จากตารางที่ 21 พบว่า โดยภาพรวมของนักศึกษาปริญญาโท นักศึกษาภาคปกติ
มีความเห็นต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมี
ประสิทธิภาพมาก และโดยภาพรวมของนักศึกษาภาค กศ.บป. มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมี
ประสิทธิภาพปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อของนักศึกษาปริญญาโท มีความเห็นเกี่ยวกับ
“สำนักวิทยบริการตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้บริการและเป็นศูนย์กลางของสถาบัน”
(≥X=3.44) อยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง, รายข้อของนักศึกษาภาคปกติ มีความเห็น
เกี่ยวกับ “มีครุภัณฑ์จำนวนเพียงพอและเหมาะสมกับงานสำนักวิทยบริการ และการให้บริการ”
(≥X = 3.40) อยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง และรายข้อของ นักศึกษาภาค กศ.บป.
มีความเห็นเกี่ยวกับ “สำนักวิทยบริการตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้บริการและเป็นศูนย์กลาง
ของสถาบัน” (≥X = 3.53) อยู่ในระดับมีประสิทธิภาพมาก
106
ตารางที่ 22 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
ด้านการเข้าถึง
ประเภทของนักศึกษา
ขอ้ ความ ปริญญาโท ภาคปกติ ภาค กศ.บป.
≥X SD. ระดับ ≥X SD. ระดับ ≥X SD. ระดับ
4. ด้านการเข้าถึง
35. มีเครื่องมือช่วยค้น
คว้าสะดวกและรวดเร็ว
3.89 0.60 มาก 3.49 0.93 ปาน
กลาง
3.18 0.85 ปาน
กลาง
36. จัดทรัพยากรสาร
สนเทศให้เป็นระเบียบ
สะดวกต่อการเข้าถึง
3.56 0.73 มาก 3.51 0.83 มาก 3.25 0.71 ปาน
กลาง
37. เชื่อมโยงเครือข่าย
สารสนเทศในระดับ
สถาบัน ท้องถิ่นและสากล
3.67 0.87 มาก 3.43 0.91 ปาน
กลาง
3.16 0.77 ปาน
กลาง
รวม 3.71 0.53 มาก 3.48 0.78 ปาน
กลาง
3.20 0.66 ปาน
กลาง
จากตารางที่ 22 พบว่า โดยภาพรวมและทุกรายข้อ ของนักศึกษาปริญญาโท
มีความเห็นต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มปี ระสทิ ธภิ าพมาก สว่ น นกั ศกึ ษาภาคปกติ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพ
ปานกลาง และ นักศึกษาภาค กศ.บป. ทุกรายข้อมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
ยกเว้น รายข้อของนักศึกษาภาคปกติ มีความเห็นเกี่ยวกับ “จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็น
ระเบียบสะดวกต่อการเข้าถึง” (≥X = 3.51) มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพมาก
107
ตารางที่ 23 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
ด้านการสอน
ประเภทของนักศึกษา
ขอ้ ความ ปริญญาโท ภาคปกติ ภาค กศ.บป.
≥X SD. ระดับ ≥X SD. ระดับ ≥X SD. ระดับ
5. ด้านการสอน
ปฐมนิเทศห้องสมุด
38. เนื้อหาและระยะ
เวลาในการจัดการปฐม
นิเทศมีความเหมาะสม
ครอบคลุมการใช้งาน
สำนักวิทยบริการ
3.33 0.50 ปาน
กลาง
3.42 0.78 ปาน
กลาง
3.19 0.71 ปาน
กลาง
39. คู่มือการใช้สำนัก
วิทยบริการอธิบายเนื้อหา
ได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
3.44 0.53 ปาน
กลาง
3.52 0.80 มาก 3.24 0.77 ปาน
กลาง
40. แนะนำวิธีการใช้
เครื่องมือสืบค้นข้อมูล
ต่าง ๆ ได้ชัดเจนข้าใจ
ง่าย และได้เห็นของจริง
3.22 0.67 ปาน
กลาง
3.43 0.84 ปาน
กลาง
3.23 0.83 ปาน
กลาง
การสอนการใช้ห้องสมุด
41. สำนักวิทยบริการมี
วิธีดำเนินการช่วยกระตุ้น
การเรียนรู้ตลอดชีวิตโดย
ใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
ผสมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.33 0.50 ปาน
กลาง
3.48 0.83 ปาน
กลาง
3.27 0.78 ปาน
กลาง
42. ห้องที่ใช้ในการสอน
มีความเหมาะสม อยู่ใกล้
สำนักวิทยบริการ
3.33 0.50 ปาน
กลาง
3.59 0.83 มาก 3.25 0.76 ปาน
กลาง
43. อุปกรณ์ที่ใช้
ประกอบการสอนมีความ
พร้อม
3.56 0.73 มาก 3.48 0.81 ปาน
กลาง
3.22 0.77 ปาน
กลาง
รวม 3.37 0.34 ปาน
กลาง
3.49 0.62 ปาน
กลาง
3.23 0.60 ปาน
กลาง
108
จากตารางที่ 23 พบว่า โดยภาพรวมทุกประเภทนักศึกษาและทุกรายข้อของ
นักศึกษาภาค กศ.บป. มีความเห็นต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง ยกเว้น นักศึกษาปริญญาโท มีความเห็นเกี่ยวกับ
“อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนมีความพร้อม” (≥X = 3.56) มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มีประสิทธิภาพมาก และรายข้อของนักศึกษาภาคปกติ มีความเห็นเกี่ยวกับ “คู่มือการใช้สำนัก
วิทยบริการอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนเข้าใจง่าย” (≥X = 3.52), และเกี่ยวกับ “ห้องที่ใช้ในการสอน
มีความเหมาะสม อยู่ใกล้สำนักวิทยบริการ” (≥X = 3.59) มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพ
มาก
109
ตารางที่ 24 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
ประเภทของนักศึกษา
ข้อความ ปริญญาโท ภาคปกติ ภาค กศ.บป.
∼X SD. ระดับ ∼X SD. ระดับ ∼X SD. ระดับ
6. ด้านการสื่อสารและ
ความร่วมมือ
การสื่อสารกับผู้ใช้
44. มีเครือข่ายสำนักวิทย
บริการของสถาบันเพื่อการ
เข้าถึงแหล่งสารสนเทศของ
สถาบันอื่น ๆ ได้
3.67 0.71 มาก 3.55 0.86 มาก 3.21 0.81 ปาน
กลาง
45. มีความชัดเจนของแผน
ผังที่แสดงส่วนต่าง ๆ ของ
สำนักวิทยบริการ
3.78 0.83 มาก 3.65 0.84 มาก 3.31 0.77 ปาน
กลาง
46. มีการจัดป้ายนิทรรศการ
ให้บริการข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์
3.78 0.67 มาก 3.51 0.86 มาก 3.29 0.73 ปาน
กลาง
47. มีการประชาสัมพันธ์
เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของ
สำนักวิทยบริการผ่านสื่อ เช่น
วารสารสำนักวิทยบริการ
หรือ เว็บไซต์ของสถาบัน
3.78 0.67 มาก 3.50 0.94 มาก 3.33 0.77 ปาน
กลาง
ความร่วมมือระหว่าง
ห้องสมุด
48. สำนักวิทยบริการมีความ
ร่วมมือกับห้องสมุดสถาบัน
อื่น เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากร
และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ร่วมกัน
3.00 0.87 ปาน
กลาง
3.41 0.87 ปาน
กลาง
3.21 0.77 ปาน
กลาง
49. มีการร่วมมือกับชุมชน
ด้านการจัดเก็บ
3.44 0.53 ปาน
กลาง
3.27 0.79 ปาน
กลาง
3.12 0.76 ปาน
กลาง
50. มีการร่วมมือกับชุมชน
ในด้านการบริการ
3.33 0.50 ปาน
กลาง
3.29 0.85 ปาน
กลาง
3.16 0.75 ปาน
กลาง
รวม 3.54 0.40 มาก 3.45 0.65 ปาน
กลาง
3.23 0.58 ปาน
กลาง
110
จากตารางที่ 24 พบว่า โดยภาพรวมของนักศึกษาปริญญาโท มีความเห็นต่อ
ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพมาก
และโดยภาพรวมของนักศึกษาภาคปกติ และ ทุกรายข้อของนักศึกษาภาค กศ.บป. มีความเห็น
ต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพ
ปานกลาง ยกเว้น รายข้อของนักศึกษาปริญญาโท มีความเห็นเกี่ยวกับ “สำนักวิทยบริการ
มีความร่วมมือกับห้องสมุดสถาบันอื่น เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ร่วมกัน”
(≥X = 3.00), เกี่ยวกับ “มีการร่วมมือกับชุมชนด้านการจัดเก็บ” (≥X = 3.44), เกี่ยวกับ
“มีการร่วมมือกับชุมชนในด้านการบริการ” (≥X = 3.33) อยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
และรายข้อของนกั ศกึ ษาภาคปกติ มีความเห็นเกี่ยวกับ “มีเครือข่ายสำนักวิทยบริการของสถาบัน
เพื่อการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศของสถาบันอื่น ๆ ได้” (≥X = 3.55), เกี่ยวกับ “มีความชัดเจน
ของแผนผังที่แสดงส่วนต่างๆ ของสำนักวิทยบริการ” (≥X = 3.65), เกี่ยวกับ “มีการจัดป้าย
นิทรรศการให้บริการข่าวสารที่เป็นประโยชน์” (≥X = 3.51), เกี่ยวกับ “มีการประชาสัมพันธ์
เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของสำนักวิทยบริการผ่านสื่อ เช่น วารสารสำนักวิทยบริการ หรือ เว็บไซต์ของ
สถาบัน” (≥X = 3.50) อยู่ในระดับมีประสิทธิภาพมาก
111
ตารางที่ 25 สรุปความคิดเห็นโดยภาพรวม ต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนัก
วิทยบริการ กลุ่มอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด 11 ด้าน และกลุ่มนักศึกษา 6 ด้าน
ได้ดังนี้
อาจารย์
บรรณารักษ์และ
เจ้าหน้าที่ห้อง
สมุด
นักศึกษา
ปริญญาโท
นักศึกษา
ภาคปกติ
นักศึกษา
มาตรฐาน ภาค กศ.บป. รวม
11 ด้าน
≥X ระดับ ≥X ระดับ ≥X ระดับ ≥X ระดับ ≥X ระดับ
1. การบริหาร 3.36 ปาน
กลาง
- - - - - - - -
2. การวางแผน 3.74 มาก - - - - - - - -
3. งบประมาณ 3.60 มาก - - - - - - - -
4. บุคลากร 3.46 ปาน
กลาง
- - - - - - - -
5. ทรัพยากร 3.55 มาก 3.32 ปาน
กลาง
3.40 ปาน
กลาง
3.20 ปาน
กลาง
3.37 ปาน
กลาง
6. การบริการ 3.53 มาก 3.61 มาก 3.42 ปาน
กลาง
3.23 ปาน
กลาง
3.45 ปาน
กลาง
7. สิ่งอำนวย
ความสะดวก
3.55 มาก 3.85 มาก 3.65 มาก 3.37 ปาน
กลาง
3.60 มาก
8. การเข้าถึง 3.22 ปาน
กลาง
3.71 มาก 3.48 ปาน
กลาง
3.20 ปาน
กลาง
3.40 ปาน
กลาง
9. การสอน 3.28 ปาน
กลาง
3.37 ปาน
กลาง
3.49 ปาน
กลาง
3.23 ปาน
กลาง
3.34 ปาน
กลาง
10. การสื่อสาร
และ
ความร่วมมือ
3.35 ปาน
กลาง
3.54 มาก 3.45 ปาน
กลาง
3.23 ปาน
กลาง
3.40 ปาน
กลาง
11. การประเมิน
และประเมิน
ผลลัพธ์
3.56 มาก - - - - - - - -
รวม 3.47 ปาน
กลาง
3.57 มาก 3.48 ปาน
กลาง
3.24 ปาน
กลาง
3.43 ปาน
กลาง
รวมรวบยอด 3.44 ปานกลาง
112
จากตารางที่ 25 เมื่อพิจารณาภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถามทุกกลุ่มและรายกลุ่ม
ทุกด้านพบว่า มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.44) ส่วนนักศึกษาปริญญาโท เห็นว่า
มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ( x = 3.57) อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
นักศึกษาภาคปกติ และ นักศึกษาภาค กศ.บป. เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 3.47, 3.48 และ 3.24 ตามลำดับ
แต่เมื่อแยกในแต่ละกลุ่มของอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีความเห็น
ว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก 6 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผน ด้านงบประมาณ ด้านทรัพยากร
ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการประเมินผลลัพธ์ ค่าเฉลี่ย 3.74, 3.60,
3.55, 3.53, 3.55 และ 3.56 ตามลำดับ ส่วนอีก 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหาร ด้านบุคลากร
ด้านการเข้าถึง ด้านการสอน และด้านการสื่อสารและความร่วมมือ เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ใน
ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.36, 3.46, 3.22, 3.28 และ 3.35 ตามลำดับ
นักศึกษาปริญญาโท เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก 4 ด้าน ได้แก่
ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการเข้าถึง และด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
ค่าเฉลี่ย 3.61, 3.85, 3.71 และ 3.54 ตามลำดับ อีก 2 ด้าน คือ ด้านทรัพยากร และ
ด้านการสอน เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.32 และ 3.37 ตามลำดับ
นักศึกษาภาคปกติ เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากเพียงด้านเดียว คือ
ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ค่าเฉลี่ย 3.65 อีก 5 ด้าน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง
นักศึกษาภาค กศ.บป. เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
1. ควรมีระบบการสืบค้นในห้องสมุด และเทคโนโลยีที่ทันสมัยแก่ผู้ใช้บริการ
2. อาคารสถานที่มีพื้นที่ในการจัดเก็บทรัพยากรไม่เพียงพอ ทางเข้าออกเป็นทางเดียว
เดินสวนทางกันไม่สะดวก ควรแยกทางเข้าออกคนละทาง
3. หนังสือวารสารใหม่ ๆ มีน้อยและไม่ทันสมัย ควรมีการปรับปรุงในเรื่องการจัดซื้อ
หนังสือใหม่ๆ ที่ทันต่อภาวะกาล และนำมาทำเลขหนังสืออย่างรวดเร็ว เพื่อความสะดวก
ในการยืม
ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา
1. ควรมีหนังสือที่หลากหลายครอบคลุมทุกสาขาวิชา และเป็นหนังสือใหม ่ ๆ มขี อ้ มลู
ทันสมัยอย่างเพียงพอต่อผู้ใช้บริการ
2.ควรมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกชั้น เพื่อสืบค้นหนังสือได้อย่างรวดเร็ว สะดวกแก่
การยืม-คืน และให้มีความต่อเนื่องในการยืมต่อได้อย่างสะดวกรวดเร็วด้วย
3. การให้บริการ อินเตอร์เน็ต ควรขยายเวลาบริการให้มากขึ้นและควรขยายเวลาปิด
อาคารสำนักวิทยบริการเพิ่มขึ้นด้วย
4. ควรมีการประชาสัมพันธ์การใช้ห้องสมุดด้วยสื่อต่างๆ หลายรูปแบบอย่างกว้าง
ขวาง ทั่วถึงและต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ในการวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการสถาบันราชภัฏบ้าน
ส ม เด็ จ เจ้ า พ ร ะ ย า ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ส รุ ป โ ด ย ก ล่ า ว ถึ ง วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร วิ จั ย ข อ บ เข ต ข อ ง
การวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัยโดยสังเขป และผลงานวิจัยที่มีมาก่อน และในท้ายสุดได้เสนอแนะ
เพื่อการวิจัยและการประยุกต์เพื่อสร้างองค์ความรู้ และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อไป
1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ตามมาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของสหรัฐอเมริกา
11 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหาร ด้านการวางแผน ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร ด้านทรัพยากร
ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการเข้าถึง ด้านการสอน ด้านการสื่อสารและ
ความร่วมมือ และด้านการประเมินผลลัพธ์ ในความคิดเห็นของผู้ใช้กลุ่มอาจารย์บรรณารักษ์และ
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด กับกลุ่มนักศึกษา
2. วิธีดำเนินการวิจัย
1. ประชากรที่ใช้ศึกษา ผู้วิจัยได้เลือกศึกษาจากประชากรผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการสำนักวิทย
บริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่
(1) กลุ่มอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 24 คน ที่ทำงานอยู่ในสำนักวิทย
บริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
(2) กลุ่มนักศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 15,287 คน โดยเลือกกลุ่มตัว
อย่างจากนักศึกษาปริญญาโท จำนวน 9 คน นักศึกษาภาคปกติ จำนวน 150 คน และนักศึกษาภาค กศ.บป.
จำนวน 226 คน รวมเป็น จำนวน 385 คน
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ
เกี่ยวกับประสิทธิภาพการดำเนินงานตามมาตรฐาน 11 ด้าน ของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของ
สหรัฐอเมริกา มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย และปัจจัยการประกัน
คุณภาพหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างแบบสอบถาม และตรวจ
สอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไขและทำการทดสอบความ
เที่ยงได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 95
114
3. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยขอความอนุเคราะห์ให้กลุ่มประชากรและกลุ่ม
ตัวอย่าง ช่วยตอบแบบสอบถามในช่วงระยะเวลาวันที่ 17 พฤศจิกายน 2546 ถึง 17 ธันวาคม
2546 กลุ่มอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 24 คน กลุ่มนักศึกษาปริญญาโท
จำนวน 9 คน นักศึกษาภาคปกติ จำนวน 150 คน และนักศึกษาภาค กศ.บป. จำนวน 226 คน
โดยผู้วิจัยได้ส่งและเก็บแบบสอบถามด้วยตัวเองได้แบบสอบถามกลับมาครบจำนวน 409 ฉบับ
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรมแกรม SPSS/PC+ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติเชิง
บรรยาย เช่น ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึ่ง
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับผู้ใช้แต่ละกลุ่ม ดังนี้
ตอนที่ 1 วิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้ ค่าร้อยละ
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา วิเคราะห์โดยใช้ ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation)
4. สรุปผลการวิจัย
ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา ตามมาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของสหรัฐอเมริกา 11 ด้าน ซึ่งกลุ่มของ
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ตอบแบบสอบถามทั้ง 11 ด้าน ส่วนกลุ่มนักศึกษา
ตอบแบบสอบถามเฉพาะ 6 ด้าน คือ ด้านทรัพยากร ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
ด้านการเข้าถึง ด้านการสอน และด้านการสื่อสารและความร่วมมือ ผลการวิจัยโดยภาพรวม พบว่า
การดำเนินงานของสำนักวิทยบริการมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน
พบว่า กลุ่มอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เห็นว่า มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก
6 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผน ด้านงบประมาณ ด้านทรัพยากร ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำนวย
ความสะดวก และด้านการประเมินผลลัพธ์ ส่วนที่เหลืออีก 5 ด้าน เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ใน
ระดับปานกลาง แต่กลุ่มนักศึกษามีความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ โดยภาพรวม
มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน นักศึกษาปริญญาโท เห็นว่ามีประ
สิทธิภาพอยู่ในระดับมาก 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการเข้าถึง
และด้านการสื่อสารและความร่วมมือ ที่เหลืออีก 2 ด้าน เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ
115
ปานกลาง นักศึกษาภาคปกติ เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากอยู่ด้านเดียว คือ ด้านสิ่ง
อำนวยความสะดวก ที่เหลืออีก 5 ด้าน เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนนักศึกษา
ภาค กศ.บป. เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลางทั้ง 6 ด้าน
5. อภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยมีประเด็นสำคัญที่ควรอภิปราย ดังนี้
ผลการวิจัยโดยภาพรวม พบว่า การดำเนินงานของสำนักวิทยบริการมีประสิทธิภาพ
อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อแยกกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามแล้ว กลุ่มของอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้า
หน้าที่ห้องสมุด นักศึกษาปริญญาโท โดยภาพรวมเห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก แต่นัก
ศึกษากลุ่มอื่น ๆ เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เหตุที่ผลแตกต่างกันเช่นนี้ อาจเนื่อง
จากสถาบันได้กำหนดระเบียบการใช้บริการที่ให้โอกาสแก่นักศึกษาปริญญาโทได้ยืมหนังสือมี
จำนวนและระยะเวลาในการยืมมากกว่า อีกทั้งมีห้องหนังสือจัดไว้เป็นการเฉพาะ ประกอบกับ
นักศึกษาปริญญาโทมีความรู้ทางสื่อช่วยค้น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ดี จึงย่อมได้รับบริการที่สะดวก
รวดเร็ว กว่านักศึกษาปริญญาตรี
1. ด้านการบริหาร (Administration)
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ป า น ก ล า ง เนื่ อ ง จ า ก สํ า นั ก วิ ท ย บ ริ ก า ร ส ถ า บั น ร า ช ภั ฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา เป็นหน่วยงานเทียบเท่าคณะ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการขึ้นตรงต่อรองอธิการบดี มี
คณะกรรมการที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหาร ในสำนักวิทยบริการ แบ่งหน่วยงานออกเป็นฝ่ายต่างๆ แต่ละ
ฝ่ า ย มี ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า แ ล ะ กํ า ห น ด อํ า น า จ ห น้ า ที่ ไ ว้ แ ต่ ก า ร พั ฒ น า
เจ้าหน้าที่ด้านจิตสำนึกและการใช้ทักษะในการสื่อสารเกี่ยวกับระบบการบริหาร และการรับฟังความคิดเห็นของ
ผู้ใช้ยังไม่เพียงพอ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ ปิยะวรรณ ประทุมรัตน์, (2543) สอดคล้องกับมาตรฐานห้อง
สมุดสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย (ทบวงมหาวิทยาลัย, 2544) มาตรฐานของสมาคมห้องสมุดสหรัฐ
อเมริกา (ACRL) และสอดคล้องกับความเห็นของ นฤตย์ นิ่มสมบุญ และ ฮารุกิ นางาตะ, (2546) งานวิจัยเรื่อง
การประเมินคุณภาพการบริการของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ
รณิดา ศิริไพบูลย์ (2541 : บทคัดย่อ) ที่เห็นว่า ห้องสมุดควรได้รับการปรับปรุงให้ก้าวหน้า และทันสมัย เพราะ
หากห้องสมุดมีระบบการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพของสถาบันในการจัดการศึกษา
ให้มีคุณภาพได้
2. ด้านการวางแผน (Panning)
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนัก
วิทยบริการ โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก เนื่องจากสำนักวิทยบริการได้ดำเนินงาน
116
ด้านการวางแผนโดยกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินงานสำนักวิทยบริการเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 เป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ระยะที่ 2 เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองและ
โสตทัศนูปกรณ์ โดยการจัดหา จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์โสตทัศนูปกรณ์และโปรแกรมจัดการลูกข่าย
และปรับปรุงห้องประชุมใหญ่ ปรับปรุงห้องศูนย์การเรียนรู้ ระยะที่ 3 เป็นศูนย์การเรียนรู้
ด้วยตนเองและโสตทัศนูปกรณ์ที่สมบูรณ์ (สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา,
2544 : 5-7) สอดคล้องกับมาตรฐานฉบับใหม่ของ ACRL (ค.ศ. 2000) และสอดคล้องกับผลการ
วิจัยของ สุรักษ์ สุทธิประภา (2542 : บทคัดย่อ) ที่ว่า คุณลักษณะของนักวางแผนย่อมส่งผลต่อ
การปฏิบัติงานในทุกขั้นตอน และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ราม ป้อมทอง (2541 : บทคัดย่อ)
ที่ว่า กิจกรรมที่ผู้บริหารห้องสมุดส่วนมากทำเป็นกิจกรรมที่ 1 คือ การวางแผน
3. ด้านงบประมาณ (Budget)
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีความเห็นว่าประสิทธิภาพ
การดำเนินงานของสำนักบริการ โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก เนื่องจากสำนักวิทย
บริการได้รับการจัดสรรงบประมาณ 80 % ของค่าบำรุงห้องสมุด และได้รับเงินสนับสนุน
จากงบประมาณแผ่นดิน สอดคล้องกับแนวคิดด้านงบประมาณของ ACRL (ค.ศ. 2000) และ
ผลการวิจัยของ นฤตย์ นิ่มสมบุญ และ ฮารุกิ นางาตะ, (2546) ที่ว่า สถาบันอุดมศึกษาจะได้รับ
เงินงบประมาณแผ่นดินและเงินบำรุงการศึกษา นั้นควรจัดสรรให้ห้องสมุดอย่างเพียงพอ
สอดคล้องกับทัศนะของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในปาฐกถา เรื่อง “มิติใหม่ของ
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทย : หัวใจแห่งการพัฒนาชาติ” ตอนหนึ่งว่า “ขุมมันสมองของเด็กอยู่ที่ห้อง
สมุดซึ่งรัฐบาลพร้อมสนับสนุนงบประมาณแก่อาจารย์ที่จะสร้างห้องสมุด โดยจะต้องเป็นห้อง
สมุดที่มีชีวิต เกิดแล้วโต” (หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 13 สิงหาคม 2544 : 15)
4. ด้านบุคลากร (Staff)
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากสำนักวิทยบริการมีจำนวนบุคลากรเพียง 24 คน จึง
ไม่สอดคล้องกับภาระงานซึ่งมีหน่วยงาน 8 ฝ่าย และการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในวิชาชีพ
บรรณารักษ์ยังไม่เพียงพอ สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานของ ACRL (พ.ศ. 2000) และยังสอดคล้องกับมาตร
ฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย (2544) สอดคล้องกับผลการวิจัยของ นาถร์ มีดี (2540 :
บทคัดย่อ) ประสบการณ์ในการใช้อุปกรณ์เครื่องมืออย่างชำนาญและมีความก้าวหน้า มีความมั่นคงในการทำงาน
ด้วย สอดคล้องกับผลการวิจัยของ จันทร์เพ็ญ กล่อมใจขาว (2541 : บทคัดย่อ) ที่พบว่าบรรณารักษ์จำเป็นต้อง
มีประสบการณ์ในการทำงานด้านระบบห้องสมุดอัตโนมัติและระบบงานคอมพิวเตอร์ และจะมีความพึงพอใจใน
การทำงานในระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาก ในความสำเร็จความมั่นคง และความก้าวหน้าทางวิชาชีพ และยังสอด
117
คล้องกับผลการวิจัยของ สุริทอง ศรีสะอาด (2544 : บทคัดย่อ) ที่พบว่า จุดสำคัญที่ควรรีบพัฒนาและให้การ
สนับสนุนโดยเร็ว คือ เรื่องโอกาสความก้าวหน้าและสถานภาพของบุคลากรห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา และ
สอดคล้องกับแนวคิดของ พะยอม วงศ์สารศรี (2540 : 166) ที่กล่าวว่าการพัฒนาบุคลากร คือ การดำเนินการ
เพิ่มพูนความรู้ความสามารถและทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานที่ตนรับผิดชอบให้มีคุณภาพ
5. ด้านทรัพยากร (Resources)
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
โ ด ย ภ า พ ร ว ม มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ส่ ว น ก ลุ่ ม นั ก ศึ ก ษ า มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า
โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากทรัพยากรสารสนเทศ แถบบันทึกเสียง และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ มีจำนวนไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ นาถร์ มีดี
(2540 : บ ท คั ด ย่ อ ) ที่ พ บ ว่ า ท รั พ ย า ก ร ห้ อ ง ส มุ ด ไ ม่ เ พี ย ง พ อ ห รื อ ล้ า ส มั ย
ผลการวิจัยของ นฤตย์ นิ่มสมบุญ และ ฮารุกิ นางาตะ (2546) ที่ว่า ปัญหาที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ประสบ คือ ปัญหา
เกี่ยวกับทรัพยากรห้องสมุดไม่พอเพียงและล้าสมัย และผลการวิจัยของ สุธีรา น้อยจันอัด (2541) และผลการ
วิจัยของ กรรณิการ์ ภูผาธรรม (2541 : บทคัดย่อ) ที่พบว่า ผู้ใช้บริการมีความต้องการใช้วัสดุตีพิมพ์ และวัสดุ
ไม่ตีพิมพ์ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ และวิทยานิพนธ์ รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ
ใช้ในการสืบค้นข้อมูลบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับคู่มือการประเมินคุณภาพการศึกษา
ของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, (2543) แนวคิดของ ACRL (ค.ศ. 2000) และมาตรฐานห้องสมุด
สถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย (ทบวงมหาวิทยาลัย, 2544)
6. ด้านการบริการ (Services)
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด และนักศึกษาปริญญาโท มีความเห็นว่าการดำเนิน
งานของสำนักวิทยบริการ โดยภาพรวม มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก แต่ความเห็นของนักศึกษาภาคปกติ
แ ล ะ ภ า ค ก ศ .บ ป . เ ห็ น ว่ า มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ป า น ก ล า ง
เนื่องจากจำนวนหนังสือสำรอง สื่อโสตทัศน์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ มีไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้
และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านตลอดทั้งความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของบุคลากรยังไม่เป็นที่พึง
พอใจของผู้ใช้เท่าที่ควร ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานสภาสถาบันราชภัฏและสถาบันราชภัฏ ที่เห็น
ความจำเป็นต้องพัฒนาสำนักวิทยบริการให้มีศักยภาพสูงในการบริการ (สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2543 :
1-12) สอดคล้องกับความเห็นของ นันทา วิทวุฒิศักดิ์ (2545 : 15) ที่ว่า งานบริการเป็นงานที่มีความสำคัญ
อย่างยิ่งต่อผู้ใช้ห้องสมุด อาจกล่าวได้ว่างานบริการของห้องสมุดเป็นหัวใจสำคัญ และถือเป็นงานที่จะสร้างความ
ประทับใจให้ผู้ใช้บริการเกิดทัศนคติที่ดีต่อห้องสมุด และผลการวิจัยของ สุริทอง ศรีสะอาด (2544 : บทคัดย่อ)
ที่ พ บ ว่ า ห้ อ ง ส มุ ด ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ส่ ว น ใ ห ญ่ บ ร ร ลุ เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น
ด้ าน การบ ริการ เพ ราะงาน บ ริการเป็ น หั วใจของห้ องสมุ ด และสอด ค ล้องกั บ ผ ล การวิจัยของ
ปาริชาติ เสารยะวิเศษ (2541 : 26) อ้างถึงใน Alzonfon and Pulis (1984) และงานวิจัยของ Hunter (1991)
7. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities)
118
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด นักศึกษาปริญญาโท และนักศึกษาภาคปกติ มี
ความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ยกเว้นนักศึกษา
ภาค กศ.บป. เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากสำนักวิทยบริการ ได้รับการปรับปรุงพัฒนา
ตามนโยบายของสำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ และสถาบันราชภัฏให้สำนักวิทยบริการมีศักยภาพสูงในการให้
บ ริ ก า ร ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
ก า ร เรี ย น รู้ (สํ า นั ก ง า น ส ภ า ส ถ า บั น ร า ช ภั ฏ 2543 : 1-12) โด ย ไ ด้ ส ร้ า ง อ า ค า ร ใ ห ม่ สู ง 8 ชั้ น
มีพื้นที่ใช้สอย 4,972.90 ตารางเมตร มีสิ่งอำนวยความสะดวกไว้พร้อมเพียง สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานของ
ท บ ว ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย (ท บ ว ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย , 2544) ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น ข อ ง
ต่ า ง ป ร ะ เท ศ (ACRL) แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ผ ล ก า ร วิ จั ย ข อ ง สุ ริ ท อ ง ศ รี ส ะ อ า ด (2544 : 204)
ที่ ศึ ก ษ าแ น ว ท างก าร พั ฒ น าห้ อ งส มุ ด ส ถ าบั น อุ ด ม ศึ ก ษ า พ .ศ . 2544 พ บ ว่ า ใน ปี พ .ศ . 2544
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน รวมถึงห้องสมุดสถาบันราชภัฏ มีสถานภาพที่ดีขึ้นมากกว่าเดิม
สอดคล้องกับผลการวิจัยของ นฤตย์ นิ่มสมบุญ และ ฮารุกิ นางาตะ (2546)
8. ด้านการเข้าถึง (Access)
อาจารย์บ รรณ ารักษ์ แ ล ะเจ้าห น้ าที่ ห้ อ งส มุ ด นั กศึ กษ าภ าค ป กติ แ ละนั กศึ ก ษ า
ภาค กศ.บป. มีความเห็นว่าการดำ เนินงานของสำ นักวิทยบริการ โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่
ในระดับปานกลาง เฉพาะนักศึกษาปริญญาโทที่เห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก เนื่องจากสำนักวิทย
บริการได้จัดทำและจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือช่วยค้น เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บริการในระดับหนึ่ง สอดคล้องกับ
ทัศนะของ แม้นมาส ชวลิต (2533 :16-18) ที่ว่า การเข้าถึงจำเป็นสำหรับการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม
มีฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นเอง (In-house database) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จ เช่น ซีดีเอส/ไอซีส (CDS/ISIS) บีอาร์
เ อ ส เ สิ ร์ ซ (BRS Search)
ฐานข้อมูล ซีดี-รอม (CD-ROM database) และฐานข้อมูลออนไลน์ (กาญจนา ใจกว้าง, 2540 : 222) สอด
คล้องกับทัศนะของ พิมพ์รำไพ เปรมสมิทธิ์ (2538 : 2) ที่ว่า การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว
แ ล ะ สิ่ ง ที่ เ น้ น ม า ก ที่ สุ ด คื อ ก า ร ใ ช้ บ ริ ก า ร สื่ อ ส า ร ท า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
อัน เป็ น ช่องท างใน การเข้าถึงสารสน เท ศ สอด ค ล้องกับ ค วาม ก้าวห น้ าของวิท ยาการสมั ยให ม่
(นันทา วิทวุฒิศักดิ์, 2545 : 11) ที่ว่า ห้องสมุดที่ได้รับการพัฒนาเป็นอย่างดีแล้วจะมีบริการเข้าถึงทรัพยากรสาร
สนเทศด้วยระบบเครือข่ายเชื่อมโยงอย่างกว้างขวาง สอดคล้องกับผลการวิจัยของ นันทา วิทวุฒิศักดิ์, (2545 :
142-144) ที่ พ บ ว่ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ห่ ง ช า ติ ป ร ะ เ ท ศ อ อ ส เ ต ร เ ลี ย
ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของห้องสมุดดั้งเดิม เป็นห้องสมุดที่มีบริการเข้าถึงในสังคมเครือข่ายเน้นการเข้าถึงสาร
สนเทศจากทั่วโลก โดยเพิ่มการกลั่นกรอง การสังเคราะห์แหล่งสารสนเทศ สร้างพันธมิตรใหม่กับผู้ใช้บริการ
9. ด้านการสอน (Instruction)
ผู้ตอบแบบสอบถามทุกกลุ่ม มีความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากการแนะนำวิธีใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูล และวิธีการ
ช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ผู้ใช้บริการยังไม่เพียงพอ เพราะการสอนการใช้ห้องสมุด
119
เป็นปัจจัยเบื้องต้นที่จะกระตุ้นให้ผู้ใช้มีความรู้เกี่ยวกับห้องสมุด สอดคล้องกับทัศนะของ Wilson
(1995 : 1171-172) อ้างถึงใน ประภาส พาวินันท์, (2541 : 29) ว่า การสอนเรื่องห้องสมุดเป็นการ
ให้ผู้เรียนมีความรู้ในการจัดการสารสนเทศ รวมถึงวิธีการเลือกและใช้สารสนเทศทั่วไป ความรอบ
รู้เกี่ยวกับสารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับสังคมสารสนเทศ การสอนการใช้ห้องสมุด หมายถึง กิจ
กรรมทุกอย่างที่สอนให้ผู้ใช้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการของห้องสมุด (The ALA Glossary of
Library and Information Science 1983 : 237 อ้างถึงใน ประภาส พาวินันท์, 2541 : 27) (Rice,
1981 : 5 อ้างถึงใน ประภาส พาวินันท์, 2541 : 42)
10. ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ (Communication and Cooperation)
นักศึกษาปริญญาโทเห็นว่าการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการมีประสิทธิภาพ
อยู่ในระดับมาก แต่อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด นักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษา
ภาค กศ.บป. โดยภาพรวมเห็นว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากสำนักวิทยบริการ
มีความร่วมมือกับห้องสมุดอื่นเพื่อใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ร่วมกัน และการร่วมมือกับ
ชุมชนในด้านการจัดเก็บและด้านการบริการยังดำเนินการยังไม่ดีพอ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ
อัมพร ปั้นศรี (2529 : บทคัดย่อ) วิจัยเรื่อง “สัมฤทธิ์ผลของความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
มหาวิทยาลัยในประเทศไทย” พบว่า ทั้งผู้บริหารและบรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติการ เห็นด้วยกับการมี
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด และผลการวิจัยของ สุริทอง ศรีสะอาด (2544 : 210-211) ที่ว่า
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาร้อยละ 71.4 ได้รับงบประมาณประจำปีเพื่อการร่วมมือระหว่าง
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา และร้อยละ 92.0 มีการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงเพื่อให้มีการใช้
ทรัพยากรร่วมกัน และมีความเห็นอีกว่า ผู้บริหารห้องสมุดควรกำหนดให้มีการวางแผนร่วมมือใน
การดำเนินงานระบบเครือข่ายให้กว้างขวาง ครอบคลุมทั้งประเทศในทุกระดับ สอดคล้องกับ
มาตรฐานของ ACRL (ค.ศ. 2000)
11. ด้านการประเมินผลลัพธ์ (Outcomes Assessment)
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด มีความเห็นว่าการดำเนินงานของสำนัก
วิทยบริการ โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก เนื่องจากสำนักวิทยบริการได้จัดทำมาตร
ฐานการปฏิบัติงานเพื่อควบคุมคุณภาพ ประเมินแผนงาน โครงการปฏิบัติงาน และประเมินผล
การปฏิบัติด้านการบริการแก่ผู้ใช้อย่างสม่ำเสมอ สอดคล้องกับมาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดม
ศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2544 ที่ว่า ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาควรมีระบบ
120
การประเมินคุณภาพของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการให้เป็นไปตาม
มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา และสอดคล้องกับนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา
ของชาติ และมาตรฐานห้องสมุดของ ACRL ที่ว่า การประเมินผลลัพธ์จะจัดและมีผลต่อ
ความสำเร็จของผลลัพธ์ที่ได้ระบุไว้ในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของห้องสมุดว่าจะทำให้สำเร็จ
เพียงใด มีผลต่อความสำเร็จของนักศึกษาและประสิทธิภาพของค่าใช้จ่ายควรนำมาใช้ในการ
พิจารณาพึ่งพิงเทคโนโลยีให้มากขึ้น การประเมินผลลัพธ์ของห้องสมุดจำเป็นต้องประเมินทั้ง
ในเชิงปริมาณและคุณภาพของข้อมูลที่ห้องสมุดสะสมไว้
อาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุดมีความคิดเห็นและข้อเสนอ
แนะ ดังนี้
1. ควรมีระบบการสืบค้นในห้องสมุด และเทคโนโลยีที่ทันสมัยแก่ผู้ใช้บริการ 2.
อ า ค า ร ส ถ า น ที่ มี พื้ น ที่ ใ น ก า ร จั ด เก็ บ ท รั พ ย า ก ร ไ ม่ เพี ย ง พ อ ท า ง เข้ า อ อ ก
เป็นทางเดียวเดินสวนทางกันไม่สะดวก ควรแยกทางเข้าออกคนละทาง
3. หนังสือวารสารใหม่ ๆ มีน้อยและไม่ทันสมัย ควรมีการปรับปรุงในเรื่องการจัดซื้อหนังสือ
ใ ห ม่ ๆ ที่ ทั น ต่ อ ภ า ว ะ ก า ล แ ล ะ นํ า ม า ทํ า เล ข ห นั ง สื อ อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว เพื่ อ ค ว า ม ส ะ ด ว ก
ในการยืม
นักศึกษามีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. ควรมีหนังสือที่หลากหลายครอบคลุมทุกสาขาวิชา และเป็นหนังสือใหม่ ๆ มีข้อมูล
ทันสมัยอย่างเพียงพอต่อผู้ใช้บริการ
2. ควรมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกชั้น เพื่อสืบค้นหนังสือได้อย่างรวดเร็ว สะดวกแก่การยืม-คืน และ
ให้มีความต่อเนื่องในการยืมต่อได้อย่างสะดวกรวดเร็วด้วย
3. การให้บริการ อินเตอร์เน็ต ควรขยายเวลาบริการให้มากขึ้นและควรขยายเวลาปิด
อาคารสำนักวิทยบริการเพิ่มขึ้นด้วย
4. ค ว รมี ก าร ป ร ะ ช าสั ม พั น ธ์ ก าร ใช้ ห้ อ งส มุ ด ด้ ว ย สื่ อ ต่ างๆ ห ล าย รู ป แ บ บ อ ย่ าง
กว้างขวาง ทั่วถึงและต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา
ข ้อเสนอแนะจากผลการวิจัย
ผลการวิจัยประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการตามมาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดม
ศึกษาของ ACRL 11 ด้าน ครั้งนี้ ได้รับข้อมูลที่ควรแก่การนำมาใช้เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงการดำเนินงาน
ของสำนักวิทยบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทันต่อวิวัฒนาการความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ให้ก้าวหน้าและทันสมัยอยู่ตลอดเวลา จึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. ข้อเสนอแนะสำหรับผู้บริหารสถาบัน
121
ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคคลเข้าใช้ห้องสมุดให้มากขึ้น โดยการประชาสัมพันธ์ทุกรูป
แบบอย่างต่อเนื่อง เพราะห้องสมุดเป็นแหล่งรวมข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งต่อ
การจัดการศึกษาทุกระดับโดยเฉพาะระดับอุดมศึกษาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ควรจัดหาบุคลากรที่มีความ
รู้ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ท า ง วิ ช า ก า ร แ ล ะ วิ ช า ชี พ
ในแต่ละด้านอย่างเพียงพอ
2. ข้อเสนอแนะสำหรับผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ ควรดำเนินการตามนโยบายของสถาบัน โดย
2.1 ป รับ ป รุงพั ฒ น าคุ ณ ภาพ ใน การให้ บ ริการ การเข้าถึงท รัพ ยากรสารสน เท ศ
การสอนการใช้ห้องสมุด การสื่อสารและความร่วมมือ และการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร
2.2 จัดให้มีระเบียบกฎเกณฑ์ในการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกันและรัดกุม
3. ข้อเสนอแนะสำหรับบรรณารักษ์และบุคลากร
บรรณารักษ์และบุคลากร ควรเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ โดยให้ความสำคัญต่อผู้ใช้
บริการและปฏิบัติตามเกณฑ์ที่สำนักวิทยบริการกำหนดไว้โดยเคร่งครัดในเรื่องลักษณะของผู้ให้บริการที่พึง
ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ที่ ดี แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ง า น ท า ง ด้ า น ก า ร เ ข้ า ถึ ง
การสอนการใช้ห้องสมุด และการสื่อสารและความร่วมมือให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
1. ศึกษาเกี่ยวกับความคาดหวังหรือความพึงพอใจของผู้ใช้ห้องสมุดต่อการดำเนิน
งาน ด้านทรัพยากร ด้านการบริการ ด้านการเข้าถึง ด้านการสอน และด้านการสื่อสารและความ
ร่วมมือ
2. ศึกษาเกี่ยวกับการดำเนินงานของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเปรียบเทียบกับ
มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัยในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
3. ศึกษาความต้องการของผู้ใช้เพื่อปรับปรุงคุณภาพการบริการให้สอดคล้องกับความ
ต้องการ
บรรณานุกรม
กรรณิการ์ ภูผาธรรม. (2541). ศึกษาสภาพและความต้องการของผู้ใช้บริการ
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
เทคโนโลยีทางการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กาญจนา ใจกว้าง. (2540). “คอมพิวเตอร์กับงานบริการค้นคืนสารนิเทศ”. ในเอกสาร
การสอนชุดวิชาเทคโนโลยีสารนิเทศศาสตร์เบื้องต้น, หน่วยที่ 11 หน้า 103-
148. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ภาควิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช.
กุหลาบ ปั้นลายนาค. (ม.ป.ป.). การปฏิบัติงานในห้องสมุดโรงเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร : ขมรมเด็ก.
ไกรยทุ ธ ธีรตยาคีนันท. (2528). หลกั การงบประมาณแผน่ ดนิ . กรุงเทพมหานคร :
ไทยวัฒนาพานิช.
ครองทรัพย์ เจิดนภาพันธ์. (2542). รายงานการวิจัย ความพึงพอใจในการใช้บริการ
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพมหานคร : สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย
รามคำแหง.
จันทร์เพ็ญ กล่อมใจขาว. (2541). ผลกระทบของระบบห้องสมุดอัตโนมัติต่อการทำงานของ
บรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค. วิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์และ
สารนิเทศศาสตร์ มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
จารุวรรณ สินธุโสภณ. (2521). “ความหมายในการส่งเสริมการใช้ห้องสมุดแก่นักศึกษา
มหาวิทยาลัย”, วิทยบริการ. 2(1-2) : 89-101; กุมภาพันธ์ 2523.
ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน. (2526). ความสำคัญของห้องสมุดต่อการเรียนการสอน.
กรุงเทพมหานคร : ชมรมนิสิตวิชาบรรณารักษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3 :
15 - 22.
ฉัตรวรุณ เหมฤดี. (2542). การประเมินระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพคในเครือข่าย
ห้องสมุดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์
บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ชลทิชา สุทธินิรันดร์กุล. (2535). “ระบบการค้นคืนสารนิเทศออนไลน์”. การค้นคืน
สารนิเทศออนไลน์. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
125
ณรงค์ ป้องบุปผา. (2530). ห้องสมุดและการศึกษาค้นคว้า. พิมพ์ครั้งที่ 2 .
กรุงเทพมหานคร : สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
. (2545). ห้องสมุดและการศึกษาค้นคว้า. พิมพ์ครั้งที่ 4 . กรุงเทพมหานคร :
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ดวงดาว จารุสุวรรณภูมิ์. 2541. การศึกษาหาความพึงพอใจในด้านการบริการหลังการขาย
ของผลิตภัณฑ์สีผง บริษัท ทีโอเอ (ประเทศไทย) จำกัด ตามทัศนคติของลูกค้า.
กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
ทบวงมหาวิทยาลัย. (2544). ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง มาตรฐานห้องสมุดสถาบัน
อุดมศึกษา พ.ศ. 2544. ทบวงมหาวิทยาลัย.
ทักษิณ ชินวัตร. “มิติใหม่ของการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย : หัวใจแห่งการพัฒนาชาต”ิ .
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. 13 สิงหาคม 2544. หน้า 15.
ธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์. (2525). พฤติกรรมการสอนวิธีใช้ห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร :
บูรพาสาสน์.
นฤตย์ นิ่มสมบุญ และ ฮารุกิ นางาตะ (2546). การประเมินคุณภาพการบริการของสำนัก
หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นันทา วิทวุฒิศักดิ์. (2545). การวางแผนกลยุทธ์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏ
ในทศวรรษหน้า (2544-2553). กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์ปริญญา
ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2540). สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. พิมพ์ครั้งที่ 3 แก้ไขเพิ่มเติม.
กรุงเทพมหานคร : ดี.ดี.บุ๊คสโตร์.
นาถร์ มีดี. (2540). การใช้ทรัพยากรร่วมกันในการดำเนินงานห้องสมุดกองทัพบก.
กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา, สถาบันราชภัฏ. (2546). คู่มือนักศึกษา สถาบันราชภัฏ บ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา ปีการศึกษา 2546. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา.
บุญชนะ อัตถากร. (2526). การคลัง. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2527). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม.
กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาสน์.
. (2537). การพัฒนาการสอน. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก.
ประคอง กรรณสูต. (2540). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร :
บรรณกิจ.
126
ประทีป จรัสรุ่งรวีวร. (2542). ห้องสมุดและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพมหานคร :
ต้นอ้อ 1999 จำกัด.
ประภาวดี สืบสินธิ์. (2543). สารสนเทศในบริบทสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร :
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
ประภาส พาวินันท. (2541). การสอนการใชห้ อ้ งสมดุ และทกั ษะทางสารนเิ ทศ
ในมหาวิทยาลัยของรัฐ. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปาริชาต เสารยะวิเศษ. (2541). ความสำเร็จและความล้มเหลวในการค้นหาบทความ
วารสารภาษาไทยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในหอสมุดกลาง สำนัก
วิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กรุงเทพมหานคร : ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปิยะวรรณ ประทุมรัตน์. (2543). สภาพปัญหาและความต้องการในการดำเนินงาน
ห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์
ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พจน์ สะเพียรชัย. (2532). "ห้องสมุดกับความเป็นเลิศทางวิชาการ," ใน เอกสารความร่วมมือ
ระหว่างห้องสมุดกับสถาบันอุดมศึกษาครั้งที่ 7 เรื่อง การพัฒนาศักยภาพของ
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม เมื่อวันที่ 4 - 6
กรกฏาคม.
พจนานุกรมฉบับ สอ เสถบุตร. (2540). กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :
อักษรเจริญทัศน์.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2542). กรุงเทพมหานคร : สำนักนโยบาย
และแผนพัฒนาการศึกษา สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์.
พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พวา พันธุ์เมฆา. (2535). สารนิเทศกับการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพมหานคร :
สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
. (2541). สารนิเทศกับการศึกษาค้นคว้า. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร :
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.
พะยอม วงศ์สารศรี. (2540). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร
: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
พิมพ์รำไพ เปรมสมิทธิ์. (2538). ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์/ห้องสมุดเสมือน. บรรณศาสตร์
10,2 (ธันวาคม) 1-18.
127
เพ็ญแข สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2537). การงบประมาณ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2543). การประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักหอสมุด.
เชียงใหม่ : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
แม้นมาส ชวลิต. (2533). สารนิเทศและสารนิเทศศาสตร์. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น, หน่วยที่ 1, หน้า 1-25. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
. (2541). คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์บรรณกิจ (1991).
. (2543). คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์บรรณกิจ (1991) จำกัด.
ยืน ภู่วรวรรณ และ อโนมา สุวรรณภิชาติ. (2543). การปฏิรูปการเรียนรู้ในสหัสวรรษหน้า
กรณีศึกษา Education System Reform in the next millennium a case study.
กรุงเทพมหานคร : ข่าวสารกองบริการการศึกษา, 11 (83), 8-21.
รณิดา ศิริไพบูลย์. (2541). บทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานห้องสมุดโรงพยาบาล
ทั่วไปสังกัดกองโรงพยาบาลภูมิภาค กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร :
วิทยานิพนธ์ บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาบัณฑิต. คณะอักษร
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ร่างงบประมาณสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2544.
ราม ป้อมทอง. (2541). กระบวนการตัดสินใจเลือกระบบห้องสมุดอัตโนมัติของผู้บริหาร
ห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์
และสารนิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รายงานการศึกษาตนเอง สำนักวิทยบริการ พ.ศ.2547. (2547). กรุงเทพมหานคร :
สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
เรณู เปียซื่อ. (2538). การดำเนินงานห้องสมุดประชาชน. กรุงเทพมหานคร :
เยลโล่การพิมพ์.
ลมุล รัตตากร. (2530). การใช้ห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : สมาคมห้องสมุด
แห่งประเทศไทย.
. (2539). การใช้ห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : สมาคมห้องสมุด
แห่งประเทศไทย.
วาณี ฐาปนวงศ์ศานติ. (ม.ป.ป). กิจกรรมสำหรับห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์
. (2543). การจัดและบริหารงานห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร : โสภณการพิมพ์.
128
ศลีลา ปิ่นเพชร. (2541). การเปิดรับข่าวสารด้านการบริการ ลักษณะการสื่อสาร
ด้านการบริการ และความพึงพอใจ ในการบริการของศูนย์บริการรถยนต์.
กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์นิเทศาสตรพัฒนาการมหาบัณฑิต. คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุจิมน สุภโอภาส. (2543). การใช้และการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของผู้ใช้ห้องสมุด
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (2545). รายงานประจำปี 2545 สำนักวิทยบริการ.
สมจิต พรหรมเทพ. (2542). บริการสื่อสารนิเทศกับการพัฒนาชนบท. เชียงใหม่ :
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.
สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ. (2543). การเตรียมความพร้อมของสำนักงานสภา
สถาบันราชภัฏ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ.
สุกานดา ดีโพธิ์กลาง และคนอื่น ๆ . (2540). ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : แผนกพัสดุ สำนักการเงินและทรัพย์สิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. 2521. การใช้บริการและการเขียนรายงานการค้นคว้า.
กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
. (2542). การใช้บริการและการเขียนรายงานการค้นคว้า. พิมพ์ครั้งที่ 12.
กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
สุธีรา น้อยจันอัด. (2541). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานของห้องสมุดสถาบันราชภัฏ.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุรักษ์ สุทธิประภา. 2542. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะกับการปฏิบัติงาน
ด้านการวางแผนการศึกษา และงบประมาณ ของวิทยาลัยการอาชีพใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : วิทยานิพนธ์การบริหารการศึกษามหาบัณฑิต.
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุริทอง ศรีสะอาด. (2543-2544). แนวทางการพัฒนาห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไปสู่
เกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544. สำนักวิทยบริการ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
129
อมรรัตน์ เชาวิลิต. (2541). “ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับมหาบัณฑิตต่อระบบการจัด
บริการสารนิเทศของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเกริก”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2544). วิถีทรรศน์อุดมศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21.
กรุงเทพมหานคร : อนุสารอุดมศึกษา, 27 (271) , 12-23.
อัมพร ทีขะระ. (2528). ศัพท์วิชาการบรรณารักษศาสตร์. กรุงเทพมหานคร :
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัมพร ปั้นศรี. (2526-2529). สัมฤทธิผลของความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัย
ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. (2542). สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. สุวีริยาสาส์น.
ACRL. (1995). Standards for College Libraries 1995 Edition. College and Research
Library News. 59 (4) : 245-257 : April 1995.
ACRL. (2004). Association. Of College and Research Libraries Standards for College
2000 Edition. http://www.ala.org/acrl/collge.html.
Beeler, M.G. Fancher and others. (1974). Measuring the Quality of Library Service
: A Handbook. Metuchen, N.J. : Scareerow Press.
Bloomberg, Marty. (1977). Introduction to Public Services for Library Technicians.
2 nd ed. Littleton, Colo. : Libraries Unlimited.
Brophy, Peter, (2000). Academic Library. London: Library Association Publishing.
Clark, Burton R., and Guy R Neave. (1992). The Encyclopedia of Higher Education.
New York: Pergamon Press.
Lee, Hwa-Wei. (1998). “The Library of the Future, Overview.” Ohio University
Libraries : 1997-98 Annual Report.
Osiobe, Stephen Achavwuko. (1984). “Use of Information Resources by Faculty
and Students in Nigerian Medical Schools,” Dissertation Abstracts International.
45 : 1562-A.
Parrott, Marietta and others. (1982). Vocational Student and Instructors Perceptions
and Usage of COS Library Services Visalia, Calif : College of the Seguoias,
Visalia.
Ruetten, Lydia Morrow, Rebecca R. Bostain, and Diane Dates Casey. “Implementing
ACRL’s Standards for College Libraries,” College and Research Library News.
61(7) : 570, July – August 2000. (Online) :
16 January 2003.
ภาคผนวก ก
หนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ
พิเศษ/ 2546 สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
9 กรกฎาคม 2546
132
เรื่อง เรียนเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาเครื่องมือในการทำวิทยานิพนธ์
เรียน
สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. เค้าโครงวิทยานิพนธ์ จำนวน 1 ชุด
2. แบบสอบถาม จำนวน 2 ชุด
ด้วย นางสาววรุณรัตน์ คนซื่อ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา-
บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ รุ่นที่ 1 สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กำลังทำวิทยา-
นิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา” โดยมีคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ดังนี้
1. ผศ.ดร.ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ
2. รศ.ดร.นันทา วิทวุฒิศักดิ์
การทำวิทยานิพนธ์ครั้งนี้นักศึกษาจำเป็นต้องตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
ของเครื่องมือ เพื่อให้ได้เครื่องมือที่สมบูรณ์ ที่สุด ทางบัณ ฑิตวิทยาลัยได้พิจารณ าเห็นว่าท่าน
เป็นผู้ทรงคุณ วุฒิ มีความรู้ความสามารถทางด้านการทำ วิจัยเป็นอย่างดี จึงขอเรียนเชิญ ท่าน
เป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือดังกล่าว
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์แก่นักศึกษาด้วยจักเป็นพระคุณยิ่ง
ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์ นันทา วิทวุฒิศักดิ์)
รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ITEM SPECIFICATION
อาจารย์/บรรณารักษ์
มิติ จำนวนข้อ ข้อคำถาม ตอนที่
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 3 1, 2, 3 1
2. ด้านบริหารจัดการ 3 1, 2, 3 2
3. ด้านการวางแผนและการนำกลยุทธ์มาใช้ 3 4, 5, 6 2
บัณฑิตวิทยาลัย
โทร. 890-0841-50 ต่อ 809
โทรสาร 890-1786
133
4. ด้านงบประมาณ 3 7, 8, 9 2
5. ด้านบุคลากร 3 10, 11, 12
6. ด้านทรัพยากร
6.1 (การจัดหา) 3 13, 14, 15 2
6.2 (วัสดุตีพิมพ์ - หนังสือ) 2 16, 17 2
6.3 (วัสดุตีพิมพ์ - วารสาร) 2 18, 19 2
6.4 (วัสดุไม่ตีพิมพ์) 2 20, 21 2
6.5 (สื่ออิเล็กทรอนิกส์) 2 22, 23 2
7. ด้านบริการ ประเภทบริการและวิธีการ
7.1 บริการพื้นฐาน 3 24, 25, 26 2
7.2 บริการตอบคำถาม 2 27, 28 2
7.3 บริการพิเศษ 2 29, 30 2
7.4 บริการสื่อโสตทัศน์ 3 31, 32, 33 2
7.5 บริการ Internet 3 34, 35, 36 2
8. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
8.1 บรรยากาศภายในห้องสมุด 3 37, 38, 39 2
8.2 อาคารห้องสมุด 3 40, 41, 42 2
8.3 ครุภัณฑ์ 4 43, 44, 45, 46 2
9. ด้านการเข้าถึง 3 47, 48, 49 2
10. ด้านการเรียนการสอน
10.1 ปฐมนิเทศห้องสมุด 3 50, 51, 52 2
10.2 การสอนการใช้ห้องสมุด 3 53, 54, 55 2
11. ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
11.1 การสื่อสารกับผู้ใช้ 4 56, 57, 58, 59 2
11.2 ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด 3 60, 61, 62 2
12. ด้านประเมินและผลลัพธ์ 5 63, 64, 65, 66, 67 2
ITEM SPECIFICATION
นักศึกษา
134
มิติ จำนวนข้อ ข้อคำถาม ตอนที่
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 5 1, 2, 3, 4, 5 1
2. ด้านทรัพยากร
2.1 (การจัดหา) 3 1, 2, 3 2
2.2 (วัสดุตีพิมพ์ - หนังสือ) 2 4, 5 2
2.3 (วัสดุตีพิมพ์ - วารสาร) 2 6, 7 2
2.4 (วัสดุไม่ตีพิมพ์) 2 8, 9 2
2.5 (สื่ออิเล็กทรอนิกส์) 2 10, 11 2
3. ด้านบริการ ประเภทบริการและวิธีการ
3.1 บริการพื้นฐาน 3 12, 13, 14 2
3.2 บริการตอบคำถาม 2 15, 16 2
3.3 บริการพิเศษ 2 17, 18 2
3.4 บริการสื่อโสตทัศน์ 3 19, 20, 21 2
3.5 บริการ Internet 3 22, 23, 24 2
4. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
4.1 บรรยากาศภายในห้องสมุด 3 25, 26, 27 2
4.2 อาคารห้องสมุด 3 28, 29, 30 2
4.3 ครุภัณฑ์ 4 31, 32, 33, 34 2
5. ด้านการเข้าถึง 3 35, 36, 37 2
6. ด้านการเรียนการสอน
6.1 ปฐมนิเทศห้องสมุด 3 38, 39, 40 2
6.2 การสอนการใช้ห้องสมุด 3 41, 42, 43 2
7. ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
6.1 การสื่อสารกับผู้ใช้ 4 44, 45, 46, 47 2
6.2 ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด 3 48, 49, 50 2
135
ภาคผนวก ข
แบบสอบถามสำหรับการตรวจสอบความเที่ยงตรง
ชุดที่ 1 (ถามอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด)
ชุดที่ 2 (ถามนักศึกษา)
136
แบบสอบถาม
การวิจัยเรื่อง
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้มีทั้งหมด 3 ตอน
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องข้อความที่ตรงกับสถานภาพของท่าน
แบบสอบถามสำหรับอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
1. เพศ
1. ชาย 2. หญิง
2. ระดับการศึกษาสูงสุด
1. ปริญญาตรี 2. ประกาศนียบัตรบัณฑิต
3. ปริญญาโท 4. ปริญญาเอก
5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)…………………………………………
3. ประสบการณ์ในการทำงานในวิชาชีพบรรณารักษ์
1. 5 ปี 2. 6 – 10 ปี 3. 11-15 ปี
4. 16-20 ปี 5. 21 ปีขึ้นไป
ชุดที่ 1
การประเมิน
1 0 -1
137
ตอนที่ 2 คำถามเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการสถาบัน-
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประกอบด้วยคำถามที่บูรณาการการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในกรอบของเกณฑ์มาตรฐาน 11 ด้าน ของสมาคมห้องสมุด
อเมริกัน กรอบงานประกันคุณภาพหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกรอบมาตรฐานห้องสมุด
สถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย แบ่งเป็น 11 ด้าน ดังนี้
ด้านการบริหาร ด้านการวางแผน ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร ด้านทรัพยากร
ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการเข้าถึง ด้านการสอน ด้านการสื่อสารและ
ความร่วมมือ และ ด้านการประเมินและผลลัพธ์ โดยการให้ระดับของประสิทธิภาพแต่ละรายการ
แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง มีประสิทธิภาพมากที่สุด
4 หมายถึง มีประสิทธิภาพมาก
3 หมายถึง มีประสิทธิภาพปานกลาง
2 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อย
1 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อยที่สุด
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
1. ด้านการบริหาร
1. มีระบบบริหารงานบุคคลโดยมีการกำหนดตำแหน่ง
และการประเมินผล
2. มีการฝึกอบรมให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับให้มีความรู้
ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3. มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ด้านจิตสำนึก และทักษะใน
การสื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย และรับฟังความคิด
เห็นของผู้ใช้
2. ด้านการวางแผน
138
4. มีแผนกลยุทธ์สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน
5. มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลงาน
อย่างสม่ำเสมอ
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
6. มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ
3. ด้านงบประมาณ
7. ห้องสมุดมีความสามารถในการใช้งบประมาณให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
8. ปริมาณงบประมาณใช้สำหรับการพัฒนาบริการ
ห้องสมุดให้ดีขึ้น
9. มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมการใช้งบ
ประมาณให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
4. ด้านบุคลากร
10. บุคลากรมีปริมาณสอดคล้องกับภาระงาน
11. บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
12. บุคลากรเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในวิชาชีพ
บรรณารักษ์เป็นอย่างดี
5. ด้านทรัพยากร
การจัดหา
13. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลาย รวมทั้ง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้บริการ สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้ใช้
14. ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการมีจำนวนเพียงพอ
กับการใช้ของผู้ใช้
15. ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ และมีการสอบ
ถามผู้ใช้บริการสม่ำเสมอในการจัดหาทรัพยากร
สารสนเทศ
วัสดุตีพิมพ์ - หนังสือ
16. หนังสือที่มีให้บริการมีความเพียงพอสอดคล้อง
139
กับความต้องการของผู้ใช้
17. เมื่อหาหนังสือบนชั้นไม่พบเจ้าหน้าที่สามารถบอก
ให้ทราบถึงสถานภาพของหนังสือนั้นได้อย่างรวดเร็ว
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
วัสดุตีพิมพ์ - วารสาร
18. วารสารที่จัดขึ้นชั้นมีจำนวนเพียงพอและสอด
คล้องกับความต้องการของผู้ใช้
19. การจัดเรียงวารสารค้นหาได้ง่าย
วัสดุไม่ตีพิมพ์
20. แถบบันทึกเสียงมีจำนวนเพียงพอและเป็นปัจจุบัน
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
21. การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
22. มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์จำนวนเพียงพอ สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้ใช้
23. การยืม – คืน สะดวกและรวดเร็ว
6. ด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการ
บริการพื้นฐาน
24. มีระบบการให้บริการที่อำนวยความสะดวก ให้คำ
แนะนำแก่ผู้มาใช้บริการและมีบรรยากาศที่ร่มรื่น
น่าเข้ามาใช้บริการ
25. การบริการของสำนักวิทยบริการ เช่น บริการให้
อ่าน บริการยืม-คืน บริการหนังสือจอง เป็นต้น
26. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น จัด
นิทรรศการ อภิปราย เป็นต้น
140
บริการตอบคำถาม
27. ทรัพยากรอ้างอิงมีความทันสมัยและพอเพียงใน
การให้บริการ
28. มีบรรณารักษ์ให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดีเมื่อนัก
ศึกษามีปัญหา
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
บริการพิเศษ
29. หนังสือสำรอง คือ หนังสือที่ยืมได้ 3 วัน ทำการ
และมีความพอเพียงต่อความต้องการ
30. มีการจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศพิเศษ เช่น
ข้อมูลท้องถิ่น “ธนบุรี”
บริการสื่อโสตทัศน์
31. มีความยืดหยุ่นในระเบียบการยืมด้านจำนวนและ
ระยะเวลาในการให้ยืมสื่อ
32. ความเพียงพอของสื่อโสตทัศน์ สอดคล้องกับ
ความต้องการ
33. ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของบุคลากร
บริการ Internet
34. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการให้บริการ
8.30-19.30 น.
35. การเชื่อมต่อ Internet เข้าระบบได้ง่ายไม่ติดขัด
36. ความเพียงพอของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์
ต่อการให้บริการ
7. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
บรรยากาศภายในห้องสมุด
37. ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้สื่อในการสืบค้นได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
141
38. บรรยากาศในสำนักวิทยบริการเหมาะสม
แก่การอ่านหนังสือ
39. เมื่อเข้ามาใช้บริการสำนักวิทยบริการแล้วอยาก
เข้ามาใช้บริการอีก
อาคารห้องสมุด
40. สำนักวิทยบริการตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้
บริการและเป็นศูนย์กลางของสถาบัน
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
41. จำนวนที่นั่งสำหรับนักศึกษาค้นคว้าภายในสำนัก
วิทยบริการมีจำนวนเพียงพอ
42. เนื้อที่สำหรับจัดเก็บทรัพยากรสำนักวิทยบริการ
มีความเหมาะสม
ครุภัณฑ์
43. มีครุภัณฑ์จำนวนเพียงพอและเหมาะสมกับงาน
ห้องสมุดและการให้บริการ
44. ชั้นวางหนังสือ ชั้นวางวารสาร และที่วางหนังสือ
พิมพ์มีความเหมาะสม สะดวกต่อการใช้งาน
45. เคาน์เตอร์ ยืม-คืน หนังสือมีความเหมาะสม
สะดวกต่อการใช้งาน
46. ทางเข้า-ออก สำนักวิทยบริการมีความสะดวก
8. ด้านการเข้าถึง
47. มีเครื่องมือช่วยค้นคว้าสะดวกและรวดเร็ว
48. จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระเบียบสะดวก
ต่อการเข้าถึง
49. เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศในระดับสถาบัน
ท้องถิ่นและสากล
142
9. ด้านการสอน
ปฐมนิเทศห้องสมุด
50. เนื้อหาและระยะเวลาในการจัดการปฐมนิเทศมี
ความเหมาะสมครอบคลุมการใช้งานสำนักวิทยบริการ
51. คู่มือการใช้สำนักวิทยบริการอธิบายเนื้อหาได้
ชัดเจนเข้าใจง่าย
52. แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ได้
ชัดเจนเข้าใจง่าย และได้เห็นของจริง
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
การสอนการใช้ห้องสมุด
53. สำนักวิทยบริการมีวิธีดำเนินการช่วยกระตุ้นการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตโดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศผสมกับ
เทคโนโลยีใหม่ ๆ
54. ห้องที่ใช้ในการสอนมีความเหมาะสม อยู่ใกล้
สำนักวิทยบริการ
55. อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนมีความพร้อม
10. ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
การสื่อสารกับผู้ใช้
56. มีเครือข่ายสำนักวิทยบริการของสถาบันเพื่อการ
เข้าถึงแหล่งสารสนเทศของสถาบันอื่น ๆ ได้
57. มีความชัดเจนของแผนผังที่แสดงส่วนต่าง ๆ ของ
สำนักวิทยบริการ
58. มีการจัดป้ายนิทรรศการให้บริการข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์
59. มีการประชาสัมพันธ์เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของ
สำนักวิทยบริการผ่านสื่อ เช่น วารสารสำนักวิทย
บริการ หรือเว็บไซต์ของสถาบัน
143
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
60. สำนักวิทยบริการมีความร่วมมือกับห้องสมุด
สถาบันอื่น เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ร่วมกัน
61. มีการร่วมมือกับชุมชนด้านการจัดเก็บ
62. มีการร่วมมือกับชุมชนในด้านการบริการ
11. ด้านการประเมินและประเมินผลลัพธ์
63. มีระบบการประเมินคุณภาพของสำนักวิทยบริการ
เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการให้เป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานฯ
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
64. มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานในสำนักวิทย
บริการทุกงานเพื่อควบคุมคุณภาพขึ้นภายในสำนัก
วิทยบริการอย่างเป็นทางการ
65. มีการประเมินแผนงานและโครงการปฏิบัติงานใน
สำนักวิทยบริการทุกงาน
66. มีการศึกษาตนเองอย่างเป็นทางการของสำนักวิทย
บริการเพื่อค้นหาจุดอ่อนและแนวทางแก้ไข
ค้นหาจุดแข็งและแนวทางเสริม
67. มีการประเมินผลงานบริการสำนักวิทยบริการหรือ
ประเมินความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการอย่างสม่ำเสมอ
68. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่น ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..
144
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..
ผู้วิจัยขอขอบคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้สละเวลาตอบแบบสอบถามฉบับนี้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ
ดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ ต่อไปในอนาคต
นางสาววรุณรัตน์ คนซื่อ
(ผู้วิจัย)
แบบสอบถาม
การวิจัยเรื่อง
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้มีทั้งหมด 3 ตอน
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องข้อความที่ตรงกับสถานภาพของท่าน
แบบสอบถามสำหรับนักศึกษา
1. เพศ
�� 1. ชาย �� 2. หญิง
2. ระยะเวลาในการเรียน
�� 1. 1 ปี �� 2. 2 ปี �� 3. 3 ปี
�� 4. 4 ปี �� 5. 4 ปี ขึ้นไป
ชุดที่ 2
การประเมิน
1 0 -1
145
3. ประเภทของนักศึกษา
�� 1. นักศึกษาปริญญาโท �� 2. นักศึกษา ภาค กศ.บป.
�� 3. นักศึกษาภาคปกติ
ตอนที่ 2 คำถามเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการสถาบัน-
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประกอบด้วยคำถามที่บูรณาการการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในกรอบของเกณฑ์มาตรฐาน 11 ด้าน ของสมาคมห้องสมุด
อเมริกัน กรอบงานประกันคุณภาพหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกรอบมาตรฐานห้องสมุด
สถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย แบ่งเป็น 6 ด้าน ดังนี้
ด้านทรัพยากร ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำ นวยความสะดวก ด้านการเข้าถึง
ด้านการสอน และด้านการสื่อสารและความร่วมมือ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง มีประสิทธิภาพมากที่สุด
4 หมายถึง มีประสิทธิภาพมาก
3 หมายถึง มีประสิทธิภาพปานกลาง
2 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อย
1 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อยที่สุด
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
146
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
1. ด้านทรัพยากร
การจัดหา
1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลาย รวมทั้ง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้บริการ สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้ใช้
2. ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการมีจำนวนเพียงพอ
กับการใช้ของผู้ใช้
3. ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ และมีการสอบถาม
ผู้ใช้บริการสม่ำเสมอในการจัดหาทรัพยากรสาร
สนเทศ
วัสดุตีพิมพ์ - หนังสือ
4. หนังสือที่มีให้บริการมีความเพียงพอสอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้ใช้
5. เมื่อหาหนังสือบนชั้นไม่พบเจ้าหน้าที่สามารถบอก
ให้ทราบถึงสถานภาพของหนังสือนั้นได้อย่างรวดเร็ว
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
วัสดุตีพิมพ์ - วารสาร
6. วารสารที่จัดขึ้นชั้นมีจำนวนเพียงพอและมีความ
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
7. การจัดเรียงวารสารค้นหาได้ง่าย
วัสดุไม่ตีพิมพ์
8. แถบบันทึกเสียงมีจำนวนเพียงพอและเป็นปัจจุบัน
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
9. การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
10. มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์จำนวนเพียงพอ สอดคล้องกับ
147
ความต้องการของผู้ใช้
11. การยืม – คืน สะดวกและรวดเร็ว
2. ด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการ
บริการพื้นฐาน
12. มีระบบการให้บริการที่อำนวยความสะดวก
ให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้บริการ และมีบรรยากาศ
ที่ร่มรื่นน่าเข้ามาใช้บริการ
13. การบริการของสำนักวิทยบริการ เช่น บริการให้
อ่าน บริการยืม-คืน บริการหนังสือจอง เป็นต้น
14. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น จัด
นิทรรศการ อภิปราย เป็นต้น
บริการตอบคำถาม
15. ทรัพยากรอ้างอิงมีความทันสมัยและพอเพียงใน
การให้บริการ
16. มีบรรณารักษ์ให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดีเมื่อ
นักศึกษามีปัญหา
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
บริการพิเศษ
17. หนังสือสำรอง คือ หนังสือที่ยืมได้ 3 วัน ทำการ
และมีความพอเพียงต่อความต้องการ
18. มีการจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศพิเศษ เช่น
ข้อมูลท้องถิ่น “ธนบุรี”
บริการสื่อโสตทัศน์
19. มีความยืดหยุ่นในระเบียบการยืมด้านจำนวนและ
ระยะเวลาในการให้ยืมสื่อ
20. ความเพียงพอของสื่อโสตทัศน์ สอดคล้องกับ
ความต้องการ
148
21. ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของบุคลากร
บริการ Internet
22. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการให้บริการ
8.30-19.30 น.
23. การเชื่อมต่อ Internet เข้าระบบได้ง่ายไม่ติดขัด
24. ความเพียงพอของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อ
การให้บริการ
3. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
บรรยากาศภายในห้องสมุด
25. ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้สื่อในการสืบค้นได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
26. บรรยากาศในสำนักวิทยบริการเหมาะสมแก่การ
อ่านหนังสือ
27. เมื่อเข้ามาใช้บริการสำนักวิทยบริการแล้วอยาก
เข้ามาใช้บริการอีก
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
อาคารห้องสมุด
28. สำนักวิทยบริการตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้
บริการและเป็นศูนย์กลางของสถาบัน
29. จำนวนที่นั่งสำหรับนักศึกษาค้นคว้าภายในสำนัก
วิทยบริการมีจำนวนเพียงพอ
30. เนื้อที่สำหรับจัดเก็บทรัพยากรสำนักวิทยบริการ
มีความเหมาะสม
149
ครุภัณฑ์
31. มีครุภัณฑ์จำนวนเพียงพอและเหมาะสมกับงาน
สำนักวิทยบริการและการให้บริการ
32. ชั้นวางหนังสือ ชั้นวางวารสาร และที่วางหนังสือ
พิมพ์มีความเหมาะสม สะดวกต่อการใช้งาน
33. เคาน์เตอร์ ยืม-คืน หนังสือมีความเหมาะสม
สะดวกต่อการใช้งาน
34. ทางเข้า-ออก สำนักวิทยบริการมีความสะดวก
4. ด้านการเข้าถึง
35. มีเครื่องมือช่วยค้นคว้าสะดวกและรวดเร็ว
36. จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระเบียบสะดวกต่อ
การเข้าถึง
37. เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศในระดับสถาบัน
ท้องถิ่นและสากล
5. ด้านการสอน
ปฐมนิเทศห้องสมุด
38. เนื้อหาและระยะเวลาในการจัดการปฐมนิเทศมี
ความเหมาะสมครอบคลุมการใช้งานสำนักวิทยบริการ
39. คู่มือการใช้สำนักวิทยบริการอธิบายเนื้อหาได้
ชัดเจนเข้าใจง่าย
40. แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ
ได้ชัดเจนเข้าใจง่าย และได้เห็นของจริง
ระดับประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงาน
ข้อความ การประเมิน
5 4 3 2 1 1 0 -1
การสอนการใช้ห้องสมุด
41. สำนักวิทยบริการมีวิธีดำเนินการช่วยกระตุ้น
การเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
ผสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ
42. ห้องที่ใช้ในการสอนมีความเหมาะสม อยู่ใกล้
สำนักวิทยบริการ
43. อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนมีความพร้อม
150
6. ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
การสื่อสารกับผู้ใช้
44. มีเครือข่ายสำนักวิทยบริการของสถาบันเพื่อ
การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศของสถาบันอื่น ๆ ได้
45. มีความชัดเจนของแผนผังที่แสดงส่วนต่าง ๆ
ของสำนักวิทยบริการ
46. มีการจัดป้ายนิทรรศการให้บริการข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์
47. มีการประชาสัมพันธ์เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของ
สำนักวิทยบริการผ่านสื่อ เช่น วารสารสำนักวิทย
บริการ หรือเว็บไซต์ของสถาบัน
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
48. สำนักวิทยบริการมีความร่วมมือกับห้องสมุด
สถาบันอื่น เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ร่วมกัน
49. มีการร่วมมือกับชุมชนด้านการจัดเก็บ
50. มีการร่วมมือกับชุมชนในด้านการบริการ
51. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่น ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
151
ผู้วิจัยขอขอบคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้สละเวลาตอบแบบสอบถามฉบับนี้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ
ดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ ต่อไปในอนาคต
นางสาววรุณรัตน์ คนซื่อ
(ผู้วิจัย)
152
ภาคผนวก ค
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม
1. รองศาสตรจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์
ประธานชมรมผู้สอนวิชาบรรณารักษศาสตร์สถาบันอุดมศึกษา
อาจารย์ประจำสาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2. รองศาสตรจารย์ ดร.สมาน ลอยฟ้า
รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. รองศาสตรจารย์ ดร. ลำปาง แม่นมาตย์
อาจารย์ประจำภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจิน บุตรดีสุวรรณ
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
5. รองศาสตรจารย์ จุมพจน์ วนิชกุล
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฎกาญจนบุรี
153
ภาคผนวก ง
แบบสอบถาม ชุดที่ 1 (ถามอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด)
แบบสอบถาม ชุดที่ 2 (ถามนักศึกษา)
154
แบบสอบถาม
การวิจัยเรื่อง
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้มีทั้งหมด 3 ตอน
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องข้อความที่ตรงกับสถานภาพของท่าน
-
แบบสอบถามสำหรับอาจารย์บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
1. เพศ
1. ชาย 2. หญิง
2. ระดับการศึกษาสูงสุด
1. ปริญญาตรี 2. ประกาศนียบัตรบัณฑิต
3. ปริญญาโท 4. ปริญญาเอก
5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)…………………………………………………………
3. ประสบการณ์ในการทำงานในวิชาชีพบรรณารักษ์
ชุดที่ 1
155
1. 5 ปี 2. 6 – 10 ปี 3. 11-15
ปี
4. 16-20 ปี 5. 21 ปีขึ้นไป
ตอนที่ 2 คำถามเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการสถาบัน-
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประกอบด้วยคำถามที่บูรณาการการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในกรอบของเกณฑ์มาตรฐาน 11 ด้าน ของสมาคมห้องสมุด
อเมริกัน กรอบงานประกันคุณภาพหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกรอบมาตรฐานห้องสมุด
สถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย แบ่งเป็น 11 ด้าน ดังนี้
ด้านการบริหาร ด้านการวางแผน ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร ด้านทรัพยากร
ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการเข้าถึง ด้านการสอน ด้านการสื่อสารและ
ความร่วมมือ และ ด้านการประเมินและผลลัพธ์ โดยการให้ระดับของประสิทธิภาพแต่ละรายการ
แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง มีประสิทธิภาพมากที่สุด
4 หมายถึง มีประสิทธิภาพมาก
3 หมายถึง มีประสิทธิภาพปานกลาง
2 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อย
1 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อยที่สุด
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
156
1. ด้านการบริหาร
1. มีระบบบริหารงานบุคคลโดยมีการกำหนดตำแหน่งและการประเมินผล
2. มีการฝึกอบรมให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับให้มีความรู้ความเข้าใจ
สามารถปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3. มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ด้านจิตสำนึก และทักษะในการสื่อสารด้วยภาษา
ที่เข้าใจง่าย และรับฟังความคิดเห็นของผู้ใช้
2. ด้านการวางแผน
4. มีแผนกลยุทธ์สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน
5. มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลงานอย่างสม่ำเสมอ
6. มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ
3. ด้านงบประมาณ
7. ห้องสมุดมีความสามารถในการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
8. ปริมาณงบประมาณใช้สำหรับการพัฒนาบริการห้องสมุดให้ดีขึ้น
9. มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมการใช้งบประมาณให้ถูกต้องและ
มีประสิทธิภาพ
4. ด้านบุคลากร
10. บุคลากรมีปริมาณสอดคล้องกับภาระงาน
11. บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
12. บุคลากรเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในวิชาชีพบรรณารักษ์เป็นอย่างดี
5. ด้านทรัพยากร
การจัดหา
13. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลาย รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น
ให้บริการ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
14. ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการมีจำนวนเพียงพอกับการใช้ของผู้ใช้
15. ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ และมีการสอบถามผู้ใช้บริการสม่ำเสมอ
ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
157
วัสดุตีพิมพ์ - หนังสือ
16. หนังสือที่มีให้บริการมีความเพียงพอสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
17. เมื่อหาหนังสือบนชั้นไม่พบเจ้าหน้าที่สามารถบอกให้ทราบถึงสถานภาพ
ของหนังสือนั้นได้อย่างรวดเร็ว
วัสดุตีพิมพ์ - วารสาร
18. วารสารที่จัดขึ้นชั้นมีจำนวนเพียงพอและสอดคล้องกับความต้องการ
ของผู้ใช้
19. การจัดเรียงวารสารค้นหาได้ง่าย
วัสดุไม่ตีพิมพ์
20. แถบบันทึกเสียงมีจำนวนเพียงพอและเป็นปัจจุบันสอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้ใช้
21. การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
22. มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์จำนวนเพียงพอ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
23. การยืม – คืน สะดวกและรวดเร็ว
6. ด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการ
บริการพื้นฐาน
24. มีระบบการให้บริการที่อำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้บริการ
และมีบรรยากาศที่ร่มรื่นน่าเข้ามาใช้บริการ
25. การบริการของสำนักวิทยบริการ เช่น บริการให้อ่าน บริการยืม-คืน
บริการหนังสือจอง เป็นต้น
26. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น จัดนิทรรศการ อภิปราย เป็นต้น
บริการตอบคำถาม
27. ทรัพยากรอ้างอิงมีความทันสมัยและพอเพียงในการให้บริการ
28. มีบรรณารักษ์ให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดีเมื่อนักศึกษามีปัญหา
158
บริการพิเศษ
29. หนังสือสำรอง คือ หนังสือที่ยืมได้ 3 วัน ทำการ และมีความพอเพียงต่อ
ความต้องการ
30. มีการจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศพิเศษ เช่น ข้อมูลท้องถิ่น “ธนบุรี”
บริการสื่อโสตทัศน์
31. มีความยืดหยุ่นในระเบียบการยืมด้านจำนวนและระยะเวลาในการให้ยืม
สื่อ
32. ความเพียงพอของสื่อโสตทัศน์ สอดคล้องกับความต้องการ
33. ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของบุคลากร
บริการ Internet
34. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการให้บริการ 8.30-19.30 น.
35. การเชื่อมต่อ Internet เข้าระบบได้ง่ายไม่ติดขัด
36. ความเพียงพอของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อการให้บริการ
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
7. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
บรรยากาศภายในห้องสมุด
37. ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้สื่อ
ในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
38. บรรยากาศในสำนักวิทยบริการเหมาะสมแก่การอ่านหนังสือ
39. เมื่อเข้ามาใช้บริการสำนักวิทยบริการแล้วอยากเข้ามาใช้บริการอีก
อาคารห้องสมุด
40. สำนักวิทยบริการตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้บริการและเป็นศูนย์กลาง
ของสถาบัน
41. จำนวนที่นั่งสำหรับนักศึกษาค้นคว้าภายในสำนักวิทยบริการมีจำนวน
เพียงพอ
42. เนื้อที่สำหรับจัดเก็บทรัพยากรสำนักวิทยบริการมีความเหมาะสม
159
ครุภัณฑ์
43. มีครุภัณฑ์จำนวนเพียงพอและเหมาะสมกับงานห้องสมุดและการให้
บริการ
44. ชั้นวางหนังสือ ชั้นวางวารสาร และที่วางหนังสือพิมพ์มีความเหมาะสม
สะดวกต่อการใช้งาน
45. เคาน์เตอร์ ยืม-คืน หนังสือมีความเหมาะสมสะดวกต่อการใช้งาน
46. ทางเข้า-ออก สำนักวิทยบริการมีความสะดวก
8. ด้านการเข้าถึง
47. มีเครื่องมือช่วยค้นคว้าสะดวกและรวดเร็ว
48. จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระเบียบสะดวกต่อการเข้าถึง
49. เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศในระดับสถาบัน ท้องถิ่นและสากล
9. ด้านการสอน
ปฐมนิเทศห้องสมุด
50. เนื้อหาและระยะเวลาในการจัดการปฐมนิเทศมีความเหมาะสม
ครอบคลุมการใช้งานสำนักวิทยบริการ
51. คู่มือการใช้สำนักวิทยบริการอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
52. แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
และได้เห็นของจริง
การสอนการใช้ห้องสมุด
53. สำนักวิทยบริการมีวิธีดำเนินการช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยใช้
ทรัพยากรสารสนเทศผสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ
54. ห้องที่ใช้ในการสอนมีความเหมาะสม อยู่ใกล้สำนักวิทยบริการ
55. อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนมีความพร้อม
10. ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
160
การสื่อสารกับผู้ใช้
56. มีเครือข่ายสำนักวิทยบริการของสถาบันเพื่อการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
ของสถาบันอื่น ๆ ได้
57. มีความชัดเจนของแผนผังที่แสดงส่วนต่าง ๆ ของสำนักวิทยบริการ
58. มีการจัดป้ายนิทรรศการให้บริการข่าวสารที่เป็นประโยชน์
59. มีการประชาสัมพันธ์เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของสำนักวิทยบริการผ่านสื่อ
เช่น วารสารสำนักวิทยบริการ หรือเว็บไซต์ของสถาบัน
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
60. สำนักวิทยบริการมีความร่วมมือกับห้องสมุดสถาบันอื่น เพื่อให้มีการใช้
ทรัพยากรและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ร่วมกัน
61. มีการร่วมมือกับชุมชนด้านการจัดเก็บ
62. มีการร่วมมือกับชุมชนในด้านการบริการ
11. ด้านการประเมินและประเมินผลลัพธ์
63. มีระบบการประเมินคุณภาพของสำนักวิทยบริการเพื่อเป็นแนวทาง
ในการจัดการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานฯ
64. มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานในสำนักวิทยบริการทุกงานเพื่อ
ควบคุมคุณภาพขึ้นภายในสำนักวิทยบริการอย่างเป็นทางการ
65. มีการประเมินแผนงานและโครงการปฏิบัติงานในสำนักวิทยบริการ
ทุกงาน
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
66. มีการศึกษาตนเองอย่างเป็นทางการของสำนักวิทยบริการเพื่อค้นหา
จุดอ่อนและแนวทางแก้ไข ค้นหาจุดแข็งและแนวทางเสริม
67. มีการประเมินผลงานบริการสำนักวิทยบริการหรือประเมินความพึงพอใจ
ของ ผู้ใช้บริการอย่างสม่ำเสมอ
68. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่น ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
161
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ผู้วิจัยขอขอบคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้สละเวลาตอบแบบสอบถามฉบับนี้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ
ดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ ต่อไปในอนาคต
นางสาววรุณรัตน์ คนซื่อ
(ผู้วิจัย)
แบบสอบถาม
การวิจัยเรื่อง
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้มีทั้งหมด 3 ตอน
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องข้อความที่ตรงกับสถานภาพของท่าน
ชุดที่ 2
162
แบบสอบถามสำหรับนักศึกษา
1. เพศ
�� 1. ชาย �� 2. หญิง
2. ระยะเวลาในการเรียน
�� 1. 1 ปี �� 2. 2 ปี �� 3. 3 ปี
�� 4. 4 ปี �� 5. 4 ปี ขึ้นไป
3. ประเภทของนักศึกษา
�� 1. นักศึกษาปริญญาโท �� 2. นักศึกษา ภาค กศ.บป.
�� 3. นักศึกษาภาคปกติ
ตอนที่ 2 คำถามเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการสถาบัน-
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประกอบด้วยคำถามที่บูรณาการการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในกรอบของเกณฑ์มาตรฐาน 11 ด้าน ของสมาคมห้องสมุด
อเมริกัน กรอบงานประกันคุณภาพหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกรอบมาตรฐานห้องสมุด
สถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย แบ่งเป็น 6 ด้าน ดังนี้
ด้านทรัพยากร ด้านการบริการ ด้านสิ่งอำ นวยความสะดวก ด้านการเข้าถึง
ด้านการสอน และ ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง มีประสิทธิภาพมากที่สุด
163
4 หมายถึง มีประสิทธิภาพมาก
3 หมายถึง มีประสิทธิภาพปานกลาง
2 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อย
1 หมายถึง มีประสิทธิภาพน้อยที่สุด
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ ในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
1. ด้านทรัพยากร
การจัดหา
1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลาย รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น
ให้บริการ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
2. ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการมีจำนวนเพียงพอกับการใช้ของผู้ใช้
3. ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ และมีการสอบถามผู้ใช้บริการสม่ำเสมอ
ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
วัสดุตีพิมพ์ - หนังสือ
4. หนังสือที่มีให้บริการมีความเพียงพอสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
5. เมื่อหาหนังสือบนชั้นไม่พบเจ้าหน้าที่สามารถบอกให้ทราบถึงสถานภาพ
ของหนังสือนั้นได้อย่างรวดเร็ว
วัสดุตีพิมพ์ - วารสาร
6. วารสารที่จัดขึ้นชั้นมีจำนวนเพียงพอและมีความสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้ใช้
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
7. การจัดเรียงวารสารค้นหาได้ง่าย
วัสดุไม่ตีพิมพ์
8. แถบบันทึกเสียงมีจำนวนเพียงพอและเป็นปัจจุบันสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้ใช้
164
9. การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
10. มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์จำนวนเพียงพอ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
11. การยืม – คืน สะดวกและรวดเร็ว
2. ด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการ
บริการพื้นฐาน
12. มีระบบการให้บริการที่อำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้
บริการและมีบรรยากาศที่ร่มรื่นน่าเข้ามาใช้บริการ
13. การบริการของสำนักวิทยบริการ เช่น บริการให้อ่าน บริการยืม-คืน
บริการหนังสือจอง เป็นต้น
14. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น จัดนิทรรศการ อภิปราย เป็นต้น
บริการตอบคำถาม
15. ทรัพยากรอ้างอิงมีความทันสมัยและพอเพียงในการให้บริการ
16. มีบรรณารักษ์ให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดีเมื่อนักศึกษามีปัญหา
บริการพิเศษ
17. หนังสือสำรอง คือ หนังสือที่ยืมได้ 3 วัน ทำการ และมีความพอเพียง
ต่อความต้องการ
18. มีการจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศพิเศษ เช่น ข้อมูลท้องถิ่น “ธนบุรี”
บริการสื่อโสตทัศน์
19. มีความยืดหยุ่นในระเบียบการยืมด้านจำนวนและระยะเวลาในการให้ยืม
สื่อ
20. ความเพียงพอของสื่อโสตทัศน์ สอดคล้องกับความต้องการ
21. ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของบุคลากร
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
บริการอินเทอร์เน็ต
22. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการให้บริการ 8.30-19.30 น.
23. การเชื่อมต่อ Internet เข้าระบบได้ง่ายไม่ติดขัด
24. ความเพียงพอของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อการให้บริการ
165
3. ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
บรรยากาศภายในห้องสมุด
25. ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้สื่อ
ในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
26. บรรยากาศในสำนักวิทยบริการเหมาะสมแก่การอ่านหนังสือ
27. เมื่อเข้ามาใช้บริการสำนักวิทยบริการแล้วอยากเข้ามาใช้บริการอีก
อาคารห้องสมุด
28. สำนักวิทยบริการตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้บริการและเป็นศูนย์กลาง
ของสถาบัน
29. จำนวนที่นั่งสำหรับนักศึกษาค้นคว้าภายในสำนักวิทยบริการมีจำนวน
เพียงพอ
30. เนื้อที่สำหรับจัดเก็บทรัพยากรสำนักวิทยบริการมีความเหมาะสม
ครุภัณฑ์
31. มีครุภัณฑ์จำนวนเพียงพอและเหมาะสมกับงานสำนักวิทยบริการและ
การให้บริการ
32. ชั้นวางหนังสือ ชั้นวางวารสาร และที่วางหนังสือพิมพ์มีความเหมาะสม
สะดวกต่อการใช้งาน
33. เคาน์เตอร์ ยืม-คืน หนังสือมีความเหมาะสมสะดวกต่อการใช้งาน
34. ทางเข้า-ออก สำนักวิทยบริการมีความสะดวก
4. ด้านการเข้าถึง
35. มีเครื่องมือช่วยค้นคว้าสะดวกและรวดเร็ว
36. จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระเบียบสะดวกต่อการเข้าถึง
37. เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศในระดับสถาบัน ท้องถิ่นและสากล
ระดับประสิทธิภาพ
ข้อความ ของการปฏิบัติงาน
5 4 3 2 1
5. ด้านการสอน
166
ปฐมนิเทศห้องสมุด
38. เนื้อหาและระยะเวลาในการจัดการปฐมนิเทศมีความเหมาะสม
ครอบคลุมการใช้งานสำนักวิทยบริการ
39. คู่มือการใช้สำนักวิทยบริการอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
40. แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
และได้เห็นของจริง
การสอนการใช้ห้องสมุด
41. สำนักวิทยบริการมีวิธีดำเนินการช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยใช้
ทรัพยากรสารสนเทศผสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ
42. ห้องที่ใช้ในการสอนมีความเหมาะสม อยู่ใกล้สำนักวิทยบริการ
43. อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนมีความพร้อม
6. ด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
การสื่อสารกับผู้ใช้
44. มีเครือข่ายสำนักวิทยบริการของสถาบันเพื่อการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
ของสถาบันอื่น ๆ ได้
45. มีความชัดเจนของแผนผังที่แสดงส่วนต่าง ๆ ของสำนักวิทยบริการ
46. มีการจัดป้ายนิทรรศการให้บริการข่าวสารที่เป็นประโยชน์
47. มีการประชาสัมพันธ์เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของสำนักวิทยบริการผ่านสื่อ
เช่น วารสารสำนักวิทยบริการ หรือเว็บไซต์ของสถาบัน
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
48. สำนักวิทยบริการมีความร่วมมือกับห้องสมุดสถาบันอื่น เพื่อให้มีการใช้
ทรัพยากรและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ร่วมกัน
49. มีการร่วมมือกับชุมชนด้านการจัดเก็บ
50. มีการร่วมมือกับชุมชนในด้านการบริการ
51. ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่น ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
167
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………
ผู้วิจัยขอขอบคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้สละเวลาตอบแบบสอบถามฉบับนี้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ
ดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ ต่อไปในอนาคต
นางสาววรุณรัตน์ คนซื่อ
(ผู้วิจัย)
168
ภาคผนวก จ
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ นางสาววรุณรัตน์ คนซื่อ
169
วัน เดือน ปีเกิด 6 กันยายน 2512
สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2540
สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา
ตำแหน่งและสถานที่ทำงาน
- บัณฑิตศึกษา สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ (ตอนที่ 1)
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ (ตอนที่ 2)
การศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงานของสำนักวิทยบริการ (ตอนที่ 3)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น