 และ 2.446 ในนักเรียนหญิงและนักเรียนชายตามลำดับ รองลงมาได้แก่แหล่ง
สารสนเทศจาก แผนที่ โดยจะพบว่านักเรียนหญิงกับนักเรียนชายมีปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
88
ตารางที่ 11 แสดงปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ปัญหาในการแสวงหา
ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ 2.19 0.92 2.19 0.93 0.05 0.95
สาระที่ 2 การวัด 2.17 0.96 2.14 0.93 0.32 0.74
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.23 0.94 2.08 0.90 1.54 0.12
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.36 1.00 2.39 1.06 -0.27 0.78
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความ
น่าจะเป็น
2.44 1.05 2.35 1.07 0.86 0.38
สาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
2.24 0.97 2.17 1.02 0.65 0.51
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.12 1.16 2.03 1.06 0.77 0.43
สาระที่ 2 การเขียน 2.27 1.30 2.13 1.16 1.09 0.27
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.28 1.11 2.24 1.09 0.36 0.71
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.32 1.15 2.26 1.09 0.50 0.61
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม 2.54 1.10 2.35 1.05 1.63 0.10
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดำรงชีวิต
2.36 1.12 2.31 1.10 0.46 0.64
สาระที่ 2 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2.42 1.17 2.34 1.11 0.66 0.50
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร 2.55 1.16 2.48 1.19 0.58 0.55
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 2.46 1.17 2.38 1.17 0.69 0.48
สาระที่ 5 พลังงาน 2.49 0.96 2.44 1.04 0.45 0.65
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
โลก
2.60 1.03 2.54 1.11 0.54 0.58
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ 2.54 1.72 2.52 1.17 0.14 0.88
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
2.59 1.23 2.54 1.14 0.37 0.70
89
ปัญหาในการแสวงหา
ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 2.18 0.98 2.20 0.99 -0.20 0.83
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง วัฒนธรรมและ
การดำเนินชีวิตในสังคม
2.24 1.09 2.17 1.02 0.61 0.53
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.28 0.95 2.37 1.06 -0.87 0.38
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 2.38 1.02 2.41 1.08 -0.22 0.82
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.43 1.04 2.43 1.06 -0.01 0.98
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 2.31 1.05 2.32 1.14 -0.09 0.92
สาระที่ 2 ดนตรี 2.21 1.05 2.16 1.09 0.48 0.62
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.40 1.12 2.32 1.15 0.70 0.48
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว 2.14 1.21 2.12 1.17 0.22 0.82
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.31 1.25 2.17 1.13 1.10 0.27
สาระที่ 3 การออกแบบเทคโนโลยี 2.60 1.12 2.52 1.14 0.71 0.47
สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.43 1.07 2.39 1.05 0.39 0.69
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและ
อาชีพ
2.47 1.12 2.41 1.12 0.54 0.58
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของมนุษย์
2.33 1.15 2.29 1.12 0.32 0.74
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.38 1.27 2.30 1.20 0.56 0.56
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย
การเล่นเกม
2.23 1.17 2.15 1.21 0.66 0.50
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ
สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
2.31 1.20 2.23 1.15 0.63 0.52
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต 2.43 1.31 2.33 1.22 0.79 0.42
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.57 1.15 2.51 1.18 0.49 0.62
90
ปัญหาในการแสวงหา
ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 2.54 1.12 2.60 1.18 -0.50 0.61
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น
2.41 1.12 2.42 1.14 -0.14 0.88
สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์ กับชุมชน
โลก
2.42 1.24 2.38 1.20 0.32 0.74
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต 2.43 1.31 2.33 1.22 0.79 0.42
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2.57 1.15 2.51 1.18 0.49 0.62
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม 2.54 1.12 2.60 1.18 -0.50 0.61
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น
2.41 1.12 2.42 1.14 -0.14 0.88
สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์ กับชุมชน
โลก
2.42 1.24 2.38 1.20 0.32 0.74
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
11.1 ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน จากตารางที่ 11
สามารถแยกเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การ
วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น ค่าเฉลี่ยของโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่
โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.44 และ 2.35 ตามลำดับ รองลงมาคือสาระที่ 4 พีชคณิต โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ ของโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.36 และ 2.39
ตามลำดับ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. (2-tailed) ใน
ตาราง มีค่าน้อยกว่า 0.05)
91
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.54 และ 2.35 โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่
ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (พิจารณาจากค่า Sig. (2-tailed) ใน
ตาราง มีค่ามากกว่า 0.05 ในทุกสาระของกลุ่มนี้)
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์เหมือนกันคือ สาระที่ 8
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.59 และ 2.54 กลุ่มนี้โรงเรียน
ขนาดขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศไม่แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
4) กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและ
โรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 5
ภูมิศาสตร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.43 และ 2.43 สำหรับกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียน
ขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ ในสาระที่ 3 นาฏศิลป์ โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.40 และ 2.32 ตามลำดับ ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับ
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่าโรงเรียน
ขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด
เหมือนกันคือ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.43 และ 2.33
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่
พิเศษระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.43 , 2.33 กลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศสาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.57 และโรงเรียนขนาดใหญ่มี
92
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดเหมือนกันคือ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 ในกลุ่มนี้โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาใน
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 12 แสดงปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ปัญหาในการแสวงหา
ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 2.09 1.08 2.05 1.01 0.41 0.68
จากห้องสมุดประชาชน 2.42 1.06 2.23 1.08 1.74 0.08
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.42 0.97 2.30 0.98 1.22 0.22
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.50 1.14 2.37 1.13 1.15 0.24
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.56 1.34 2.36 1.27 1.46 0.14
จากห้องแนะแนว 2.25 1.07 2.17 1.05 0.71 0.47
อื่น ๆ 9.00 0.00 9.00 0.00
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.32 1.47 2.24 1.39 0.54 0.58
จากเพื่อน 2.07 1.27 1.93 1.16 1.08 0.27
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 2.14 1.16 2.23 1.23 -0.70 0.47
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.32 0.95 2.16 0.96 1.53 0.12
จากอาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียน 2.53 1.30 2.41 1.30 0.91 0.35
อื่น ๆ 2.00 0.00 2.00 0.00
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 2.11 1.23 2.02 1.18 0.73 0.46
จากการฟังวิทยุ 2.29 1.30 2.08 1.21 1.58 0.11
จากการอ่านหนังสือตำรา 1.95 1.00 1.92 1.04 0.20 0.83
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 1.89 0.98 1.85 0.94 0.41 0.67
จากการอ่านวารสาร นิตยสาร 2.26 1.18 2.05 1.10 1.71 0.08
จากจุลสารทางวิชาการ 2.28 1.02 2.14 0.98 1.35 0.17
จากวีดีทัศน์ประกอบการเรียน 2.21 1.03 2.10 1.03 1.02 0.30
93
ปัญหาในการแสวงหา
ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
t Sig.
(2-tailed)
จากการชมนิทรรศการทางวิชาการ 2.17 1.14 1.99 1.02 1.62 0.10
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.30 1.15 2.24 1.10 0.53 0.59
จากสารสนเทศบน อินเทอร์เน็ต 2.28 1.21 2.07 1.12 1.66 0.09
อื่น ๆ . . . .
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 2.04 1.17 2.06 1.07 -0.17 0.86
หนังสืออ้างอิง 2.17 1.16 2.11 1.20 0.45 0.65
วารสารหรือนิตยสาร 2.11 1.15 2.11 1.02 -0.01 0.99
หนังสือพิมพ์ 2.10 1.15 2.01 1.04 0.78 0.43
จุลสาร 2.29 1.17 2.24 1.10 0.45 0.64
กฤตภาค 2.18 1.17 2.15 1.15 0.28 0.77
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่
ตีพิมพ์
วิทยุ 2.20 1.38 2.05 1.21 1.09 0.27
โทรทัศน์ 2.10 1.37 2.00 1.24 0.68 0.49
คอมพิวเตอร์ 2.36 1.29 2.26 1.24 0.74 0.45
วีดีทัศน์ 2.23 1.19 2.18 1.08 0.38 0.69
แผนที่ 2.21 1.08 2.16 1.07 0.39 0.69
หุ่นจำลอง 2.37 1.27 2.34 1.24 0.20 0.83
อื่น ๆ 1.00 0.00 2.00 1.09 -3.11 0.00**
* มีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
12.1 ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน
ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน จากตารางที่ 12
สามารถสรุปได้ ดังนี้
1) แหล่งสารสนเทศสถานที่ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศสถานที่ที่
นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หอสมุดแห่งชาติ โดย
94
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.56 ส่วนนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศสถานที่มากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 โดยจะพบว่า
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสถานที่
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) แหล่งสารสนเทศบุคคล ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลที่นักเรียน
ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จาก
อาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.53 และ 2.41 ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและ
โรงเรียนขนาดใหญ่ตามลำดับ โดยจะพบว่านักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับนักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่มีค่าเฉลี่ย การแสวงหาแหล่งสารสนเทศบุคคลไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) แหล่งสารสนเทศวัสดุ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุที่นักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ จาก
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.30 และ 2.24 ตามลำดับ แหล่งสารสนเทศวัสดุที่
นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1.ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการ
แสวงหามากที่สุดได้แก่ จุลสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.29 และ 2.24 โดยจะพบว่านักเรียนใน
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มี
ปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หุ่นจำลอง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 และ 2.34 ตามลำดับ
โดยจะพบว่านักเรียนโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
95
ตารางที่ 13 แสดงปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการ
ดำเนินการ
2.50 0.52 2.16 0.89 2.21 0.98 0.66 0.51
สาระที่ 2 การวัด 2.70 0.48 2.26 0.94 1.99 0.95 5.37 0.00**
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.80 0.42 2.20 0.98 2.07 0.85 3.28 0.03*
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.90 0.73 2.48 1.11 2.20 0.88 4.75 0.00**
สาระที่ 5 การวิเคราะห์
ข้อมูลและความน่าจะเป็น
2.70 0.48 2.29 1.08 2.55 1.02 3.08 0.04*
สาระที่ 6 ทักษะ/
กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
3.70 0.48 2.14 0.98 2.21 0.95 12.39 0.00*
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.70 0.48 2.25 1.18 1.81 0.99 8.79 0.00**
สาระที่ 2 การเขียน 3.30 0.82 2.37 1.28 1.92 1.14 9.98 0.00**
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.90 1.10 2.41 1.20 2.01 0.88 7.67 0.00**
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.10 0.73 2.48 1.17 2.05 1.03 6.86 0.00**
สาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม
2.50 0.52 2.46 1.10 2.47 1.09 0.00 0.99
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดำรงชีวิต
2.80 1.31 2.44 1.12 2.17 1.07 3.54 0.02
สาระที่ 2 ชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
2.50 0.52 2.53 1.10 2.18 1.21 4.41 0.01**
สาระที่ 3 สารและสมบัติ
ของสาร
2.30 0.82 2.61 1.26 2.40 1.05 1.55 0.21
สาระที่ 4 แรงและการ
เคลื่อนที่
2.60 0.84 2.46 1.22 2.37 1.10 0.37 0.68
96
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
สาระที่ 5 พลังงาน 2.30 0.82 2.36 0.99 2.64 0.99 3.63 0.02*
สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
2.60 0.84 2.40 0.98 2.82 1.14 7.10 0.00**
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และ
อวกาศ
2.30 0.82 2.30 1.00 2.89 2.03 7.25 0.00**
สาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.30 0.82 2.51 1.14 2.67 1.28 1.09 0.33
กลุ่มสาระสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม
2.50 0.52 2.21 0.98 2.14 1.00 0.73 0.48
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง
วัฒนธรรมและการดำเนิน
ชีวิตในสังคม
2.90 1.10 2.10 1.05 2.32 1.05 4.15 0.01**
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.30 0.82 2.25 0.91 2.41 1.11 1.24 0.28
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 3.10 1.19 2.25 0.93 2.55 1.14 6.13 0.00**
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.60 0.84 2.37 1.01 2.50 1.10 0.81 0.44
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 3.50 0.52 2.23 0.97 2.36 1.21 6.82 0.00**
สาระที่ 2 ดนตรี 3.10 0.73 2.07 0.83 2.29 1.32 5.72 0.00**
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.30 0.82 2.39 0.99 2.34 1.33 0.09 0.90
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
2.50 0.52 2.01 0.97 2.28 1.45 2.77 0.06
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.90 1.10 2.23 1.11 2.24 1.32 1.47 0.23
สาระที่ 3 การออกแบบ
เทคโนโลยี
3.30 0.48 2.40 1.15 2.76 1.08 6.79 0.00**
97
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
2.80 0.42 2.27 1.09 2.59 1.01 4.69 0.00**
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อ
การทำงานและอาชีพ
2.70 0.48 2.36 1.17 2.55 1.07 1.53 0.21
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพล
ศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโต
และพัฒนาการของมนุษย์
2.80 0.42 2.28 1.13 2.33 1.17 0.98 0.37
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.70 0.48 2.37 1.17 2.29 1.37 0.55 0.57
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว
การออกกำลังกาย การเล่น
เกม
2.80 1.31 2.19 1.13 2.18 1.26 1.29 0.27
สาระที่ 4 การสร้างเสริม
สุขภาพ สมรรถภาพ และ
การป้องกันโรค
2.80 0.42 2.19 1.19 2.37 1.19 2.04 0.13
สาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
ชีวิต
2.50 0.52 2.38 1.34 2.40 1.22 0.04 0.95
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการ
สื่อสาร
2.60 0.84 2.39 1.21 2.77 1.07 5.03 0.00**
สาระที่ 2 ภาษาและ
วัฒนธรรม
3.30 0.48 2.38 1.11 2.79 1.16 7.98 0.00**
สาระที่ 3 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น
2.30 0.48 2.28 1.11 2.62 1.14 4.26 0.01**
สาระที่4 ภาษากับ
ความสัมพันธ์ กับชุมชนโลก
1.80 0.42 2.22 1.22 2.70 1.19 8.56 0.00**
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
98
13.1 ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามขนาดผลการศึกษา จากตารางที่
13 สามารถแยกเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์สูงที่สุดในสาระที่ 5 การ
วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็นโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.55 นักเรียนมีระดับผลการศึกษาเฉลี่ย
1.00 – 3.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสูงสุดในสาระที่ 4 พีชคณิต เมื่อเปรียบเทียบระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามระดับผลการเรียนพบว่าระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3.51 – 4.00 และนักเรียนที่มีระดับผล
การศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 3.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –2.50มีระดับปัญหาใน
การแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 2 การเขียนสูงที่สุด โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30 นักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 –3.50 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่ม
สาระที่ 4 คือ ด้านหลักการใช้ภาษา โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ2.84 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 –
4.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ ในกลุ่มสาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม จากผลการ
วิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศเนื้อหาสารสนเทศด้านผลการศึกษา มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –2.50 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดำรงชีวิตโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.80 นักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 –3.50 มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.61 และ
นักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51–4.00 มีปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 7 ดารา
ศาสตร์และอวกาศ นักเรียนที่มีผลการเรียน 1.00 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ
โดยมีคะแนนด้านเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
4).กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00–
2.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ
สูงสุดในกลุ่มสาระที่ 4 ประวัติศาสตร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.10 , 2.55 นักเรียนที่มีผลการศึกษา
เฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุด ในสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
99
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 สำหรับกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่ม
สาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 –3.50 และนักเรียนที่มีผล
การศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 โดยมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50, 2.36 นักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 – 3.50มีรับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศมากที่สุดในกลุ่มสาระที่ 3 นาฏศิลป์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.39 พบว่านักเรียนที่มีผล
การศึกษา1.00 –2.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 และนักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 –
3.50 มีปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับโรงเรียนกลุ่มนี้ พบว่านักเรียนที่มี
ผลการศึกษา 1.00 – 4.00 มีปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 3 การ
ออกแบบเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30, 2.40, 2.76 ตามลำดับ สำหรับกลุ่มนี้มีระดับปัญหา
ในการแสวงหาสารสเทศที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรียนที่มีผลการศึกษา 1.00 – 2.50 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดคือ สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
มนุษย์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.80 นักเรียนที่มีผลการศึกษา 2.51 – 4.00 มีปัญหาในการแสวงหา
เนื้อหาสารสนเทศสูงสุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38, 2.40 จากผลการวิเคราะห์พบว่านักเรียนที่มีผล
การเรียน 1.00 – 2.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 2.51 – 4.00มีระดับปัญหาในการแสวงหา
สารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ พบว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา1.00 – 3.50 มีปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อสารสนเทศสูงสุดในกลุ่มสาระที่ 1 ภาษเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60, 2.39
และนักเรียนที่มีผลการศึกษา 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศสูงสุดใน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.79 ในกลุ่มนี้พบว่านักเรียนที่มีผลการศึกษา
1.00 – 3.50 และนักเรียนที่มีผลการเรียน 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
100
ตารางที่ 14 แสดงปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามผลการศึกษา
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 2.60 0.96 2.15 1.02 1.92 1.08 3.46 0.03*
จากห้องสมุดประชาชน 2.10 0.73 2.30 1.04 2.42 1.13 0.80 0.44
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.00 0.00 2.30 0.92 2.49 1.06 2.38 0.09
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.10 0.73 2.54 1.12 2.35 1.18 1.74 0.17
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.40 1.17 2.52 1.28 2.43 1.38 0.22 0.80
จากห้องแนะแนว 2.40 1.17 2.19 1.00 2.26 1.13 0.36 0.69
อื่น ๆ
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.30 0.82 2.18 1.31 2.44 1.62 1.55 0.21
จากเพื่อน 2.30 0.48 2.08 1.28 1.90 1.17 1.28 0.27
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 3.50 0.52 2.10 1.14 2.21 1.25 6.81 0.00**
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.10 0.73 2.27 0.90 2.24 1.05 0.20 0.81
จากอาจารย์ท่านอื่นใน
โรงเรียน
2.70 0.82 2.22 1.02 2.84 1.58 10.88 0.00**
อื่น ๆ . . 2.00 0.00 . .
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 2.90 0.73 2.24 1.32 1.79 0.98 9.04 0.00**
จากการฟังวิทยุ 3.00 1.05 2.26 1.31 2.08 1.18 2.95 0.05*
จากการอ่านหนังสือตำรา 2.10 0.73 2.00 1.09 1.85 0.92 1.08 0.33
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 2.20 0.42 1.86 0.97 1.87 0.97 0.57 0.56
จากการอ่านวารสาร
นิตยสาร
2.40 1.17 2.23 1.08 2.08 1.26 0.96 0.38
จากจุลสารทางวิชาการ 1.80 0.42 2.25 1.05 2.22 0.97 0.99 0.36
จากวีดีทัศน์ประกอบการ
เรียน
2.10 0.73 2.26 1.07 2.05 0.97 1.93 0.14
จากการชมนิทรรศการทาง
วิชาการ
2.20 0.42 2.08 1.20 2.12 0.97 0.08 0.91
101
ระดับการแสวงหา
1.00-2.50 2.51-3.50 3.51-4.00
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.50 0.52 2.32 1.21 2.20 1.03 0.65 0.51
จากสารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ต
1.80 0.42 2.14 1.23 2.29 1.12 1.35 0.26
อื่น ๆ . . . . . .
ประเภททรัพยากร
สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 3.10 0.73 2.03 1.13 2.00 1.13 4.49 0.01**
หนังสืออ้างอิง 1.80 0.42 2.19 1.12 2.11 1.28 0.65 0.51
วารสารหรือนิตยสาร 2.10 0.73 2.07 1.01 2.16 1.24 0.31 0.73
หนังสือพิมพ์ 2.70 0.48 2.04 0.96 2.07 1.30 1.70 0.18
จุลสาร 2.40 1.17 2.37 1.19 2.12 1.06 2.30 0.10
กฤตภาค 2.10 0.73 2.38 1.23 1.87 1.01 9.03 0.00**
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 3.00 0.00 2.27 1.33 1.88 1.28 6.25 0.00**
โทรทัศน์ 3.20 0.42 2.15 1.28 1.86 1.36 6.11 0.00**
คอมพิวเตอร์ 2.70 0.48 2.45 1.25 2.12 1.32 3.33 0.03*
วีดีทัศน์ 2.80 0.42 2.39 1.23 1.91 0.99 9.55 0.00**
แผนที่ 1.80 0.42 2.28 1.15 2.09 0.97 2.12 0.12
หุ่นจำลอง 2.10 0.73 2.49 1.24 2.18 1.28 2.94 0.05*
อื่น ๆ . . 3.00 0.00 1.00 0.00
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 *มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
102
14.1 ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับผลการศึกษา
ระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกระดับผลการศึกษา จากตารางที่ 14
สามารถสรุปได้ ดังนี้
1) แหล่งสารสนเทศสถานที่ นักเรียนมีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศ
สถานที่ที่นักเรียนแสวงหาตามระดับผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 ที่นักเรียนมีปัญหาในการ
แสวงหามากที่สุดได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 นักเรียนที่มีผลการศึกษา
เฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสถานที่ได้แก่ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.54 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศสถานที่ ได้แก่ ห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ จากผลการวิเคราะห์จำแนกตามระดับผล
การศึกษาปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศสถานที่มีแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95%
2) แหล่งสารสนเทศบุคคล นักเรียนที่มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคล
นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคลได้แก่
จากอาจารย์ที่ปรึกษาโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.5000 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคลได้แก่ บรรณารักษ์ห้องสมุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.27
นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศบุคคล ได้แก่
จาก อาจารย์ท่านอื่นในโรงเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.84 โดยจะพบว่านักเรียนมีระดับปัญหาใน
การแสวงหาสารสนเทศบุคคลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) แหล่งสารสนเทศวัสดุ นักเรียนที่มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศวัสดุ
นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จากการฟังวิทยุ โดยมี
คะแนนเท่ากับ 3.0000 นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.32 นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 – 4.00 นักเรียน
มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศวัสดุที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ
1) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ นักเรียนที่มีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่ง
สารสนเทศวัสดุนักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา ได้แก่ จาก
หนังสือทั่วไป โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.10 นักเรียนมีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีระดับปัญหาใน
การแสวงหา ได้แก่ จากกฤตภาค โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 3.51 –
103
4.00 ได้แก่ วารสารและนิตยสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.16 จากการวิเคราะห์พบว่าระดับปัญหาใน
การแสวงหาสารสนเทศประเภทวัสดุสิ่งตีพิมพ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
2) ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ นักเรียนมีระดับปัญหาในการแสวงหา
แหล่งสารสนเทศวัสดุนักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 1.00 – 2.50 มีระดับปัญหาในการแสวงหา
ได้แก่ จากโทรทัศน์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.2000 นักเรียนที่มีผลการศึกษาเฉลี่ย 2.51 – 4.00 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหามากที่สุดได้แก่ หุ่นจำลอง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.49 และ 2.18 โดยในกลุ่มนี้
พบว่ามีระดับปัญหาในการแสวงหาแหล่งสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
ตารางที่ 15 แสดงระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามระดับรายได้
ปัญหาในการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการ
ดำเนินการ
1.91 0.89 2.35 0.88 2.44 1.05 11.70 0.00**
สาระที่ 2 การวัด 2.04 0.98 2.23 0.94 2.23 0.85 1.80 0.16
สาระที่ 3 เรขาคณิต 2.04 0.95 2.28 0.87 2.02 1.08 3.18 0.04*
สาระที่ 4 พีชคณิต 2.44 1.07 2.30 0.98 2.55 1.10 1.28 0.27
สาระที่ 5 การวิเคราะห์
ข้อมูลและความน่าจะเป็น
2.53 1.15 2.35 1.00 2.20 0.88 1.85 0.15
สาระที่ 6 ทักษะ/
กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
2.09 1.06 2.36 0.95 1.79 0.72 6.62 0.00**
กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน 2.09 0.98 2.06 1.22 2.14 1.04 0.08 0.92
สาระที่ 2 การเขียน 2.20 1.14 2.22 1.29 2.26 1.42 0.04 0.95
สาระที่ 3 การฟัง ดู พูด 2.21 1.06 2.26 1.05 2.52 1.52 1.12 0.32
104
ปัญหาในการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา 2.10 0.98 2.41 1.13 2.47 1.54 3.77 0.02*
สาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรม
2.37 0.84 2.54 1.18 2.41 1.37 1.13 0.32
กลุ่มวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดำรงชีวิต
2.48 1.09 2.24 1.09 2.38 1.25 1.97 0.14
สาระที่ 2 ชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
2.40 1.07 2.41 1.16 2.23 1.39 0.35 0.70
สาระที่ 3 สารและสมบัติ
ของสาร
2.46 1.11 2.54 1.13 2.67 1.60 0.50 0.60
สาระที่ 4 แรงและการ
เคลื่อนที่
2.34 1.21 2.53 1.11 2.23 1.25 1.63 0.19
สาระที่ 5 พลังงาน 2.48 1.01 2.45 0.91 2.52 1.37 0.09 0.91
สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก
2.57 0.92 2.62 1.12 2.29 1.24 1.44 0.23
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และ
อวกาศ
2.73 2.01 2.43 1.10 2.35 1.27 1.89 0.15
สาระที่ 8 ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.50 1.16 2.62 1.17 2.55 1.48 0.43 0.64
กลุ่มสาระสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม
2.16 0.88 2.20 1.04 2.23 1.04 0.10 0.90
สาระที่ 2 หน้าที่พล เมือง
วัฒนธรรมและการดำเนิน
ชีวิตในสังคม
2.10 1.07 2.28 1.02 2.23 1.18 1.28 0.27
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 2.17 0.76 2.38 1.07 2.52 1.33 2.78 0.06
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ 2.26 1.08 2.42 0.91 2.76 1.45 3.44 0.03*
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 2.51 0.95 2.40 1.09 2.32 1.17 0.67 0.50
105
ปัญหาในการแสว งหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 2.19 1.13 2.33 0.97 2.79 1.40 4.27 0.01**
สาระที่ 2 ดนตรี 1.93 0.87 2.26 1.03 2.88 1.60 12.46 0.00**
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 2.22 1.07 2.39 1.09 2.85 1.45 4.32 0.01**
กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและ
ครอบครัว
1.94 1.01 2.12 1.19 3.05 1.45 12.77 0.00**
สาระที่ 2 การอาชีพ 2.14 1.21 2.23 1.16 2.85 1.30 4.91 0.00**
สาระที่ 3 การออกแบบ
เทคโนโลยี
2.51 1.18 2.59 1.03 2.76 1.43 0.72 0.48
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
2.44 1.13 2.34 0.94 2.73 1.37 2.11 0.12
สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อ
การทำงานและอาชีพ
2.47 1.22 2.34 0.94 2.97 1.50 4.71 0.00**
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพล
ศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโต
และพัฒนาการของมนุษย์
2.28 1.19 2.23 1.04 2.97 1.29 6.34 0.00**
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว 2.27 1.20 2.31 1.22 2.88 1.45 3.47 0.03*
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว
การออกกำลังกาย การเล่น
เกม
2.08 1.18 2.19 1.12 2.76 1.47 4.60 0.01**
สาระที่ 4 การสร้างเสริม
สุขภาพ สมรรถภาพ และ
การป้องกันโรค
2.18 1.22 2.23 1.09 3.00 1.32 7.09 0.00**
สาระที่ 5 ความปลอดภัยใน
ชีวิต
2.12 1.06 2.44 1.30 3.23 1.55 11.32 0.00**
106
ปัญหาในการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
เนื้อหาสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการ
สื่อสาร
2.26 1.02 2.62 1.14 3.32 1.42 12.97 0.00**
สาระที่ 2 ภาษาและ
วัฒนธรรม
2.50 1.05 2.51 1.13 3.23 1.41 6.37 0.00**
สาระที่ 3 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น
2.23 0.89 2.38 1.12 3.41 1.51 16.34 0.00**
สาระที่4 ภาษากับ
ความสัมพันธ์ กับชุมชนโลก
2.13 1.16 2.41 1.10 3.50 1.54 18.60 0.00**
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
15.1 ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้
ระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ จากตารางที่ 15 สามารถแยกเป็น
กลุ่มต่างๆ ดังนี้
1) กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ผลปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า9,000 มีระดับ
ปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในกลุ่มสาระที่ 5 การวิเคราะห์
ข้อมูลและความน่าจะเป็น โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.53 นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ 9,001 – 20,000
มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในกลุ่มสาระที่ 6 ทักษะ/
กระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.36 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ มากกว่า
20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 พีชคณิตโดยมีค่าเฉลี่ยคือ
2.5588 เมื่อเปรียบเทียบระดับการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศจำแนกตามรายได้ของผู้ปกครองพบว่า
นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่างกันมีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
2) กลุ่มสาระภาษาไทย ผลปรากฏว่านักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000
มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 5 วรรณคดีและ
วรรณกรรมโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 ,2.54 ผู้ปกครองนักเรียนที่มีรายได้ มากกว่า 20,000 บาทมี
107
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระภาษาไทย ด้านสาระที่ 3 การฟัง การดู
และการพูด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.52 จากผลการวิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศด้านรายได้ครอบครัว มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มวิทยาศาสตร์ คือ สาระที่ 6 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.57, 2.62 นักเรียนที่ผู้ปกครองมีรายได้มากกว่า
20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร จากผล
การวิเคราะห์ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มวิทยาศาสตร์มีความแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
4) สาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อย
กว่า 9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ ในกลุ่มสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ โดยมี
ระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - 20,000 คือมีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.42, 2.76
สำหรับกลุ่มนี้มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
5) กลุ่มสาระศิลปะ ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 นาฏศิลป์โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.22,
2.39 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้มากกว่ากว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศ
ในกลุ่มสาระที่ 2 ทัศนศิลป์โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.88 จากผลการวิเคราะห์ในกลุ่มนี้ มีระดับปัญหา
ในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
6) กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้
น้อยกว่า 9,000 – 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 3 การ
ออกแบบและเทคโนโลยี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51, 2.59 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ มากกว่า
20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและ
อาชีพ โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.97 จากผลการวิเคราะห์ ในกลุ่มนี้ มีระดับปัญหาในการ
แสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
7) กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า
9,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของมนุษย์ โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.28 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - มากกว่า 20,000
มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 5 โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.44, 3.23 จากผล
108
การวิเคราะห์พบว่านักเรียนในกลุ่มนี้ มีระดับปัญหาในการแสวงหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8) กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศในกลุ่มนี้นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้น้อยกว่า 9,000 มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศ ในกลุ่ม สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 2.50 นักเรียนที่ผู้ปกครองที่มีรายได้ 9,001 - 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหา
สารสนเทศในกลุ่ม สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.62 นักเรียนที่ผู้ปกครองมี
รายได้มากกว่า 20,000 มีระดับปัญหาในการแสวงเนื้อหาสารสนเทศในกลุ่มสาระที่ 4 ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 จากผลการวิเคราะห์นักเรียนในกลุ่มนี้ มี
ระดับปัญหาในการแสวงหาเนื้อหาสารสนเทศที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น
95%
ตารางที่ 16 แสดงระดับการแสวงหาแหล่งสารสนเทศจำแนกตามระดับรายได้
ปัญหาในการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
แหล่งสารสนเทศสถานที่
จากห้องสมุดโรงเรียน 1.95 0.93 2.12 1.03 2.35 1.49 2.39 0.09
จากห้องสมุดประชาชน 2.04 1.16 2.55 0.97 2.41 0.98 10.06 0.00**
จากห้องสมุดหมวดวิชาต่าง ๆ 2.30 0.99 2.41 0.96 2.41 0.98 0.62 0.53
จากห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2.20 0.97 2.60 1.20 2.58 1.28 5.52 0.00**
จากหอสมุดแห่งชาติ 2.15 1.09 2.68 1.39 2.67 1.42 7.69 0.00**
จากห้องแนะแนว 2.20 0.99 2.28 1.08 1.94 1.17 1.59 0.20
อื่น ๆ . .
แหล่งสารสนเทศบุคคล
จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 2.08 1.27 2.45 1.54 2.17 1.33 3.03 0.04*
จากเพื่อน 1.97 1.23 2.04 1.21 2.02 1.31 0.16 0.84
จากอาจารย์ที่ปรึกษา 2.16 0.92 2.16 1.30 2.38 1.49 0.50 0.60
จากบรรณารักษ์ห้องสมุด 2.26 0.90 2.21 0.93 2.50 1.30 1.28 0.27
จากอาจารย์ท่านอื่นใน
โรงเรียน
2.30 0.88 2.36 1.05 4.00 2.64 28.74 0.00**
109
ปัญหาในการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
อื่น ๆ 2.00 0.00 . . . .
แหล่งสารสนเทศวัสดุ
จากการชมรายการโทรทัศน์ 1.99 1.10 2.15 1.29 2.02 1.14 0.75 0.47
จากการฟังวิทยุ 2.15 1.24 2.25 1.25 2.20 1.43 0.30 0.74
จากการอ่านหนังสือตำรา 1.90 0.98 1.96 1.06 1.97 0.96 0.17 0.84
จากการอ่านหนังสือพิมพ์ 1.98 1.02 1.80 0.92 1.82 0.96 1.47 0.22
จากการอ่านวารสาร
นิตยสาร
2.30 1.02 2.08 1.22 2.20 1.27 1.48 0.22
จากจุลสารทางวิชาการ 2.14 0.84 2.33 1.07 2.00 1.20 2.44 0.08
จากวีดีทัศน์ประกอบการ
เรียน
2.36 1.01 2.07 0.99 1.94 1.20 4.30 0.01**
จากการชมนิทรรศการทาง
วิชาการ
1.89 1.01 2.28 1.15 1.91 0.96 5.92 0.00**
จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.24 1.16 2.33 1.12 2.14 1.01 0.53 0.58
จากสารสนเทศบน
อินเทอร์เน็ต
2.23 1.09 2.21 1.26 1.94 0.91 0.89 0.40
อื่น ๆ . . . . . .
ประเภททรัพยากร
สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุตีพิมพ์
หนังสือทั่วไป 2.01 1.05 2.07 1.19 2.05 1.09 0.13 0.87
หนังสืออ้างอิง 1.90 1.06 2.34 1.23 2.00 1.07 6.46 0.00**
วารสารหรือนิตยสาร 1.99 0.92 2.19 1.17 2.17 1.33 1.41 0.24
หนังสือพิมพ์ 1.91 0.80 2.20 1.27 1.94 1.04 3.40 0.03*
จุลสาร 2.24 1.27 2.33 1.04 2.02 1.16 1.11 0.32
กฤตภาค 2.11 1.30 2.26 1.08 1.85 0.95 2.14 0.11
110
ปัญหาในการแสวงหา
น้อยกว่า 9,000 9,001-20,000 มากกว่า 20,000
แหล่งสารสนเทศ
2
X SD.
2
X SD.
2
X SD.
F Sig.
ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์
วิทยุ 2.16 1.36 2.13 1.26 2.05 1.49 0.09 0.91
โทรทัศน์ 1.91 1.23 2.13 1.35 2.29 1.40 1.77 0.17
คอมพิวเตอร์ 2.15 1.23 2.45 1.23 2.26 1.60 2.41 0.09
วีดีทัศน์ 2.16 1.21 2.23 1.04 2.29 1.46 0.24 0.78
แผนที่ 2.24 1.10 2.22 1.06 1.76 0.95 3.00 0.05*
หุ่นจำลอง 2.62 1.36 2.28 1.17 1.73 0.93 7.96 0.00**
อื่น ๆ . . 1.35 0.78 . .
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 1)
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 2)
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการนักเรียนประถมศึกษาปีที่๖ (ตอนที่ 3)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น