วันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา (ตอนที่ 2)



4. ให้ความรู้และคำแนะนำ
เรื่องระเบียบการวัดและ
ประเมินผล 4.00 0.87 มาก 3.38 0.92 ปานกลาง 8.61**
5. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการ
คำนวณหาค่าระดับเฉลี่ย 3.80 0.95 มาก 3.20 0.94 ปานกลาง 7.89**
6. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
การนับเวลาเรียน
เพื่อสิทธิในการสอบ 4.02 0.85 มาก 3.31 0.99 ปานกลาง 12.68**
7. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
หลักเกณฑ์การพ้น
สภาพนักศึกษา 3.81 0.93 มาก 3.23 1.06 ปานกลาง 9.67**
8. ให้คำแนะนำปรึกษา
เกี่ยวกับปัญหาด้าน
วิชาการ 4.07 0.90 มาก 3.41 1.11 ปานกลาง 10.48**
9. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การเรียนเสริมความรู้ 4.00 0.92 มาก 3.25 1.03 ปานกลาง 12.71**
10. ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
ที่มีปัญหาเรื่องการสอบ 4.04 0.86 มาก 3.22 1.04 ปานกลาง 13.90**
11. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
แหล่งวิทยาการต่างๆ 4.05 0.89 มาก 3.26 1.00 ปานกลาง 13.86**
12. ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธี
การเรียนให้ได้ผลดี 4.06 0.83 มาก 3.38 1.05 ปานกลาง 8.95**
13. ติดตามผลการเรียนของ
นักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 4.00 0.87 มาก 3.36 1.06 ปานกลาง 8.21**
46
ตารางที่ 4 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 310)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 310)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
14. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการขอเปลี่ยน
ขอเพิ่มและขอถอน
รายวิชาเรียน 4.03 0.94 มาก 3.29 1.05 ปานกลาง 9.25**
15. ติดต่อประสานงานกับ
หน่วยงานอื่น เพื่อให้
นักศึกษาได้รับบริการที่มี
คุณภาพและรวดเร็ว 4.04 0.95 มาก 3.26 1.10 ปานกลาง 9.40**
รวม 4.03 0.88 มาก 3.32 1.02 ปานกลาง 12.24**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 4 ความคาดหวังของนักศึกษาทุกสาขาวิชาและสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
47
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 4 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านวิชาการ
โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.03, S.D. = 0.88) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า
ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวังเกี่ยวกับให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง
ของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.22,S.D. = 0.78) รองลงมา คือ
ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางเรียนและการลงทะเบียน (X
__
= 4.19, S.D. = 0.80) และ
ให้คำแนะนำวิธีการจัดทำแผนการเรียนตลอดจนจบหลักสูตร (X
__
= 4.09, S.D. = 0.77)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านวิชาการ โดยรวมอยู่
ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.32, S.D. = 1.02 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติ
จริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ โดยสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับ ให้ความรู้ความเข้าใจใน
การจัดตารางเรียนและการลงทะเบียนอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.47, S.D. = 1.06) รองลงมา
คือ ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ (X
__
= 3.45, S.D. = 0.91) และให้
ความรู้และคำแนะนำเรื่องระเบียบการวัดและประเมินผล (X
__
= 3.38, S.D. = 0.92)
3) ความคาดหวังต่อบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านวิชาการแตกต่างจากระดับสภาพ
ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษา ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพ
รวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับ
ความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ และพบว่า
รายการที่ต่ำกว่ามากใน 3 อันดับแรก ได้แก่ ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาที่มีปัญหาเรื่องการสอบ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งวิทยาการต่างๆ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเรียนเสริมความรู้
3. ความคิดเห็นของนักศึกษาทั้งหมดเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษานำมาวิเคราะห์ใน
รายการต่างๆ ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา และนำระดับความคาดหวังและสภาพ
ที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
ตามความคิดเห็นของนักศึกษา มาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงในตารางและ
แผนภูมิที่ 5
48
ตารางที่ 5 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
ความคาดหวัง
(N = 310)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 310)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับนโยบาย
ข้อบังคับและระเบียบ
ปฏิบัติของสถาบัน 4.15 0.81 มาก 3.63 0.95 มาก 9.63**
2. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ข้อปฏิบัติในการใช้
บริการและสวัสดิการ
ต่างๆ ของสถาบัน เช่น
ห้องโสตทัศนศึกษา
ห้องสมุด 3.98 0.87 มาก 3.32 0.95 ปานกลาง 9.04**
3. ให้คำแนะนำในการศึกษา
ต่อในระดับสูงขึ้น 4.05 0.86 มาก 3.26 0.96 ปานกลาง 14.36**
4. ให้คำแนะนำการขอทุน
หรือการกู้ยืมเงินเพื่อ
การศึกษา 3.94 0.87 มาก 3.33 1.08 ปานกลาง 10.00**
5. มีการนัดหมายพบปะ
นักศึกษาที่อยู่ในความรับ
ผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ 4.04 0.90 มาก 3.44 1.17 ปานกลาง 9.09**
6. ให้คำแนะนำเรื่องการ
ดำเนินชีวิตในสถาบัน 3.98 0.88 มาก 3.24 1.10 ปานกลาง 9.25**
7. ให้คำแนะนำในเรื่อง
การแก้ปัญหาส่วนตัว 3.93 1.01 มาก 3.08 1.13 ปานกลาง 13.28**
49
ตารางที่ 5 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 310)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 310)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
8. จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้าง
ความเป็นกันเองระหว่าง
อาจารย์กับนักศึกษา 4.11 0.89 มาก 3.36 1.10 ปานกลาง 9.38**
9. จัดกิจกรรมให้นักศึกษา
พัฒนาตนเอง 4.00 0.90 มาก 3.36 1.04 ปานกลาง 10.85**
10. กระตุ้นให้นักศึกษารู้จัก
พัฒนาตนเองทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา 4.07 0.88 มาก 3.44 1.02 ปานกลาง 10.86**
11. ให้การอบรมและ
ตรวจสอบพฤติกรรม
ของนักศึกษา 4.01 0.91 มาก 3.34 1.10 ปานกลาง 10.81**
12. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การคบเพื่อนและ
การปรับตัวในสังคม 3.94 0.91 มาก 3.22 1.01 ปานกลาง 9.35**
13. ให้คำแนะนำเรื่อง
การปรับปรุงบุคลิกภาพ 4.02 0.85 มาก 3.39 1.03 ปานกลาง 8.28**
14. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การแบ่งเวลาเพื่อการเรียน
และการทำกิจกรรมต่างๆ
ในสถาบัน 4.08 0.88 มาก 3.45 1.07 ปานกลาง 10.33**
รวม 4.02 0.89 มาก 3.35 1.06 ปานกลาง 8.48**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
50
แผนภูมิที่ 5 ความคาดหวังของนักศึกษาทุกสาขาวิชาและสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 5 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิการ
และการพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.02, S.D. = 0.89) เมอื่ พจิ ารณาเปน็
รายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวังเกี่ยวกับการให้
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของสถาบันอยู่ในระดับสูงสดุ
(X
__
= 4.15, S.D. = 0.81) รองลงมา คือ จดั ทาํ กจิ กรรมเพอื่ สรา้ งความเปน็ กนั เองระหวา่ ง
อาจารย์กับนักศึกษา (X
__
= 4.11, S.D. = 0.89) และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการแบ่งเวลาเพื่อ
การเรียนและการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในสถาบัน (X
__
= 4.08, S.D. = 0.88)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.35, S.D. = 1.06 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็
รายการ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ ยกเว้น สภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับ การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของสถาบันอยู่ใน
ระดับมาก โดยสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับ
51
และระเบียบปฏิบัติของสถาบันอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.63, S.D. = 0.95) รองลงมา คือ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการแบ่งเวลาเพื่อการเรียนและการทำกิจกรรมต่างๆ ในสถาบัน (X
__
= 3.45,
S.D. = 1.07) และกระตุ้นให้นักศึกษา รู้จักพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญา (X
__
= 3.44, S.D. = 1.02)
3) ระดับความคาดหวังต่อบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัสดิภาพและการพัฒนา
นักศึกษา แตกต่างจากระดับสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาที่ระดับความ
มีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ย
ของระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง ตามความ
คิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิภาพและ
การพัฒนานักศึกษาต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งในผลสรุปรวมและแต่ละรายการ
ทุกรายการ และพบว่ารายการที่ต่ำกว่ามาก 3 อันดับแรก ได้แก่ ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อใน
ระดับสูงขึ้น ให้คำแนะนำในเรื่องการแก้ปัญหาส่วนตัว และกระตุ้นให้นักศึกษารู้จักพัฒนาตนเอง
ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
4. ความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษานำมาวิเคราะห์ในรายการ
ต่างๆ ด้านการบริการทั่วไป และนำระดับความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษา
มาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงในตารางและแผนภูมิที่ 6
52
ตารางที่ 6 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ด้านการบริการทั่วไป
ความคาดหวัง
(N = 310)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 310)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ทำหน้าที่ประสานงานกับ
อาจารย์ผู้สอนในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา 4.22 0.72 มาก 3.45 0.97 ปานกลาง 11.59**
2. การให้คำแนะนำวิธี
การติดต่อกับหน่วยงาน
อื่น ๆ ในสถาบัน 4.01 0.78 มาก 3.23 0.96 ปานกลาง 14.18**
3. การทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง
ที่ดีระหว่างผู้บริหารกับ
นักศึกษา 3.98 0.89 มาก 3.21 1.01 ปานกลาง 10.13**
4. ให้การรับรองนักศึกษา
เมื่อนักศึกษาต้องการใช้
เอกสารรับรองเป็น
หลักฐานต่างๆ 4.19 0.78 มาก 3.53 1.01 มาก 11.58**
5. แจ้งประกาศข่าวสาร
ที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษา
ทราบ 4.13 0.76 มาก 3.43 1.01 ปานกลาง 12.28**
6. การมีส่วนร่วมเข้าร่วม
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ 3.97 0.82 มาก 3.41 1.01 ปานกลาง 10.57**
7. การเข้าร่วมปฐมนิเทศ
นักศึกษา 4.04 0.84 มาก 3.45 0.93 ปานกลาง 11.13**
8. เชิญวิทยากรมาบรรยาย
ความรู้เพิ่มเสริมให้แก่
นักศึกษา 4.08 0.85 มาก 3.38 1.08 ปานกลาง 8.97**
53
ตารางที่ 6 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 310)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 310)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
9. นำนักศึกษาไปทัศนศึกษา
แหล่งความรู้ต่างๆ 4.15 0.86 มาก 3.13 1.15 ปานกลาง 15.69**
10. ให้ข้อมูล ความรู้ และ
คำแนะนำเรื่องการ
เตรียมตัวและเทคนิค
ในการทำงานให้
ประสบความสำเร็จ 4.20 0.81 มาก 3.44 1.11 ปานกลาง 9.74**
รวม 4.10 0.87 มาก 3.37 1.04 ปานกลาง 9.48**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 6 ความคาดหวังของนักศึกษาทุกสาขาวิชาและสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
54
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 6 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.10, S.D. = 0.87)
เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวัง
เกี่ยวกับการทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอยู่ในระดับ
สูงสุด (X
__
= 4.22, S.D. = 0.72) รองลงมา คือ ให้ข้อมูล ความร ู้ และคำแนะนำเรื่อง
การเตรียมตัวและเทคนิคในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ (X
__
= 4.20, S.D. = 0.81) และให้
การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่าง ๆ (X
__
= 4.19, S.D.
= 0.78)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ ด้านการบริการทั่วไป โดยรวม
อยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.37, S.D. = 1.04) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายการ พบว่า สภาพ
ที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ ยกเว้นสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้
การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่าง ๆ อยู่ในระดับมาก
โดยสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับให้การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็น
หลักฐานต่าง ๆ อยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.53, S.D. = 1.01) รองลงมา คือ การเข้าร่วม
ปฐมนิเทศนักศึกษา (X
__
= 3.45, S.D. = 0.93) และการทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอน
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา (X
__
= 3.45, S.D. = 0.97)
3) ระดับความคาดหวังต่อบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านการบริการทั่วไป
แตกต่างจากระดับสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาที่ระดับความมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษา ค่าเฉลี่ยของระดับ
ความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านการบริการทั่วไป
ต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งในผลสรุปรวมและแต่ละรายการ ทุกรายการ และพบว่า
รายการที่ต่ำกว่ามาก 3 อันแรก ได้แก่ ทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา ให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ ในสถาบัน และ
แจ้งประกาศข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาทราบ
55
ตอนที่ 3 ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา
วิชาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาท ของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำแนกเป็นรายด้านและรวมทุกด้าน
จากข้อมูลการศึกษาระดับความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา และสภาพ
ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษาในด้านต่างๆ ทั้ง 3 ด้าน นำมาวิเคราะห์ได้ผลดังนี้
1. ความคาดหวังและสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา
ที่มีต่อบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษานำมาวิเคราะห์ในแต่ละด้าน และรวมทุกด้าน นำมาวิเคราะห์
ด้วยค่าเฉลี่ย (X
__
) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. ) นำความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในด้านต่างๆ ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชา
การศึกษา มาเปรียบเทียบโดยใช้ค่าสถิติที เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความคาดหวังกับ
สภาพที่ปฏิบัติจริง ได้ผลดังแสดงในตารางและแผนภูมิที่ 7
ตารางที่ 7 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำแนกเป็นรายด้าน และรวมทุกด้าน
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา t
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
ด้านวิชาการ 3.86 0.90 มาก 3.17 1.01 ปานกลาง 4.23**
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา 3.86 0.95 มาก 3.16 1.02 ปานกลาง 4.19**
ด้านการบริการทั่วไป 3.95 0.82 มาก 3.17 0.99 ปานกลาง 5.03**
รวม 3.89 0.90 มาก 3.16 1.01 ปานกลาง 4.48**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
56
แผนภูมิที่ 7 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาและสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 7 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่
ปรึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.89, S.D. = 0.90) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยมีความคาดหวังด้านบริการทั่วไปอยู่ในระดับสูงสุด
(X
__
= 3.95, S.D. = 0.82) รองลงมา คือ ด้านวิชาการ (X
__
= 3.86, S.D. = 0.90) และด้าน
สวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา (X
__
= 3.86, S.D. = 0.95)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาการศึกษา
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.16, S.D. = 1.01) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า
สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับด้านการบริการ
ทั่วไปอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.17, S.D. = 0.99) รองลงมา คือ ด้านวิชาการ (X
__
= 3.17,
S.D. = 1.01) และด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา (X
__
= 3.16, S.D. = 1.02)
57
3) ความคาดหวังกับสภาพปฏิบัติจริงของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับ
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ทั้งในด้านวิชาการ
ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ด้านบริการทั่วไป และรวมทุกด้าน โดยนักศึกษา
มีความคาดหวังสูงกว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
2. ความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษานำมาวิเคราะห์ในรายการ
ต่างๆ ด้านวิชาการ และนำระดับความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษาด้านวิชาการ ตามความคิดเห็นของนักศึกษา ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วย
ค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงในตารางที่ 8
ตารางที่ 8 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง
ของหลักสูตรที่กำลัง
ศึกษาอยู่ 4.14 0.79 มาก 3.43 0.87 ปานกลาง 7.87**
2. ให้คำแนะนำวิธีการจัด
ทำแผนการเรียนตลอดจน
จบหลักสูตร 3.94 0.75 มาก 3.12 0.96 ปานกลาง 5.58**
3. ให้ความรู้ความเข้าใจใน
การจัดตารางเรียนและ
การลงทะเบียน 3.97 0.92 มาก 3.36 1.04 ปานกลาง 4.88**
4. ให้ความรู้และคำแนะนำ
เรื่องระเบียบการวัดและ
ประเมินผล 3.78 1.00 มาก 3.26 0.90 ปานกลาง 4.81**
58
ตารางที่ 8 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
5. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการ
คำนวณหาค่าระดับเฉลี่ย 3.75 0.98 มาก 3.28 1.01 ปานกลาง 3.85**
6. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
การนับเวลาเรียน
เพื่อสิทธิในการสอบ 3.90 0.88 มาก 3.26 1.07 ปานกลาง 4.96**
7. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
หลักเกณฑ์การพ้น
สภาพนักศึกษา 3.55 0.85 มาก 3.09 1.08 ปานกลาง 3.54**
8. ให้คำแนะนำปรึกษา
เกี่ยวกับปัญหาด้าน
วิชาการ 3.78 0.87 มาก 3.19 1.06 ปานกลาง 4.61**
9. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การเรียนเสริมความรู้ 3.83 0.92 มาก 3.07 1.10 ปานกลาง 5.76**
10. ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
ที่มีปัญหาเรื่องการสอบ 3.87 0.87 มาก 3.07 0.96 ปานกลาง 6.90**
11. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
แหล่งวิทยาการต่างๆ 3.86 0.96 มาก 3.09 1.04 ปานกลาง 6.16**
12. ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธี
การเรียนให้ได้ผลดี 4.04 0.76 มาก 3.19 1.06 ปานกลาง 6.64**
13. ติดตามผลการเรียนของ
นักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 3.83 0.87 มาก 3.14 0.97 ปานกลาง 5.90**
14. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการขอเปลี่ยน
ขอเพิ่มและขอถอน
รายวิชาเรียน 3.94 0.89 มาก 3.07 1.06 ปานกลาง 6.80**
59
ตารางที่ 8 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
15. ติดต่อประสานงานกับ
หน่วยงานอื่น เพื่อให้
นักศึกษาได้รับบริการที่มี
คุณภาพและรวดเร็ว 3.78 1.06 มาก 3.03 1.08 ปานกลาง 4.12**
รวม 3.86 0.90 มาก 3.17 1.01 ปานกลาง 5.66**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 8 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาและสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
60
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 8 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่
ปรึกษา ด้านวิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
=3.86 , S.D. = 0.90 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็
รายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวังเกี่ยวกับการให้
ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
=4.14,S.D. = 0.79)
รองลงมา คือ ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเรียนให้ได้ผลดี (X
__
= 4.04, S.D. = 0.76) และให้ความรู้
ความเข้าใจในการจัดตารางเรียนและการลงทะเบียน (X
__
= 3.97, S.D. = 0.92)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาการศึกษา ด้าน
วิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.17, S.D. = 1.01) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายการ
พบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ โดยมีสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับ
การให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด ( X
__
= 3.43,
S.D. = 0.87) รองลงมา คือ ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางเรียนและการลงทะเบียน
(X
__
= 3.36, S.D. = 1.04) และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณหาค่าระดับเฉลี่ย (X
__
= 3.28,
S.D. = 1.01)
3) ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านวิชาการ
แตกต่างจากสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา การศึกษาที่ระดับ
ความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษา
ค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง
ตามความคิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาในด้านวิชาการต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งในผลสรุปรวม
ของแต่ละรายการทุกรายการ ซึ่งพบว่ารายการที่ต่ำกว่ามาก 3 อันดับแรก ได้แก่ ให้ความรู้
ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาที่มีปัญหาเรื่องการสอบ
และให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขอเปลี่ยน ขอเพิ่มและขอถอนรายวิชาเรียน
61
3. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษานำมา
วิเคราะห์ในรายการ ต่าง ๆ ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา และนำระดับความคาดหวังและ
สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที
ได้ผลดังแสดงในตารางและแผนภูมิที่ 9
ตารางที่ 9 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับนโยบาย
ข้อบังคับและระเบียบ
ปฏิบัติของสถาบัน 4.10 0.88 มาก 3.42 0.98 ปานกลาง 5.76**
2. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ข้อปฏิบัติในการใช้
บริการและสวัสดิการ
ต่างๆ ของสถาบัน เช่น
ห้องโสตทัศนศึกษา
ห้องสมุด 3.80 0.85 มาก 3.16 0.87 ปานกลาง 6.10**
3. ให้คำแนะนำในการศึกษา
ต่อในระดับสูงขึ้น 3.83 0.94 มาก 3.16 0.87 ปานกลาง 6.38**
4. ให้คำแนะนำการขอทุน
หรือการกู้ยืมเงินเพื่อ
การศึกษา 3.83 0.91 มาก 3.30 1.05 ปานกลาง 4.21**
62
ตารางที่ 9 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
5. มีการนัดหมายพบปะ
นักศึกษาที่อยู่ในความรับ
ผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ 3.93 1.00 มาก 3.19 1.20 ปานกลาง 5.14**
6. ให้คำแนะนำเรื่องการ
ดำเนินชีวิตในสถาบัน 3.86 0.99 มาก 2.96 1.09 ปานกลาง 6.87**
7. ให้คำแนะนำในเรื่อง
การแก้ปัญหาส่วนตัว 3.72 0.98 มาก 2.91 1.08 ปานกลาง 6.23**
8. จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้าง
ความเป็นกันเองระหว่าง
อาจารย์กับนักศึกษา 3.96 0.91 มาก 3.22 1.01 ปานกลาง 4.51**
9. จัดกิจกรรมให้นักศึกษา
พัฒนาตนเอง 3.86 0.90 มาก 3.25 0.96 ปานกลาง 5.26**
10. กระตุ้นให้นักศึกษารู้จัก
พัฒนาตนเองทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา 3.86 0.99 มาก 3.32 0.96 ปานกลาง 4.66**
11. ให้การอบรมและ
ตรวจสอบพฤติกรรม
ของนักศึกษา 3.93 1.00 มาก 3.14 1.00 ปานกลาง 4.65**
12. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การคบเพื่อนและ
การปรับตัวในสังคม 3.68 1.01 มาก 2.94 0.94 ปานกลาง 6.55**
13. ให้คำแนะนำเรื่อง
การปรับปรุงบุคลิกภาพ 3.83 0.94 มาก 3.07 1.05 ปานกลาง 6.03**
63
ตารางที่ 9 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
14. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การแบ่งเวลาเพื่อการเรียน
และการทำกิจกรรมต่างๆ
ในสถาบัน 3.91 0.98 มาก 3.22 1.17 ปานกลาง 4.89**
รวม 3.80 0.95 มาก 3.16 1.02 ปานกลาง 5.20**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 9 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาและสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
64
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 9 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่
ปรึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.86, S.D. =
0.95) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมี
ความคาดหวังเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของ
สถาบันอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.10, S.D. = 0.88) รองลงมา คือ จัดทำกิจกรรมเพื่อ
สร้างความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา (X
__
= 3.96, S.D. = 0.91) และมีการนัดหมาย
พบปะนักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบ (X
__
= 3.93, S.D. = 1.00)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาการศึกษา
ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.16, S.D. = 1.02 )
เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ โดยมีสภาพ
ที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของ
สถาบันอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.42, S.D. = 0.98) รองลงมา คือ กระตุ้นให้นักศึกษา
รู้จักพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา (X
__
= 3.32, S.D. = 0.69) และ
ให้คำแนะนำการขอทุนหรือการกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา (X
__
= 3.30, S.D. = 1.05)
3) ความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนา
นักศึกษา แตกต่างจากสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาที่ระดับ
ความมีนัยสำคัญ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ยของ
ระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็น
ของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาในด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษาต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งใน
ผลสรุปภาพรวมและแต่ละรายการ ทุกรายการ และพบว่ารายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก ได้แก่
ให้คำแนะนำเรื่องการดำเนินชีวิตในสถาบัน ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อนและการปรับตัว
ในสังคม และให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น
65
4. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษานำมา
วิเคราะห์ในรายการต่างๆ ด้านการบริการทั่วไป และนำระดับความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านการบริการทั่วไป ตามความคิดเห็นของนักศึกษา
สาขาวิชาการศึกษา ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงในตารางและ
แผนภูมิที่ 10
ตารางที่ 10 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ทำหน้าที่ประสานงานกับ
อาจารย์ผู้สอนในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา 4.17 0.79 มาก 3.28 0.94 ปานกลาง 5.71**
2. การให้คำแนะนำวิธี
การติดต่อกับหน่วยงาน
อื่น ๆ ในสถาบัน 3.94 0.78 มาก 3.10 0.89 ปานกลาง 7.85**
3. การทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง
ที่ดีระหว่างผู้บริหารกับ
นักศึกษา 3.83 0.94 มาก 3.04 1.01 ปานกลาง 6.48**
4. ให้การรับรองนักศึกษา
เมื่อนักศึกษาต้องการใช้
เอกสารรับรองเป็น
หลักฐานต่างๆ 4.13 0.77 มาก 3.48 1.01 ปานกลาง 5.33**
5. แจ้งประกาศข่าวสาร
ที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษา
ทราบ 4.06 0.68 มาก 3.26 1.02 ปานกลาง 6.50**
66
ตารางที่ 10 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 69)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 69)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
6. การมีส่วนร่วมเข้าร่วม
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ 3.75 0.88 มาก 3.12 0.96 ปานกลาง 4.01**
7. การเข้าร่วมปฐมนิเทศ
นักศึกษา 3.84 0.80 มาก 3.26 0.80 ปานกลาง 4.26**
8. เชิญวิทยากรมาบรรยาย
ความรู้เพิ่มเสริมให้แก่
นักศึกษา 3.97 0.79 มาก 3.12 1.08 ปานกลาง 6.53**
9. นำนักศึกษาไปทัศนศึกษา
แหล่งความรู้ต่างๆ 3.86 0.88 มาก 2.72 1.01 ปานกลาง 7.08**
10. ให้ข้อมูล ความรู้ และ
คำแนะนำเรื่องการ
เตรียมตัวและเทคนิค
ในการทำงานให้
ประสบความสำเร็จ 3.97 0.80 มาก 3.28 1.06 ปานกลาง 5.39**
รวม 3.95 0.82 มาก 3.17 0.99 ปานกลาง 6.55**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
67
แผนภูมิที่ 10 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาและสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 10 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา ด้านการบริการทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.95, S.D. = 0.82) เมอื่
พิจารณาเป็นรายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวัง
เกี่ยวกับการทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอยู่ในระดับ
สูงสุด (X
__
= 4.17, S.D. = 0.79) รองลงมา คือ ให้การรับรองนักศึกษา เมื่อนักศึกษา
ต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่าง (X
__
= 4.13, S.D. = 0.77) และ แจ้งประกาศข่าวสาร
ที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาทราบ (X
__
= 4.06, S.D. = 0.68)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาการศึกษา ด้าน
การบริการทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
=, 3.17 S.D. = 0.99 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็
รายการ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ โดยมีสภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับให้การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่างๆ อยู่ใน
ระดับสูงสุด (X
__
= 3.48, S.D. = 1.01) รองลงมา คือ ทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอน
68
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา (X
__
= 3.28, S.D. = 0.94) และให้ข้อมูล ความร ู้ และคำแนะนำ
เรื่องการเตรียมตัวและเทคนิคในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ (X
__
= 3.28, S.D. = 1.08)
3) ความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทด้านการบริการทั่วไป แตกต่างจากระดับสภาพ
ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาที่ระดับความมีนัยสำคัญ 0.01 ทั้งใน
ภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น พบว่า
ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง ตามความคิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาในด้านการบริการทั่วไปต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งในผลสรุปภาพรวมและ
ของแต่ละรายการ ทุกรายการ ซึ่งพบว่ารายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก ได้แก่ ให้คำแนะนำวิธีการ
ติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ ในสถาบัน นำนักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ และ
เชิญวิทยากรมาบรรยายความรู้เพิ่มเสริมให้นักศึกษา
ตอนที่ 4 ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา
วิชาวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำแนกเป็นรายด้านและรวมทุกด้าน
จากข้อมูลการศึกษาระดับความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และสภาพ
ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษาในด้านต่าง ๆ ทั้ง 3 ด้าน นำมาวิเคราะห์ได้ผลดังนี้
1. คาดหวังและสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ที่มีต่อบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษานำมาวิเคราะห์ในแต่ละด้าน และรวมทุกด้าน นำมาวิเคราะห์
ด้วยค่าเฉลี่ย (X
__
) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. ) นำความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในด้านต่างๆ ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์ มาเปรียบเทียบโดยใช้ค่าสถิติที เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความคาดหวังกับ
สภาพที่ปฏิบัติจริง ได้ผลดังแสดงในตารางและแผนภูมิที่ 11
69
ตารางที่ 11 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำแนกเป็นรายด้าน และรวมทุกด้าน
ความคาดหวัง
(N = 77)
สภาพปฏิบัติจริง
(N = 77)
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา t
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
ด้านวิชาการ 4.16 0.84 มาก 3.50 0.96 มาก 4.55**
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา 4.08 0.88 มาก 3.47 1.02 ปานกลาง 3.96**
ด้านการบริการทั่วไป 4.15 0.80 มาก 3.53 1.00 มาก 4.25**
รวม 4.13 0.83 มาก 3.50 1.00 มาก 4.26**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 11 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่
ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
70
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 11 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.13, S.D. = 0.85) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีความคาดหวังด้านวิชาการอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
=
4.16, S.D. = 0.84) รองลงมา คือ ด้านบริการทั่วไป (X
__
= 4.15, S.D. = 0.80) และ ด้าน
สวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา (X
__
= 4.08, S.D. = 0.88)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.50, S.D. = 1.00) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สภาพที่
ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก คือ ด้านวิชาการและด้านการบริการทั่วไป ส่วนด้านสวัสดิการ
และการพัฒนานักศึกษา สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีสภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับด้านบริการทั่วไปอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.53, S.D. = 1.00) รองลงมา คือ ดา้ น
วิชาการ (X
__
= 3.50, S.D. = 0.96) และด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา (X
__
=3.47, S.D.
= 1.02)
3) ความคาดหวังกับสภาพปฏิบัติจริงของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ทั้งในด้านวิชาการ
ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ด้านบริการทั่วไป และรวมทุกด้าน โดยนักศึกษา
มีความคาดหวังสูงกว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
2. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
นำมาวิเคราะห์ในรายการต่างๆ ด้านวิชาการ และนำระดับความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการ ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา
วิชาวิทยาศาสตร์ ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงในตารางและ
แผนภูมิที่ 12
71
ตารางที่ 12 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
ความคาดหวัง
(N = 77)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 77)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง
ของหลักสูตรที่กำลัง
ศึกษาอยู่ 4.22 0.80 มาก 3.45 0.90 ปานกลาง 5.62**
2. ให้คำแนะนำวิธีการจัด
ทำแผนการเรียนตลอดจน
จบหลักสูตร 4.19 0.78 มาก 3.49 0.87 ปานกลาง 5.26**
3. ให้ความรู้ความเข้าใจใน
การจัดตารางเรียนและ
การลงทะเบียน 4.34 0.82 มาก 3.70 1.00 มาก 4.35**
4. ให้ความรู้และคำแนะนำ
เรื่องระเบียบการวัดและ
ประเมินผล 4.09 0.81 มาก 3.57 0.85 มาก 3.13**
5. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการ
คำนวณหาค่าระดับเฉลี่ย 3.81 0.96 มาก 3.23 0.87 ปานกลาง 5.86**
6. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
การนับเวลาเรียน
เพื่อสิทธิในการสอบ 4.06 0.78 มาก 3.44 0.91 ปานกลาง 4.53**
7. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
หลักเกณฑ์การพ้น
สภาพนักศึกษา 4.01 0.92 มาก 3.38 0.99 ปานกลาง 4.09**
72
ตารางที่ 12 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 77)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 77)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
8. ให้คำแนะนำปรึกษา
เกี่ยวกับปัญหาด้าน
วิชาการ 4.30 0.80 มาก 3.62 1.04 มาก 4.53**
9. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การเรียนเสริมความรู้ 4.17 0.83 มาก 3.44 0.98 ปานกลาง 5.00**
10. ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
ที่มีปัญหาเรื่องการสอบ 4.25 0.78 มาก 3.43 1.09 ปานกลาง 3.89**
11. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
แหล่งวิทยาการต่างๆ 4.23 0.87 มาก 3.38 1.03 ปานกลาง 5.52**
12. ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธี
การเรียนให้ได้ผลดี 4.12 0.84 มาก 3.60 0.99 มาก 4.60**
13. ติดตามผลการเรียนของ
นักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 4.21 0.78 มาก 3.74 0.98 มาก 3.29**
14. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการขอเปลี่ยน
ขอเพิ่มและขอถอน
รายวิชาเรียน 4.17 0.92 มาก 3.56 0.91 มาก 4.56**
15. ติดต่อประสานงานกับ
หน่วยงานอื่น เพื่อให้
นักศึกษาได้รับบริการที่มี
คุณภาพและรวดเร็ว 4.21 0.86 มาก 3.51 0.95 มาก 4.79**
รวม 4.16 0.84 มาก 3.50 0.96 มาก 4.55**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
73
แผนภูมิที่ 12 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 12 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา ด้านวิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.16, S.D. = 0.84 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็
รายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวังเกี่ยวกับให้
ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางสอนและการลงทะเบียนอยู่ในระดับสูงสุด ( X
__
=4.34,
S.D. =0.82) รองลงมา คือ ให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาด้านวิชาการ (X
__
=4.30, S.D.=
0.80) และการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาที่มีปัญหาเรื่องการสอบ (X
__
= 4.25,S.D. = 0.78)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ด้านวิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.50, S.D. = 0.96) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ
พบว่า รายการที่มีสภาพปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก คือ ติดตามผลการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์อย่างสม่ำเสมอ ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางสอนและการลงทะเบียน
ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเรียนให้ได้ผลดี ให้ความรู้และคำแนะนำเรื่องระเบียบการวัดและ
74
ประเมินผล ให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาด้านวิชาการ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การขอเปลี่ยน ขอเพิ่มและขอถอนรายวิชาเรียน และติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นเพื่อให้
นักศึกษาได้รับบริการที่มีคุณภาพและรวดเร็วส่วนรายการอื่นๆ มีสภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับ
ปานกลาง โดยมีสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการติดตามผลการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์อย่างสม่ำเสมออยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.74, S.D. = 0.98) รองลงมา คือ
ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางสอนและการลงทะเบียน (X
__
= 3.70, S.D. = 1.00) และ
ให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาด้านวิชาการ (X
__
= 3.62, S.D. = 1.04)
3) ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการ
แตกต่างจากสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ที่ระดับ
ความมีนัยสำคัญ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ย
ของระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง
ตามความคิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ในด้านวิชาการต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งใน
ผลสรุปภาพรวมของแต่ละรายการทุกรายการ ซึ่งพบว่ารายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก ได้แก่
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณหาค่าระดับเฉลี่ย ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตร
ที่กำลังศึกษาอยู่ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งวิทยาการต่างๆ
3. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
นำมาวิเคราะห์ในรายการต่างๆ ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา และนำระดับความคาดหวัง
และสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที
ได้ผลดังแสดงในตารางและแผนภูมิที่ 13
75
ตารางที่ 13 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
ความคาดหวัง
(N = 77)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 77)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับนโยบาย
ข้อบังคับและระเบียบ
ปฏิบัติของสถาบัน 4.12 0.79 มาก 3.65 0.89 มาก 4.65**
2. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ข้อปฏิบัติในการใช้
บริการและสวัสดิการ
ต่างๆ ของสถาบัน เช่น
ห้องโสตทัศนศึกษา
ห้องสมุด 4.17 0.86 มาก 3.44 1.01 ปานกลาง 4.83**
3. ให้คำแนะนำในการศึกษา
ต่อในระดับสูงขึ้น 4.18 0.85 มาก 3.30 0.95 ปานกลาง 6.07**
4. ให้คำแนะนำการขอทุน
หรือการกู้ยืมเงินเพื่อ
การศึกษา 4.12 0.86 มาก 3.49 1.02 ปานกลาง 4.14**
5. มีการนัดหมายพบปะ
นักศึกษาที่อยู่ในความรับ
ผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ 4.03 0.93 มาก 3.75 1.07 มาก 1.73**
6. ให้คำแนะนำเรื่องการ
ดำเนินชีวิตในสถาบัน 3.95 0.81 มาก 3.35 1.00 ปานกลาง 4.08**
7. ให้คำแนะนำในเรื่อง
การแก้ปัญหาส่วนตัว 4.04 1.02 มาก 3.19 1.05 ปานกลาง 5.09**
76
ตารางที่ 13 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 77)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 77)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
8. จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้าง
ความเป็นกันเองระหว่าง
อาจารย์กับนักศึกษา 4.17 0.91 มาก 3.45 1.07 ปานกลาง 4.50**
9. จัดกิจกรรมให้นักศึกษา
พัฒนาตนเอง 4.01 0.88 มาก 3.43 1.08 ปานกลาง 3.65**
10. กระตุ้นให้นักศึกษารู้จัก
พัฒนาตนเองทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา 4.13 0.85 มาก 3.52 0.99 มาก 4.09**
11. ให้การอบรมและ
ตรวจสอบพฤติกรรม
ของนักศึกษา 3.99 0.95 มาก 3.52 1.11 มาก 2.83**
12. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การคบเพื่อนและ
การปรับตัวในสังคม 4.05 0.89 มาก 3.34 0.95 ปานกลาง 6.57**
13. ให้คำแนะนำเรื่อง
การปรับปรุงบุคลิกภาพ 4.08 0.82 มาก 3.49 0.98 ปานกลาง 4.04**
14. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การแบ่งเวลาเพื่อการเรียน
และการทำกิจกรรมต่างๆ
ในสถาบัน 4.12 0.89 มาก 3.61 1.00 มาก 3.33**
รวม 4.08 0.88 มาก 3.47 1.02 ปานกลาง 3.96**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
77
แผนภูมิที่ 13 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 13 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.08, S.D. =
0.88) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า มีความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความ
คาดหวังเกี่ยวกับให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.18, S.D.
= 0.85) รองลงมา คือ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติ
ของสถาบัน (X
__
= 4.17, S.D. = 0.86) และจัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างความเป็นกันเองระหว่าง
อาจารย์กับนักศึกษา(X
__
= 4.17, S.D. = 0.91)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.47, S.D. =
1.02) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า รายการที่มีสภาพปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก คือให้ความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของสถาบัน มีการนัดหมายพบปะ
นักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบ กระตุ้นให้นักศึกษา รู้จักพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย อารมณ์
78
สังคม และสติปัญญา และให้การอบรมและตรวจสอบพฤติกรรมของนักศึกษาสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์ ส่วนรายการอื่นๆ มีสภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง โดยสภาพที่ปฏิบัติ
จริงเกี่ยวกับมีการนัดหมายพบปะนักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.75,
S.D. = 1.07) รองลงมา คือ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบ
ปฏิบัติของสถาบัน (X
__
= 3.65, S.D. = 0.89) และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการแบ่งเวลาเพื่อ
การเรียนและการทำกิจกรรมต่างๆ ในสถาบัน (X
__
= 3.61, S.D. = 1.00)
3) ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา แตกต่างจากระดับสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์ที่ระดับความมีนัยสำคัญ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ ยกเว้น
รายการเดียว คือ มีการนัดหมายพบปะนักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบ และจากการศึกษา
ค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง
ตามความคิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ในด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษาต่ำกว่าความคาดหวัง
ของนักศึกษา ทั้งในผลสรุปภาพรวมและแต่ละรายการ ยกเว้นรายการเดียวที่อาจารย์ที่ปรึกษา
ปฏิบัติได้ในระดับที่นักศึกษาคาดหวัง คือ มีการนัดหมายพบปะนักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบ
ซึ่งพบว่า รายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก ได้แก่ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อนและ
การปรับตัวในสังคม ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น และให้คำแนะนำในเรื่อง
การแก้ปัญหาส่วนตัว
4. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
นำมาวิเคราะห์ในรายการต่างๆ ด้านการบริการทั่วไป และนำระดับความคาดหวังและสภาพ
ที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านการบริการทั่วไป ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงใน
ตารางและแผนภูมิที่ 14
79
ตารางที่ 14 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
ความคาดหวัง
(N = 77)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 77)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ทำหน้าที่ประสานงานกับ
อาจารย์ผู้สอนในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา 4.19 0.67 มาก 3.57 0.88 มาก 4.92**
2. การให้คำแนะนำวิธี
การติดต่อกับหน่วยงาน
อื่น ๆ ในสถาบัน 4.09 0.75 มาก 3.34 0.99 ปานกลาง 5.28**
3. การทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง
ที่ดีระหว่างผู้บริหารกับ
นักศึกษา 4.08 0.84 มาก 3.35 0.94 ปานกลาง 5.07**
4. ให้การรับรองนักศึกษา
เมื่อนักศึกษาต้องการใช้
เอกสารรับรองเป็น
หลักฐานต่างๆ 4.18 0.82 มาก 3.61 0.99 มาก 3.90**
5. แจ้งประกาศข่าวสาร
ที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษา
ทราบ 4.22 0.77 มาก 3.60 0.98 มาก 5.54**
6. การมีส่วนร่วมเข้าร่วม
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ 3.99 0.77 มาก 3.45 1.01 ปานกลาง 3.72**
7. การเข้าร่วมปฐมนิเทศ
นักศึกษา 4.03 0.86 มาก 3.48 0.93 ปานกลาง 3.82**
8. เชิญวิทยากรมาบรรยาย
ความรู้เพิ่มเสริมให้แก่
นักศึกษา 4.14 0.85 มาก 3.65 1.04 มาก 3.10**
80
ตารางที่ 14 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 77)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 77)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
9. นำนักศึกษาไปทัศนศึกษา
แหล่งความรู้ต่างๆ 4.35 0.81 มาก 3.60 1.15 มาก 4.69**
10. ให้ข้อมูล ความรู้ และ
คำแนะนำเรื่องการ
เตรียมตัวและเทคนิค
ในการทำงานให้
ประสบความสำเร็จ 4.32 0.80 มาก 3.62 1.09 มาก 4.55**
รวม 4.15 0.80 มาก 3.53 1.00 มาก 4.25**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 14 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
81
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 14 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา ด้านการบริการทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.15, S.D. = 0.80) เมอื่ พจิ ารณา
เป็นรายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวังเกี่ยวกับการนำ
นักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ อยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.35, S.D. = 0.81) รองลงมา
คือ ให้ข้อมูล ความรู้ และคำแนะนำเรื่องการเตรียมตัวและเทคนิคในการทำงานให้ประสบ
ความสำเร็จ (X
__
= 4.32, S.D. = 0.80) และ แจ้งประกาศข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาทราบ
(X
__
= 4.22, S.D. = 0.77)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ด้านการบริการทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
=3.53, S.D. = 1.00 ) เมื่อพิจารณาเป็น
รายการ พบว่า รายการที่มีสภาพปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก คือ ให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับ
หน่วยงานอื่นๆ ในสถาบัน ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางที่ดีระหว่างผู้บริหารกับนักศึกษา การมีส่วนร่วม
เข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ และการเข้าร่วมปฐมนิเทศนักศึกษา ส่วนรายการอื่นๆ มีสภาพ
ที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการเชิญวิทยากรมาบรรยาย
ความรู้เพิ่มเสริมให้นักศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.65, S.D. = 1.04) รองลงมา คือ
ให้ข้อมูล ความรู้ และคำแนะนำเรื่องการเตรียมตัวและเทคนิคในการทำงานให้ประสบ
ความสำเร็จ (X
__
= 3.62, S.D. = 1.09) และให้การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้
เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่าง ๆ (X
__
= 3.61, S.D. = 0.99)
3) ความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านการบริการทั่วไป แตกต่าง
จากสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ที่ระดับความมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ยของระดับ
ความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ในด้านการบริการทั่วไปต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา
ทั้งในผลสรุปรวมและแต่ละรายการ ทุกรายการ และพบว่ารายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก ได้แก่
แจ้งประกาศข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาทราบ ให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ
ในสถาบัน และทำหน้าที่เป็นสื่อกลางที่ดีระหว่างผู้บริหารกับนักศึกษา
82
ตอนที่ 5 ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา
วิชาศิลปศาสตร์ เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำแนกเป็นรายด้านและรวมทุกด้าน
จากข้อมูลการศึกษาระดับความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร ์ และสภาพ
ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษาในด้านต่าง ๆ ทั้ง 3 ด้าน นำมาวิเคราะห์ได้ผลดังนี้
1. คาดหวังและสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
ที่มีต่อบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษานำมาวิเคราะห์ในแต่ละด้าน และรวมทุกด้าน นำมาวิเคราะห์
ด้วยค่าเฉลี่ย ( X
__
) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. ) นำความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติ
จริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในด้านต่างๆ ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา
วิชาศิลปศาสตร์ มาเปรียบเทียบโดยใช้ค่าสถิติที เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความคาดหวัง
กับสภาพที่ปฏิบัติจริง ได้ผลดังแสดงในตารางและแผนภูมิที่ 15
ตารางที่ 15 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำแนกเป็นรายด้าน และรวมทุกด้าน
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา t
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
ด้านวิชาการ 4.04 0.88 มาก 3.29 1.03 ปานกลาง 7.08**
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา 4.06 0.86 มาก 3.39 1.08 ปานกลาง 6.20**
ด้านการบริการทั่วไป 4.13 0.82 มาก 3.38 1.06 ปานกลาง 7.14**
รวม 4.07 0.87 มาก 3.35 1.06 ปานกลาง 6.73**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
83
แผนภูมิที่ 15 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 15 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.07, S.D. = 0.87) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีความคาดหวังด้านบริการทั่วไปอยู่ในระดับสูงสุด
(X
__
= 4.13, S.D. = 0.82) รองลงมา คือ ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา (X
__
= 4.06,
S.D. = 0.86) และด้านวิชาการ (X
__
= 4.04, S.D. = 0.88)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.35, S.D. = 1.06) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า
สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.39, S.D. = 1.08) รองลงมา คือ ด้านบริการ
ทั่วไป (X
__
= 3.38, S.D. = 1.06) และด้านวิชาการ (X
__
= 3.29, S.D. = 1.03)
84
3) ความคาดหวังกับสภาพปฏิบัติจริงของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับ
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ทั้งในด้านวิชาการ ด้าน
สวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ด้านบริการทั่วไป และรวมทุกด้าน โดยนักศึกษา
มีความคาดหวังสูงกว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
2. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
นำมาวิเคราะห์ในรายการต่าง ๆ ด้านวิชาการ และนำระดับความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการ ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา
วิชาศิลปศาสตร์ ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงในตารางและ
แผนภูมิที่ 16
ตารางที่ 16 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง
ของหลักสูตรที่กำลัง
ศึกษาอยู่ 4.25 0.77 มาก 3.46 0.94 ปานกลาง 8.32**
2. ให้คำแนะนำวิธีการจัด
ทำแผนการเรียนตลอดจน
จบหลักสูตร 4.10 0.78 มาก 3.34 0.95 ปานกลาง 7.92**
3. ให้ความรู้ความเข้าใจใน
การจัดตารางเรียนและ
การลงทะเบียน 4.21 0.72 มาก 3.40 1.08 ปานกลาง 8.02**
4. ให้ความรู้และคำแนะนำ
เรื่องระเบียบการวัดและ
ประเมินผล 4.04 0.83 มาก 3.34 0.95 ปานกลาง 7.07**
85
ตารางที่ 16 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
5. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการ
คำนวณหาค่าระดับเฉลี่ย 3.82 0.93 มาก 3.16 0.95 ปานกลาง 6.35**
6. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
การนับเวลาเรียน
เพื่อสิทธิในการสอบ 4.05 0.87 มาก 3.26 0.99 ปานกลาง 7.67**
7. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
หลักเกณฑ์การพ้น
สภาพนักศึกษา 3.82 0.94 มาก 3.21 1.09 ปานกลาง 5.45**
8. ให้คำแนะนำปรึกษา
เกี่ยวกับปัญหาด้าน
วิชาการ 4.08 0.93 มาก 3.40 1.14 ปานกลาง 5.91**
9. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การเรียนเสริมความรู้ 3.99 0.96 มาก 3.24 1.02 ปานกลาง 6.88**
10. ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
ที่มีปัญหาเรื่องการสอบ 4.01 0.87 มาก 3.18 1.04 ปานกลาง 7.83**
11. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
แหล่งวิทยาการต่างๆ 4.04 0.85 มาก 3.27 0.97 ปานกลาง 7.62**
12. ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธี
การเรียนให้ได้ผลดี 4.05 0.85 มาก 3.36 1.06 ปานกลาง 6.51**
13. ติดตามผลการเรียนของ
นักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 3.97 0.89 มาก 3.28 1.09 ปานกลาง 6.27**
86
ตารางที่ 16 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านวิชาการ
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
14. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการขอเปลี่ยน
ขอเพิ่มและขอถอน
รายวิชาเรียน 4.00 0.96 มาก 3.25 1.09 ปานกลาง 6.64**
15. ติดต่อประสานงานกับ
หน่วยงานอื่น เพื่อให้
นักศึกษาได้รับบริการที่มี
คุณภาพและรวดเร็ว 4.07 0.93 มาก 3.24 1.15 ปานกลาง 7.16**
รวม 4.04 0.88 มาก 3.29 1.03 ปานกลาง 7.08**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 16 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
87
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 16 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา ด้านวิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.04, S.D. = 0.88) เมอื่ พจิ ารณาเปน็
รายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวังเกี่ยวกับให้ความรู้
ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
=4.25,S.D. = 0.77) รองลงมา
คือ ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางเรียนและการลงทะเบียน (X
__
= 4.21, S.D. = 0.72)
และให้คำแนะนำวิธีการจัดทำแผนการเรียนตลอดจนจบหลักสูตร (X
__
= 4.10, S.D. = 0.78)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
ด้านวิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.29, S.D. = 1.03) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ
พบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ โดยสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับให้
ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.46, S.D. = 0.94)
รองลงมา คือ ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางเรียนและการลงทะเบียน (X
__
= 3.40,
S.D. = 1.08) และให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาด้านวิชาการ (X
__
= 3.40, S.D. = 1.14)
3) ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านวิชาการ
แตกต่างจากสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ที่ระดับความ
มีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ย
ของระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง ตามความ
คิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ในด้านวิชาการต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งใน
ผลสรุปรวมและแต่ละรายการทุกรายการ ซึ่งพบว่ารายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก ได้แก่
ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัด
ตารางสอนและการลงทะเบียน และให้คำแนะนำวิธีการจัดทำแผนการเรียนตลอดหลักสูตร
88
3. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
นำมาวิเคราะห์ในรายการต่าง ๆ ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา และนำระดับ
ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ ในแต่ละรายการ
มาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดงในตารางและแผนภูมิที่ 17
ตารางที่ 17 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับนโยบาย
ข้อบังคับและระเบียบ
ปฏิบัติของสถาบัน 4.18 0.78 มาก 3.71 0.95 มาก 4.65**
2. ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ข้อปฏิบัติในการใช้
บริการและสวัสดิการ
ต่างๆ ของสถาบัน เช่น
ห้องโสตทัศนศึกษา
ห้องสมุด 3.98 0.87 มาก 3.33 0.95 ปานกลาง 4.83**
3. ให้คำแนะนำในการศึกษา
ต่อในระดับสูงขึ้น 4.09 0.81 มาก 3.28 1.00 ปานกลาง 6.07**
4. ให้คำแนะนำการขอทุน
หรือการกู้ยืมเงินเพื่อ
การศึกษา 3.91 0.86 มาก 3.26 1.12 ปานกลาง 4.14**
89
ตารางที่ 17 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
5. มีการนัดหมายพบปะ
นักศึกษาที่อยู่ในความรับ
ผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ 4.09 0.83 มาก 3.40 1.17 ปานกลาง 1.73**
6. ให้คำแนะนำเรื่องการ
ดำเนินชีวิตในสถาบัน 4.04 0.85 มาก 3.30 1.14 ปานกลาง 4.08**
7. ให้คำแนะนำในเรื่อง
การแก้ปัญหาส่วนตัว 3.97 1.01 มาก 3.10 1.18 ปานกลาง 5.09**
8. จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้าง
ความเป็นกันเองระหว่าง
อาจารย์กับนักศึกษา 4.15 0.87 มาก 3.38 1.15 ปานกลาง 4.50**
9. จัดกิจกรรมให้นักศึกษา
พัฒนาตนเอง 4.05 0.91 มาก 3.38 1.05 ปานกลาง 3.65**
10. กระตุ้นให้นักศึกษารู้จัก
พัฒนาตนเองทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา 4.14 0.83 มาก 3.45 1.05 ปานกลาง 4.09**
11. ให้การอบรมและ
ตรวจสอบพฤติกรรม
ของนักศึกษา 4.06 0.84 มาก 3.34 1.12 ปานกลาง 2.83**
12. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การคบเพื่อนและ
การปรับตัวในสังคม 3.99 0.87 มาก 3.27 1.05 ปานกลาง 6.57**
13. ให้คำแนะนำเรื่อง
การปรับปรุงบุคลิกภาพ 4.08 0.81 มาก 3.48 1.02 ปานกลาง 4.04**
90
ตารางที่ 17 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา __
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
14. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การแบ่งเวลาเพื่อการเรียน
และการทำกิจกรรมต่างๆ
ในสถาบัน 4.13 0.83 มาก 3.48 1.04 ปานกลาง 3.33**
รวม 4.06 0.86 มาก 3.39 1.08 ปานกลาง 3.96**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
แผนภูมิที่ 17 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์
ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
91
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 17 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่
ปรึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.06, S.D. =
0.86) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความ
คาดหวังเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของ
สถาบันอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.18, S.D. = 0.77) รองลงมา คือ จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้าง
ความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา (X
__
= 4.15, S.D. = 0.87) และกระตุ้นให้นักศึกษา
รู้จักพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา (X
__
= 4.14, S.D. = 0.83)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร์
ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.39, S.D. =
1.08 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายการ พบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการยกเว้น
ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของสถาบัน อยู่ในระดับมาก
โดยมีสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบ
ปฏิบัติของสถาบันอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.71, S.D. = 0.95) รองลงมา คือ ให้คำแนะนำ
เรื่องการปรับปรุงบุคลิกภาพ (X
__
= 3.48, S.D. = 1.02) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการแบ่งเวลาเพื่อ
การเรียนและการทำกิจกรรมต่างๆ ในสถาบัน (X
__
= 3.48, S.D. = 1.04) และ กระตุ้นให้นักศึกษา
รู้จักพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา (X
__
= 3.45, S.D. = 1.05)
3) ความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนา
นักศึกษา แตกต่างจากระดับสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ที่
ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจาก
การศึกษาค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติ
จริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ในด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษาต่ำกว่าความคาดหวัง
ของนักศึกษา ทั้งในผลสรุปรวมและแต่ละรายการ ซึ่งพบว่ารายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก
ได้แก่ ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น ให้คำแนะนำในเรื่องการแก้ปัญหาส่วนตัว
และจัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
92
4. ความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา
นำมาวิเคราะห์ในรายการต่างๆ ด้านการบริการทั่วไป และนำระดับความคาดหวังและสภาพ
ที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านการบริการทั่วไป ตามความคิดเห็น
ของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ ในแต่ละรายการมาเปรียบเทียบด้วยค่าสถิติที ได้ผลดังแสดง
ในตารางและแผนภูมิที่ 18
ตารางที่ 18 การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังกับสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
1. ทำหน้าที่ประสานงานกับ
อาจารย์ผู้สอนในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา 4.24 0.72 มาก 3.47 1.01 ปานกลาง 7.94**
2. การให้คำแนะนำวิธี
การติดต่อกับหน่วยงาน
อื่น ๆ ในสถาบัน 3.99 0.79 มาก 3.24 0.97 ปานกลาง 7.63**
3. การทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง
ที่ดีระหว่างผู้บริหารกับ
นักศึกษา 4.00 0.89 มาก 3.21 1.04 ปานกลาง 7.38**
4. ให้การรับรองนักศึกษา
เมื่อนักศึกษาต้องการใช้
เอกสารรับรองเป็น
หลักฐานต่างๆ 4.23 0.77 มาก 3.52 1.03 มาก 7.10**
93
ตารางที่ 18 (ต่อ)
ความคาดหวัง
(N = 164)
สภาพที่ปฏิบัติจริง
(N = 164)
บทบาทของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา t
ด้านการบริการทั่วไป
__
τ S.D. แปลผล __
τ S.D. แปลผล
5. แจ้งประกาศข่าวสาร
ที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษา
ทราบ 4.12 0.78 มาก 3.41 1.02 ปานกลาง 7.10**
6. การมีส่วนร่วมเข้าร่วม
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ 4.05 0.81 มาก 3.51 1.02 มาก 5.29**
7. การเข้าร่วมปฐมนิเทศ
นักศึกษา 4.13 0.84 มาก 3.52 0.97 มาก 6.10**
8. เชิญวิทยากรมาบรรยาย
ความรู้เพิ่มเสริมให้แก่
นักศึกษา 4.10 0.87 มาก 3.37 1.09 ปานกลาง 6.70**
9. นำนักศึกษาไปทัศนศึกษา
แหล่งความรู้ต่างๆ 4.17 0.85 มาก 3.08 1.14 ปานกลาง 9.82**
10. ให้ข้อมูล ความรู้ และ
คำแนะนำเรื่องการ
เตรียมตัวและเทคนิค
ในการทำงานให้
ประสบความสำเร็จ 4.23 0.80 มาก 3.43 1.13 ปานกลาง 7.41**
รวม 4.13 0.82 มาก 3.38 1.06 ปานกลาง 7.14**
หมายเหตุ [[ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
94
แผนภูมิที่ 18 ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ศาสตร์และสภาพที่ปฏิบัติจริงของ
อาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
จากผลที่แสดงในตารางและแผนภูมิที่ 18 พบว่า
1) ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา ด้านการบริการทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.13, S.D. = 0.82) เมอื่ พจิ ารณา
เป็นรายการ พบว่า ความคาดหวังอยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยมีความคาดหวังเกี่ยวกับ
ทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
=
4.24, S.D. = 0.72) รองลงมา คือ ให้การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสาร
รับรองเป็นหลักฐานต่าง (X
__
= 4.23, S.D. = 0.77) และให้ข้อมูล ความร ู้ และคำแนะนำเรื่อง
การเตรียมตัวและเทคนิคในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ (X
__
= 4.23, S.D. = 0.80)
2) สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
ด้านการบริการทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X
__
= 3.38, S.D. = 1.06) เมื่อพิจารณา
เป็นรายการ พบว่า รายการที่สภาพปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมาก คือ ให้การรับรอง นักศึกษาเมื่อ
นักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่างๆ การมีส่วนร่วมเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
และการเข้าร่วมปฐมนิเทศนักศึกษา ส่วนรายการอื่นๆ อยู่ในระดับปานกลางโดยสภาพที่
95
ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการเข้าร่วมปฐมนิเทศนักศึกษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 3.52, S.D. = 097)
รองลงมา คือ ให้การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่างๆ
(X
__
= 3.52, S.D. = 1.03) และการมีส่วนร่วมเข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ (X
__
= 3.51, S.D. =
1.02)
3) ความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาด้านการบริการทั่วไป แตกต่างจาก
สภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ ที่ระดับความมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ 0.01 ทั้งในภาพรวมและแต่ละรายการทุกรายการ และจากการศึกษาค่าเฉลี่ยของ
ระดับความคิดเห็น พบว่า ระดับความคาดหวังสูงกว่าระดับสภาพที่ปฏิบัติจริง ตามความคิดเห็น
ของนักศึกษาทุกรายการ
แสดงว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงของบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ในด้านการบริการทั่วไปต่ำกว่าความคาดหวังของนักศึกษา ทั้งใน
ผลสรุปรวมและแต่ละรายการ ทุกรายการ และพบว่ารายการที่ต่ำกว่า 3 อันดับแรก ได้แก่
นำนักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ ทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา และการให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ ในสถาบัน
96
ตอนที่ 6 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ตารางที่ 19 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านวิชาการ
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรดูแลเอาใจใส่นักศึกษาให้ทั่วถึงและเสมอภาคกัน 44 14.19
2. ควรสละเวลาในการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา 37 11.94
3. ควรแนะนำรายละเอียดต่าง ๆ ในด้านวิชาการให้แก่นักศึกษาอย่างชัดเจน 26 8.39
4. ควรจัดรายวิชาเรียนเสริมทักษะให้แก่นักศึกษา 12 3.87
5. ควรจัดตารางเรียนแก่นักศึกษาให้เหมาะสม 9 2.90
จากผลที่แสดงในตารางที่ 19 พบว่า นักศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านวิชาการ มากที่สุด คือ ควรดูแลเอาใจใส่นักศึกษาให้ทั่วถึงและ
เสมอภาคกัน คิดเป็นร้อยละ 14.19 รองลงมา คือ ควรสละเวลาในการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
คิดเป็นร้อยละ 11.94 และควรแนะนำรายละเอียดต่าง ๆ ในด้านวิชาการให้แก่นักศึกษา
อย่างชัดเจน คิดเป็นร้อยละ 8.39
97
ตารางที่ 20 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรจัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา 63 20.32
2. ควรจัดวิทยากรแนะนำการศึกษาต่อระดับปริญญาโท 36 11.61
3. ควรจัดตารางเวลาที่แน่นอนเพื่อพบอาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละภาคเรียน 22 7.10
จากผลที่แสดงในตารางที่ 20 พบว่า นักศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา มากที่สุด คือ ควรจัดทำ
กิจกรรมเพื่อสร้างความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 20.32 รองลงมา
คือ ควรจัดวิทยากรแนะนำการศึกษาต่อระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 11.61 และควรจัด
ตารางเวลาที่แน่นอนเพื่อพบอาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละภาคเรียน คิดเป็นร้อยละ 7.10
ตารางที่ 21 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านการบริการทั่วไป
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรจัดทำกิจกรรมพบปะระหว่างอาจารย์และนักศึกษาทุกชั้นปี 48 15.78
2. ควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมของนักศึกษาทุกกิจกรรม 35 11.29
3. อาจารย์ที่ปรึกษาควรให้นักศึกษาเข้าพบได้ตลอดเวลา 29 9.35
4. ควรแนะนำเกี่ยวกับการสมัครงานแก่นักศึกษาชั้นปีที่ 4 7 2.26
จากผลที่แสดงในตารางที่ 21 พบว่า นักศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่
ของอาจารย์ที่ปรึกษาที่นักศึกษาต้องการให้ปฏิบัติ ด้านการบริการทั่วไป มากที่สุด คือ ควรจัด
ทำกิจกรรมพบปะระหว่างอาจารย์และนักศึกษาทุกชั้นปี คิดเป็นร้อยละ 15.78 รองลงมา คือ
ควรมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของนักศึกษาทุกกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 11.29 และ
อาจารย์ที่ปรึกษาควรให้นักศึกษาเข้าพบได้ตลอดเวลา คิดเป็นร้อยละ 9.35
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยจะกล่าวถึง
วัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ในการวิจัยดังนี้
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบัน-
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
2. เพื่อศึกษาสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็น
ของนักศึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
3. เพื่อเปรียบเทียบความคาดหวังของนักศึกษากับสภาพที่ปฎิบัติจริงของอาจารย์ที่
ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ขอบเขตของการวิจัย
1. การวิจัยนี้เป็นการศึกษาบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านสวัสดิการและพัฒนานักศึกษา และด้านการบริการทั่วไป
2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ชั้นปีที่ 4 จำนวน
310 คน แยกตามสาขาวิชาดังนี้
2.1 นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา จำนวน 69 คน
2.2 นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 77 คน
2.3 นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ จำนวน 164 คน
99
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เป็นแบบสอบถาม ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการศึกษาจากคู่มืออาจารย์ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้าน
สมเด็จเจ้าพระยา ฉบับปรับปรุง 2544 (สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2544 : 8-16)
โดยมีการตรวจหาค่าความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน และนำแบบสอบถามไป
ทดลองใช้เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.97 ซึ่งแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ลักษณะ
ของแบบสอบถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 39 ข้อ
ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านวิชาการ จำนวน 15 ข้อ (2) ด้านสวัสดิการและ
การพัฒนานักศึกษา จำนวน 14 ข้อ และ (3) ด้านการบริการทั่วไป จำนวน 10 ข้อ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ผู้วิจัยทำหนังสือจากสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
เพื่อขออนุญาตเก็บข้อมูลจากนักศึกษาภาคปกติ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 310 คน ได้รับคืนและ
มีความสมบูรณ์ 310 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100.00
การวิเคราะห์ข้อมูล
ใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม SPSS/PC+
1. ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าร้อยละ เพื่อต้องการทราบอัตราส่วนของ
ผู้ตอบแบบสอบถาม
2. ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เพื่อศึกษาความคาดหวัง และสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยจำแนกแต่ละด้านและรวมทุกด้าน
3. ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลค่าทดสอบทางสถิติที (t-test) เพื่อเปรียบเทียบ
ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยจำแนกแต่ละด้านและรวมทุกด้าน
100
สรุปผลการวิจัย
1. ในภาพรวมนักศึกษาทั้งหมดมีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
ทั้ง 3 ด้าน ในระดับมาก แต่พบว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ นักศึกษา
ต้องการการปรึกษาด้านบริการทั่วไป มากกว่าด้านอื่น ๆ และพบว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงด้าน
การบริการทั่วไปต่ำกว่าความคาดหวังมากกว่าด้านอื่นๆ เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
1.1 ด้านวิชาการ พบว่า นักศึกษามีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษามากในทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ ในระดับปานกลาง ซึ่งต่ำกว่า
ความคาดหวังทุกรายการ รายการที่สภาพปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวังมาก 3 อันดับแรก คือ
ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาที่มีปัญหาเรื่องการสอบ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งวิทยาการต่างๆ
และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเรียนเสริมความรู้
1.2 ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา พบว่า นักศึกษามีความคาดหวัง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติอยู่ใน
ระดับปานกลางทุกรายการ นอกจากการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายข้อบังคับและ
ระเบียบปฏิบัติของสถาบันที่นักศึกษาได้รับในระดับมาก แต่ต้องต่ำกว่าความคาดหวัง
ทุกรายการรายการที่นักศึกษาได้รับตามสภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวังมาก 3 ลำดับแรก
คือ ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อให้สูงขึ้น ให้คำแนะนำในเรื่องการแก้ปัญหาส่วนตัว และกระตุ้น
ให้นักศึกษารู้จักพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
1.3 ด้านการบริการทั่วไป พบว่า นักศึกษามีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง
ซึ่งต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ นอกจากการให้การรับรองนักศึกษา เมื่อนักศึกษาต้องการใช้
เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่างๆ ที่นักศึกษาได้รับในระดับมาก แต่ต้องต่ำกว่าความคาดหวัง
ทุกรายการรายการที่นักศึกษาได้รับตามสภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวังมาก 3 อันดับแรก
ได้แก่ นำนักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ การให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงาน
อื่นๆ ในสถาบัน และการมีส่วนร่วมเข้าร่วมกิจกรรม ปัจฉิมนิเทศ
2. นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา มีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
ต้องการบริการทั้ง 3 ด้าน ในระดับมาก แต่พบว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง
นักศึกษาคาดหวังการให้คำปรึกษาด้านการบริการทั่วไปมากกว่าด้านอื่นๆ และพบว่าสภาพที่
ปฏิบัติจริงด้านการบริการทั่วไป ต่ำกว่าความคาดหวังมากที่สุด เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า
101
2.1 ด้านวิชาการ พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษามีความคาดหวังเกี่ยวกับ
บทบาทของอาจารย์ในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง
ซึ่งต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ รายการที่สภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวังมาก
3 อันดับแรก คือ ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ ให้คำปรึกษาแก่
นักศึกษาที่มีปัญหาเรื่องการสอบ และให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขอเปลี่ยนขอเพิ่มและ
ถอนรายวิชาเรียน
2.2 ด้านสวัสดิการและการพัฒนาการศึกษา พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา
มีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่
ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ รายการที่สภาพที่ปฏิบัติจริง
ต่ำกว่าความคาดหวังมาก 3 ลำดับแรก ได้แก่ ให้คำแนะนำเรื่องการดำเนินชีวิตในสถาบัน
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อนและการปรับตัวในสังคม และให้คำแนะนำในการศึกษาต่อใน
ระดับสูงขึ้น
2.3 ด้านการบริการทั่วไป พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษามีความคาดหวัง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริง
อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ รายการที่สภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่า
ความคาดหวังมาก 3 ลำดับแรก ได้แก่ การให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ
ในสถาบัน นำนักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ และเชิญวิทยากรมาบรรยายความรู้
เพิ่มเสริมให้นักศึกษา
3. นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ทั้ง
3 ด้าน ในระดับมาก และพบว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมากทุกด้าน ยกเว้นด้านสวัสดิการ
และการพัฒนานักศึกษาที่อยู่ในระดับปานกลาง และพบว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวัง
ในทุกรายการและด้านที่ต่ำกว่ามากที่สุด คือด้านวิชาการ เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
3.1 ด้านวิชาการ พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์มีความคาดหวังเกี่ยวกับ
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ และเห็นว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับ
มาก 7 รายการ และอยู่ในระดับปานกลาง 8 รายการ ซึ่งต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ
รายการที่สภาพที่เป็นจริงต่ำกว่าความคาดหวังมาก 3 ลำดับแรก ได้แก่ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับ
การคำนวณหาค่าระดับเฉลี่ย ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ และ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งวิทยาการต่าง ๆ
3.2 ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา พบว่านักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
มีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่
ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับมากเพียง 5 รายการ และอยู่ในระดับปานกลาง 9 รายการ และพบว่า
102
สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ ยกเว้นรายการเดียวที่สภาพที่ปฏิบัติ
จริงเป็นไปตามความคาดหวัง คือ มีการนัดหมายพบปะนักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบ รายการ
ที่สภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวัง 3 อันดับ คือ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อนและ
การปรับตัวในสังคม ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นและให้คำแนะนำในเรื่อง
การแก้ปัญหาส่วนตัว
3.3 ด้านการบริการทั่วไป พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์มีความคาดหวัง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริงเป็น
ไปตามความต้องการในระดับมาก เพียง 6 รายการ และอยู่ในระดับปานกลาง 4 รายการ
และพบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ รายการที่สภาพ
ที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวัง 3 อันดับแรกคือ แจ้งประกาศข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษา
ทราบ การให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ ในสถาบัน และการทำหน้าที่
เป็นสื่อกลางที่ดีระหว่างผู้บริหารกับนักศึกษา
4. นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์มีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
ทั้ง 3 ด้าน ในระดับมาก และพบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี
สภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ คือ ด้านบริการทั่วไป และพบว่าสภาพที่ปฏิบัติ
จริงต่ำกว่าความคาดหวังมากกว่าด้านอื่นๆ เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า
4.1 ด้านวิชาการ พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์มีความคาดหวังเกี่ยวกับ
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริงในระดับ
ปานกลาง ซึ่งต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ รายการที่สภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวัง
3 อันดับแรก คือ ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ ให้ความรู้ความเข้าใจ
ในการจัดตารางสอนและการลงทะเบียน และให้คำแนะนำวิธีการจัดทำแผนการเรียน
ตลอดหลักสูตร
4.2 ด้านสวัสดิการและและการพัฒนานักศึกษา พบว่า นักศึกษาสาขาวิชา
ศิลปศาสตร์ มีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ
ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกรายการ ยกเว้น ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับ และระเบียบปฏิบัติของสถาบัน ที่เป็นไปตามความคาดหวัง
ในระดับมาก รายการที่สภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวังมาก 3 ลำดับแรก คือ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อนและการปรับตัวในสังคม ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ
ในระดับสูงขึ้น และให้คำแนะนำในเรื่องการแก้ปัญหาส่วนตัว
103
4.3 ด้านการบริการทั่วไป พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์มีความคาดหวัง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับมากทุกรายการ ในขณะที่สภาพที่ปฏิบัติจริงอยู่ใน
ระดับมากเพียง 2 รายการ และอยู่ในระดับปานกลาง 8 รายการ และพบว่าสภาพที่ปฏิบัติจริง
อยู่ในระดับที่ต่ำกว่าความคาดหวังทุกรายการ รายการที่สภาพที่ปฏิบัติจริงต่ำกว่าความคาดหวัง
3 อันดับแรก คือ นำนักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ ทำหน้าที่ประสานงานกับ
อาจารย์ผู้สอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา และการให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ
ในสถาบัน
อภิปรายผลการวิจัย
จากผลการวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพที่เป็นจริงเกี่ยวกับ
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา” ใน 3 ด้าน คือ ด้าน
วิชาการ ด้านสวัสดิการและพัฒนานักศึกษาและด้านการบริการทั่วไป พบว่า มีประเด็นที่นำมา
อภิปรายผล ดังนี้
1. ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1.1 ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบัน
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน
ผลการวิจัยพบว่า ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษาโดยรวม อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีความคาดหวังด้านการบริการทั่วไปอยู่ในระดับ
สูงสุด รองลงมา คือ ด้านวิชาการ และด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ทั้งนี้ อาจเป็น
เพราะนักศึกษาตระหนักว่า อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้มีคุณวุฒิและมีความเชี่ยวชาญรวมทั้งมีความรู้
ที่กว้างขวางและทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งสามารถให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาได้อย่างดี โดยผลการวิจัย
ที่พบในครั้งนี้มีความสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ พรพรรณ อภิวิมลลักษณ์ (2539 : 148-151)
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักศึกษามีความคาดหวังเกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา อยู่ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ ด้านวิชาการ นักศึกษามีความคาดหวังเกี่ยวกับ
การให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ ด้านสวัสดิการและการพัฒนา
นักศึกษา มีความคาดหวังเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและ
ระเบียบของสถาบัน ส่วนด้านการบริการทั่วไป มีความคาดหวังเกี่ยวกับการทำหน้าที่ประสาน
งานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา ทั้งนี้อาจเป็นเพราะนักศึกษามีความสับสน
ไม่เข้าใจหลักสูตรการวางแผนการเรียน จึงคาดหวังให้อาจารย์ที่ปรึกษาช่วยเหลือให้คำแนะนำ
104
โดยเฉพาะนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ซึ่งเป็นปีสุดท้าย จำเป็นต้องเรียนให้ครบหลักสูตรเพื่อให้สามารถ
จบหลักสูตรได้ตามกำหนดเวลา และต้องคำนึงถึงการเตรียมตัวออกไปประกอบอาชีพหรือศึกษา
ต่อในระดับสูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อรพรรณ พงษ์ประสิทธิ์ (2537 : 123-125)
และ มิตรจิตร ทะโรงอาด (2542 : 60) เช่นกัน
1.2 สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้าน
สมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน
ผลการวิจัยพบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสถาบัน
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้านอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน
เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านการบริการทั่วไป ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา และด้าน
วิชาการ สำหรับการปฏิบัติจริงนั้นพบว่า ด้านการบริการทั่วไปมีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการ
ให้การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่างๆ ด้านสวัสดิการ
และการพัฒนานักศึกษามีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย
ข้อบังคับ และระเบียบปฏิบัติของสถาบัน และด้านวิชาการมีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้ความรู้
ความเข้าใจในการจัดตารางสอน และการลงทะเบียน สอดคล้องกับที่ สุจริต เพียรชอบและ
วรศักดิ์ เพียรชอบ (2523 : 108) ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาว่า ควรทำ
ความเข้าใจกับนักศึกษา เพื่อให้เข้าใจบทบาทและความรับผิดชอบของตนเกี่ยวกับการเรียน
การดำเนินชีวิตในสังคม และเข้าใจบทบาทและความรับผิดชอบของตนเองและของอาจารย์ที่
ปรึกษาในด้านต่างๆ
2. ความคาดหวังและสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
2.1 ความคาดหวังของนักศึกษา สาขาวิชาการศึกษา เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน
ผลการวิจัย พบว่า ความคาดหวังของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาเกี่ยวกับบท
บาทของอาจารย์ที่ปรึกษาทั้งโดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก ทุกด้าน เรียงตาม
ลำดับคือ ด้านการบริการทั่วไปมีความคาดหวังเกี่ยวกับการประสานงานกับอาจารย์ผู้สอน ด้าน
วิชาการ ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา มีความคาดหวังเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจ
เรื่องหลักสูตร นโยบาย ข้อบังคับ ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะเรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นผลประโยชน์ของ
นักศึกษาโดยตรง ดังที่ วัฒนา พัชราวนิช (2539 : 218) กล่าวไว้ว่า ครูที่ปรึกษาจะเป็นบุคคล
สำคัญที่ให้คำปรึกษาทุกๆ อย่างกับนักเรียนอย่างใกล้ชิด ให้ความเห็นอกเห็นใจในปัญหาต่างๆ
และหาทางช่วยเหลือแก้ปัญหา ทำให้เด็กเกิดความสะดวกสบาย เกิดความพอใจที่ได้รับ
ความช่วยเหลือ
105
2.2 สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษา สาขาวิชาการศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็น
รายด้าน
ผลการวิจัยพบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏ-
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษา โดยรวมและจำแนกเป็น
รายด้านอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านการบริการทั่วไป มีการปฏิบัติจริง
ที่เกี่ยวกับการให้การรับรองนักศึกษา เมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่างๆ
ด้านวิชาการ มีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับ และ
ระเบียบปฏิบัติของสถาบัน และด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา มีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับ
การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของสถาบัน ทั้งนี้ อาจเป็น
เพราะการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ จำเป็นต้องได้รับการรับรองจากสถานศึกษาถึง
สถานภาพที่แท้จริง ซึ่งนักศึกษาจำเป็นต้องใช้อยู่เสมอ โดยผลวิจัยที่พบในครั้งนี้มีความสอดคล้อง
กับผลงานวิจัยของ มิตรจิตร ทะโรงอาด (2542 : บทคัดย่อ)
3. ความคาดหวังและสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
3.1 ความคาดหวังของนักศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์
ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน
ผลการวิจัย พบว่า ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่
ปรึกษาทั้งโดยรวมและจำแนกเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงตามลำดับดังนี้ ด้าน
วิชาการมีความคาดหวังเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางสอนและลงทะเบียน ด้าน
การบริการทั่วไป มีความคาดหวังเกี่ยวกับการนำนักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ และ
ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น ทั้งนี้อาจเป็น
เพราะอาจารย์ที่ปรึกษาเห็นว่าการให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดตารางสอนและลงทะเบียน
เป็นเรื่องสำคัญ เพราะถ้านักเรียนไม่รู้ระเบียบการชำระเงินค่าลงทะเบียนหรือขอผ่อนผันการ
ลงทะเบียนไม่ทันตามกำหนดเวลา อาจทำให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษาได้ ซึ่งผลการวิจัยที่พบใน
ครั้งมีความสอดคล้องกับผลงานวิจัยของมิตรจิตร ทะโรงอาด (2542 : 60) และนพดล เตชวาทกุล
(2539 : บทคัดย่อ)
3.2 สภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขา
วิชาวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน
ผลการวิจัยพบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏ-
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์รวมอยู่ในระดับมาก
106
และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า โดยสภาพปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการและด้าน
การบริการทั่วไป อยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านวิชาการมีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับ
การติดตามผลการเรียนของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ และด้านการบริการทั่วไปมีการปฏิบัติจริง
เกี่ยวกับการเชิญวิทยากรบรรยายความรู้ เพื่อเสริมให้นักศึกษา ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะนักศึกษา
ชั้นปีที่ 4 เป็นปีสุดท้ายของการเรียน อาจารย์ที่ปรึกษาจึงต้องติดตามผลการเรียนของนักศึกษา
อย่างสม่ำเสมอ หากยังมีวิชาใดติดค้างอยู่จะต้องแก้ไขให้ทันเวลาและวิชาที่เรียนอยู่ก็ต้องให้ผ่าน
เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาในการจบหลักสูตร ส่วนในเรื่องการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้
คำแนะนำในการเตรียมตัว เตรียมความพร้อมในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ เพื่อก้าวต่อไป
ในชีวิตและสังคมข้างหน้าภายนอกสถาบัน โดยผลการวิจัยที่พบนี้สอดคล้องกับผลงานวิจัย
ของแอสทิน (Astin, A.W., 1983 : 95)
4. ความคาดหวังและสภาพปฏิบัติจริงตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชา
ศิลปศาสตร์เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
4.1 ความคาดหวังของนักศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร์ เกี่ยวกับบทบาทของ
อาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน
ผลการวิจัยพบว่า ความคาดหวังของนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่
ปรึกษา ทั้งโดยรวมและจำแนกเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงตามลำดับดังนี้
ด้านบริการทั่วไป มีความคาดหวังเกี่ยวกับการทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับนักศึกษา ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา และด้านวิชาการมีความสอดคล้อง
เกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจในนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบ และหลักสูตร ทั้งนี้อาจเป็น
เพราะอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นคนกลางที่จะนำความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิดต่างๆ ของนักศึกษา
ถ่ายทอดไปยังอาจารย์ผู้สอน และสานต่อแนวความคิดสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
โดยผลการวิจัยที่พบนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ พรรณนา มงคลวิทย์ (2527 : ง-ฉ) และนพดล
เตชวาทกุล (2539 : บทคัดย่อ) ด้วยเช่นกัน
4.2 สภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็น
รายด้าน
ผลการวิจัยพบว่า สภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ตามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์ โดยรวมและจำแนก
เป็นรายด้านอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านสวัสดิการและการพัฒนา
นักศึกษามีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย ข้อบังคับและระเบียบ
ปฏิบัติของสถาบัน รองลงมาได้แก่ ด้านการบริการทั่วไปมีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการเข้าร่วม
107
ปฐมนิเทศนักศึกษา และด้านวิชาการมีการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ
หลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ ซึ่งสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ นพดล เตชวาเทวกุล (2539 :
บทคัดย่อ)
5. การศึกษาเปรียบเทียบ ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริง ตามความคิดเห็นของ
นักศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยรวมและจำแนกเป็นรายด้าน
ผลการวิจัยพบว่า ความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของที่
ปรึกษาตามความคิดเห็นของนักศึกษาโดยรวม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.01 ทุกด้าน โดยนักศึกษามีความคาดหวังสูงกว่าสภาพที่ปฏิบัติจริงในทุกด้าน และ
สอดคล้องกับผลงานวิจัยของมณี พงษ์เฉลียวรัตน์ (2539 : 68) ที่พบในลักษณะนี้เช่นกัน
ข้อเสนอแนะ
จากข้อค้นพบในการวิจัย ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะจากการวิจัยในการนำผลการวิจัยไปใช้
และข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ดังนี้
1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
1.1 ข้อเสนอแนะสำหรับสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาโดยทั่วไป
1.1.1 มีเพียงรายการเดียวที่อาจารย์ที่ปรึกษาปฏิบัติได้สอดคล้องกับความคาด
หวังของนักศึกษา คือ “มีการนัดหมาย พบปะนักศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบ” ของนักศึกษา
สาขาวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงควรให้การสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการพบปะระหว่างนักศึกษา
และอาจารย์ที่ปรึกษา
1.1.2 นักศึกษาในภาพรวมต้องการการแนะแนวด้านบริการทั่วไป มากกว่า
ด้านอื่นๆ ในขณะที่นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาและสาขาวิชาศิลปศาสตร์ ต้องการแนะแนวด้าน
การบริการทั่วไป มากกว่าด้านอื่นๆ ส่วนนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ต้องการด้านสวัสดิการ
และการพัฒนานักศึกษา
1.1.3 สภาพที่ปฏิบัติจริงของอาจารย์แนะแนวที่ต่ำกว่าความคาดหวังของ
นักศึกษามาก ควรได้รับการปรับปรุงด่วนในระดับแรกๆ คือ
1) ในภาพรวมด้านสถานที่ ควรปรับปรุงก่อนในเรื่องต่อไปนี้
(1) ด้านวิชาการ ควรจะปรับปรุงเรื่อง ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธี
การเรียนให้ได้ผลดี ให้คำแนะนำเกี่ยวกับแหล่งวิทยาการต่างๆ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเรียน
เสริมความรู้
108
(2) ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ควรปรับปรุงก่อนใน
เรื่องให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น ให้คำแนะนำในเรื่องการแก้ปัญหาส่วนตัว
กระตุ้นให้นักศึกษารู้จักพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย
(3) ด้านการบริการทั่วไป ควรปรับปรุงก่อนในเรื่อง นำนักศึกษาไป
ทัศนศึกษาแหล่งความรู้ต่างๆ การให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ ในสถาบัน แจ้ง
ประกาศข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาทราบ
1.1.4 สาขาวิชาการศึกษา ควรปรับปรุงก่อนในเรื่องต่อไปนี้
1) ด้านวิชาการ ควรจะปรับปรุงเรื่องให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของ
หลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาที่มีปัญหาเรื่องการสอบ ให้ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการขอเปลี่ยนขอเพิ่มและขอถอนรายวิชาเรียน
2)ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ควรปรับปรุงก่อนในเรื่อง
ให้คำแนะนำเรื่องการดำเนินชีวิตในสถาบัน ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อนและการปรับตัวใน
สังคม ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น
3) ด้านบริการทั่วไป ควรปรับปรุงก่อนในเรื่อง ให้คำแนะนำใน
การศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น จัดกิจกรรมให้นักศึกษาพัฒนาตนเอง จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้าง
ความเป็นกันเอง ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
1.1.5 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ควรปรับปรุงก่อนในเรื่องต่อไปนี้
1) ด้านวิชาการ ควรจะปรับปรุงเรื่อง ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณ
หาค่าระดับเฉลี่ย ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่ให้คำแนะนำวิธีการ
จัดทำแผนการเรียนตลอดหลักสูตร
2) ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ควรปรับปรุงก่อนในเรื่อง
ให้คำแนะนำเรื่องการดำเนินชีวิตในสถาบัน ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อนและการปรับตัวใน
สังคม ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น
3)ด้านบริการทั่วไป ควรจะปรับปรุงเรื่อง แจ้งประกาศข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษาทราบ ทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา การ
ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางที่ดีระหว่างผู้บริหารกับนักศึกษา
1.1.6 สาขาวิชาศิลปศาสตร์ ควรปรับปรุงก่อนในเรื่องต่อไปนี้
1) ด้านวิชาการ ควรปรับปรุงเรื่อง ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของหลักสูตร
ที่กำลังศึกษาอยู่ ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดตารางสอนและการลงทะเบียน ให้คำแนะนำวิธีการ
จัดทำแผนการเรียนตลอดหลักสูตร
109
2) ด้านสวัสดิภาพและการพัฒนาการศึกษา ควรจะปรับปรุงเรื่อง
ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น ให้คำแนะนำในเรื่องการแก้ปัญหาส่วนตัว
จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
3) ด้านการบริการทั่วไป ควรจะปรับปรงุ เรอื่ ง ให้การรับรองนักศึกษา
เมื่อนักศึกษาต้องการใช้เอกสารรับรองเป็นหลักฐานต่างๆ ทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอน
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา การให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับหน่วยงานอื่นๆ ในสถาบัน
1.1.7 ข้อเสนอแนะที่ได้จากนักศึกษาในแต่ละด้าน คือ
1) ด้านวิชาการ ควรดูแลเอาใจใส่นักศึกษาให้ทั่วถึงและเสมอภาคกัน
ควรสละเวลาในการให้คำปรึกษาของนักศึกษาและควรแนะนำรายละเอียดต่างๆ ในด้านวิชาการ
ให้แก่นักศึกษาอย่างชัดเจน
2) ด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษา ควรจัดทำกิจกรรมเพื่อสร้าง
ความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ควรจัดวิทยากรแนะนำการศึกษาต่อระดับปริญญาโท
และควรแนะนำเกี่ยวกับการสมัครงานแก่นักศึกษาชั้นปีที่ 4
3) ด้านการบริการ ควรจัดทำกิจกรรม พบปะระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
ทุกชั้นปี ควรเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนให้แก่นักศึกษา และควรแนะนำเกี่ยวกับการ
สมัครงานแก่นักศึกษาชั้นปีที่ 4
1.2 ข้อเสนอแนะสำหรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงระบบอาจารย์
ที่ปรึกษาในสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คือ
1.2.1 ควรจัดประชุมสัมมนา ฝึกอบรมให้ความรู้ เพื่อสร้างศักยภาพสำหรับ
อาจารย์ที่ปรึกษาในการให้คำปรึกษาในทุก ๆ ด้าน
1.2.2 ควรพัฒนารูปแบบการปฏิบัติงานอาจารย์ที่ปรึกษาให้เป็นไปในแนวทาง
เดียวกัน
1.2.3 ควรพิจารณาอาจารย์ในสาขาเดียวกับนักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบมา
เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา เพราะสามารถเข้าใจปัญหาของนักศึกษาได้ลึกซึ้ง
1.2.4 ควรจัดบริการสถานที่เป็นสัดส่วนและเหมาะสมในการให้นักศึกษามารับ
คำปรึกษา
1.2.5 สำหรับอาจารย์ที่ปรึกษาของสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ควรจัด
ตารางเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษา แนะนำได้อย่างสม่ำเสมอ
110
2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการวิจัยสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาใน
สถาบันราชภัฏให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพที่เป็นจริงเกี่ยวกับบทบาท
ของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร อาจารย์ และนักศึกษา เพื่อนำผลมาปรับปรุง
พัฒนาระบบการให้คำปรึกษา
บรรณานุกรม
112
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
เจียรนัย ทรงชัยกุล. (2533). จิตวิทยาพื้นฐานในการให้คำปรึกษาหน่วยที่ 14 เอกสารการสอน
ชุดวิชาจิตวิทยาและสังคมพื้นฐานเพื่อการแนะแนว. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชัชวาล หังสพฤกษ์. (2535). ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาเกี่ยว
กับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วิทยานิพนธ์
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาการบริหารอาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
นพดล เตชวาทกุล. (2539). การศึกษาสภาพและปัญหาในการปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ปรึกษาใน
วิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารอาชีวศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
นวลจันทร์ รมณารักษ์. (2530). พฤติกรรมการให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาพยาบาล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา
การแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนคินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
นันทา เกียรติกำจร. (2544). การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องกรในการปฏิบัติหน้าที่
อาจารย์ที่ปรึกษา ตามความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา
ในภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
อาชีวะและเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
บัณฑิต ชัยชนะ. (2533). บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประชุมสุข อาชวอำรุง. (2523). งานมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : การพิมพ์พระนคร.
ผกา บุญเรือง. (2528). เอกสารคำสอนวิชาการแนะแนวเบื้องต้น. ชลบุรี : ภาควิชาการแนะแนว
และจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน.
ผ่องพรรณ เกิดพิพักษ์. (2529). การแนะแนวและการให้คำปรึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา.
กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
113
พจน์ สะเพียรชัย. (2529). ความสำคัญและแนวโน้มของการศึกษาเพื่ออาชีพ การศึกษาเพื่ออาชีพ
งานศิลปหัตถกรรมและอาชีวศึกษา29 กระทรวงศึกษาธิการประจำปี 2529. กรุงเทพฯ :
อมรินทร์การพิมพ์.
พรพรรณ อภิวิมลลักษณ์. (2539). บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาตามความต้องการของนักเรียนใน
ระดับมัธยมศึกษา จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พรรณนา มงคลวิทย์. (2527). แนวโน้มของภารกิจอาจารย์ที่ปรึกษาในวิทยาลัยครู.
วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
มณี พงษ์เฉลียวรัตน์. (2539). บทบาทและคุณลักษณะอาจารย์ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาในสหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2536). คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษา ปีการศึกษา 2536–2537. เชียงใหม่ :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (2545). อาจารย์ที่ปรึกษา. กรุงเทพฯ : ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย.
มิตรจิตร ทะโรงอาด. (2542). หน้าที่และบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของ
นักศึกษาประเภทช่างอุตสาหกรรมในวิทยาลัยเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาการบริหารอาชีวศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
วรรณี จำนงรักษ์. (2539). บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษา
และนักศึกษาในวิทยาลัยสังกัดกรมอาชีวศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาศึกษาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
วรรณี เสือบัว. (2539). ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องกับงานกิจการนักศึกษาที่มีต่อ
คุณลักษณะบทบาทและการเลือกสรรอาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรมเสริมหลักสูตร
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วัชรี ทรัพย์มี. (2525). ทฤษฎีและกระบวนการให้คำปรึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
114
วัฒนา พัชราวานิช. (2539). หลักการแนะแนว. กรุงเทพฯ : ฝ่ายพัฒนาตำราและเอกสารวิชาการ
หน่วยศึกษานิเทศก ์ กรมฝึกหัดคร.ู
วิจิตร บุญยธโรกุล. (2541). “บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาอันพึงประสงค์...อยู่ตรงไหน”.
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 8(3) : 4-12 ; (มิถุนายน).
วิโรจน์ ว่องวรานนท์. (2539). รายงานการวิจัยเรื่องคุณลักษณะและหน้าที่ควรปฏิบัติของอาจารย์
ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของนักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคภูเก็ตปีการศึกษา 2539.
ภูเก็ต : ฝ่ายวางแผนและพัฒนา วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต.
วิสาลินี นุกัลยา. (2539). การปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาของอาจารย์พยาบาล
วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการพยาบาลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิสูตร จำเนียร. (2543). การปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ปรึกษาเกี่ยวกับบทบาทในการให้คำปรึกษา
แก่นักศึกษาในสถาบันราชภัฏธนบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ศุภวดี บุญญวงศ์. (2531). บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาและเทคนิคการให้คำปรึกษา. ในเอกสาร
ประกอบการประชุมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วิทยาเขตภาคใต้ สงขลา. ปทุมธานี : ฝ่ายวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. (เอกสารอัดสำเนา).
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (2523). คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษา. กรุงเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. (2541). คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยาเขตพระนครเหนือ. กรุงเทพฯ :
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครเหนือ.
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (2542). คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษา. กรุงเทพฯ :
สำนักกิจการนักศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
. (2544). คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษา (ฉบับปรับปรุง 2544). กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏบ้าน
สมเด็จเจ้าพระยา.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2530). แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 6
กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองการพิมพ์.
. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวาน
กราฟฟิก จำกัด.
115
สำเนาว์ ขจรศิลป์. (2534). ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ :
ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สิริวัลย์ อินทร์ใจเอื้อ. (2545). สภาพและปัญหาการปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ปรึกษาโรงเรียน
มัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
สุกัญญา สุวรรณนาคินทร์. (2537). “บทบาทของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาเทคนิค”.
วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา. 6(11) : 30-33 ; (กรกฎาคม).
สุจริต เพียรชอบ และ วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2523). สภาพการให้คำปรึกษาในจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เล่ม 1: รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ : หน่วยพัฒนาคณาจารย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรชัย แย้มทิม. (2543). การปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ปรึกษาในสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา
จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
อาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
สุรัสวดี มุสิกบุตร. (2537). การวิเคราะห์บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ สาขาสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยของรัฐตามทฤษฎีของวินสตันและคณะ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรพรรณ พงษ์ประสิทธิ์. (2537). การศึกษาความต้องการบริการการปรึกษาของนักเรียนนักศึกษา
พยาบาลวิทยาลัยพยาบาลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดกองงานวิทยาลัย
พยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา
การแนะแนว มหาวิทยาลัยบูรพา.
อาภรณ์ แก้วมาลา. (2537). ความต้องการบริการให้คำปรึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7. วิทยานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการแนะแนว มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อาภา จันทรสกุล. (2535). ทฤษฎีและวิธีให้คำปรึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ภาควิชาจิตวิทยา
การศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
Astin, Alexander W. (1983). Four Critical Years: Effects of College on Beliefs. Attitudes,
and Knowledge. San Francisco : CA: Jossey-Bass.
. (1985). Achieving Educational Excellence: A Critical Assessment of Priorities
and Practices in Higher Education. San Francisco. CA: Jossey-Bass.
116
Bargar, R.R. and Mayo-Chamberlain, J. (1983). “Advisor and Advisee Issues in Doctoral
Education”. Journal of Higher Education. 54(4) : 407-432 ; (July-December).
Barr, Margaret, J. and Keating, Lou Ann. (1985). Developing Effective Student Services
Programs. San Francisco: Jossey-Bass.
Chickering, A.W. (1993). Education and Identity. 2nd Ed. San Francisco : Jossey-Bass.
Krejcie, Robert V. and Daryle, W. Morgan. (1970). “Determining Sample Size for Research
Activities”. Educational and Psychological Measurement. 30(8) : 608 (May).
Pascarella, E.T. and Tereuzini, P.T. (1978). “Patterns of Student Faculty Informal Interaction
Beyond the Classroom and Voluntary Freshman Attrition”. Journal of Higher
Education. 48(5) : 133 (June).
Volkwein, J. F., King, M., and Tereuzini, P.T. (1986). “Student-Faculty Relationships and
Intellectual Growth Among Transfer Students”. Journal of Higher Education. 57(4) :
413-430 ; (April).
ภาคผนวก ก
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
118
ตอนที่ 1
สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่อง ❏ หน้าข้อความเกี่ยวกับสภาพความเป็นจริง
ของนักศึกษา
1. เพศ
❏ ชาย
❏ หญิง
2. นักศึกษาสาขาวิชา
❏ การศึกษา
❏ วิทยาศาสตร์
❏ ศิลปศาสตร์
3. การพักอาศัย
❏ พักอยู่กับบิดา-มารดา
❏ พักอยู่กับผู้ปกครองที่ไม่ใช่บิดา-มารดา
❏ หอพัก
❏ อื่น ๆ (โปรดระบุ) …………………………………….
119
ตอนที่ 2
แบบสอบถามความคาดหวังและสภาพที่เป็นจริง
เกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำชี้แจง แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นการถามความคาดหวังและสภาพที่เป็นจริงเกี่ยวกับบท
บาทของอาจารย์ที่ปรึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีทั้งหมด
3 ด้าน คือ การให้คำปรึกษาด้านวิชาการ ด้านสวัสดิการ และพัฒนานักศึกษา และ
ด้านการบริการทั่วไป เป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปาน
กลาง น้อย น้อยที่สุด ให้นักศึกษากาเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
ความคาดหวังและระดับปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ปรึกษาตามความคิดเห็นของนัก
ศึกษา
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการ
ข้อที่ บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ระดับความคาดหวัง ระดับปฏิบัติจริง
ด้านวิชาการ 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1 ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องของ
หลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่
2 ให้คำแนะนำวิธีการจัดทำแผนการ
เรียนตลอดจนหลักสูตร
3 ให้ความรู้ความเข้าใจในการจัด
ตารางสอนและการลงทะเบียน
4 ให้ความรู้และคำแนะนำเรื่อง
ระเบียบการวัดและประเมินผล
5 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณ
หาค่าระดับคะแนนเฉลี่ย
120
ข้อที่ บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ระดับความคาดหวัง ระดับปฏิบัติจริง
ด้านวิชาการ 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
6 ให้ความรู้เกี่ยวกับการนับเวลาเรียน
เพื่อสิทธิในการสอบ
7 ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์
การพ้นสภาพนักศึกษา
8 ให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหา
ด้านวิชาการ
9 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเรียน
เสริมความรู้
10 ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาที่มีปัญหา
เรื่องการสอบ
11 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการเรียน
ให้ได้ผลดี
12 ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งวิทยาการ
ต่างๆ
13 ติดตามผลการเรียนของนักศึกษาอย่าง
สม่ำเสมอ
14 ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การขอเปลี่ยน ขอเพิ่มและถอน
รายวิชาเรียน
15 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่น
เพื่อให้นักศึกษาได้รับบริการที่มี
คุณภาพและรวดเร็ว
บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการที่ท่านต้องการให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้ปฏิบัติ
เพิ่มเติมนอกเหนือจากรายการที่กล่าวมาแล้ว
1. ………………………………………………………………………………………………….
2. ………………………………………………………………………………………………….
3. ………………………………………………………………………………………………….
121
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัดิการและด้านการพัฒนานักศึกษา
ข้อที่ บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
ด้านสวัสดิการและด้านการพัฒนา
ระดับความคาดหวัง ระดับปฏิบัติจริง
นักศึกษา 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1 ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย
ข้อบังคับและระเบียบปฏิบัติของ
สถาบัน
2 ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อปฏิบัติใน
การใช้บริการและสวัสดิการต่างๆ
ของสถาบัน เช่น ห้องโสตทัศนศึกษา
ห้องสมุด
3 ให้คำแนะนำในการศึกษาต่อในระดับ
สูงขึ้น
4 ให้คำแนะนำการขอทุนหรือการกู้ยืม
เงินเพื่อการศึกษา
5 มีการนัดหมายพบปะนักศึกษาที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ
6 ให้คำแนะนำเรื่องการดำเนินชีวิตใน
สถาบัน
7 ให้คำแนะนำในเรื่องการแก้ปัญหา
ส่วนตัว
8 จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างความเป็น
กันเองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
9 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาพัฒนาตนเอง
10 กระตุ้นให้นักศึกษารู้จักพัฒนาตนเอง
ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญา
122
ข้อที่ บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา
ด้านสวัสดิการและด้านการพัฒนา
ระดับความคาดหวัง ระดับปฏิบัติจริง
นักศึกษา 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
11 ให้การอบรมและตรวจสอบ
พฤติกรรมของนักศึกษา
12 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคบเพื่อน
และการปรับตัวในสังคม
13 ให้คำแนะนำเรื่องการปรับปรุง
บุคลิกภาพ
14 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการแบ่งเวลาเพื่อ
การเรียนและการทำกิจกรรมต่างๆ ใน
สถาบัน
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการและการพัฒนานักศึกษาที่ท่านต้องการให้อาจารย์ที่
ปรึกษาได้ปฏิบัติเพิ่มเติมนอกเหนือจากรายการที่กล่าวมาแล้ว
1. ………………………………………………………………………………………………….
2. ………………………………………………………………………………………………….
3. ………………………………………………………………………………………………….
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านการบริการทั่วไป
ข้อที่ บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ระดับความคาดหวัง ระดับปฏิบัติจริง
ด้านการบริการทั่วไป 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1 ทำหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์
ผู้สอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
2 การให้คำแนะนำวิธีการติดต่อกับ
หน่วยงานอื่น ๆ ในสถาบัน
3 การทำหน้าที่เป็นสื่อกลางที่ดีระหว่าง
ผู้บริหารกับนักศึกษา
123
ข้อที่ บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ระดับความคาดหวัง ระดับปฏิบัติจริง
ด้านการบริการทั่วไป 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
4 ให้การรับรองนักศึกษาเมื่อนักศึกษา
ต้องการใช้เอกสารรับรองเป็น
หลักฐานต่างๆ
5 แจ้งประกาศข่าวสารที่เกี่ยวข้องให้
นักศึกษาทราบ
6 การมีส่วนร่วมเข้าร่วมกิจกรรม
ปัจฉิมนิเทศ
7 การเข้าร่วมปฐมนิเทศนักศึกษา
8 เชิญวิทยากรมาบรรยายความรู้เพิ่ม
เสริมให้แก่นักศึกษา
9 นำนักศึกษาไปทัศนศึกษาแหล่ง
ความรู้ต่างๆ
10 ให้ข้อมูล ความรู้ และคำแนะนำเรื่อง
การเตรียมตัวและเทคนิค
ในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ
บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านการบริการทั่วไปที่ท่านต้องการให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้ปฏิบัติ
เพิ่มเติมนอกเหนือจากรายการที่กล่าวมาแล้ว
1. ………………………………………………………………………………………………….
2. ………………………………………………………………………………………………….
3. ………………………………………………………………………………………………….
ภาคผนวก ข
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ
125
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ
1. รองศาสตราจารย์ไพฑูรย์ ธรรมแสง อาจารย์พิเศษวิชาสถิติและการวิจัยทางการศึกษา
อดีตอธิการบดีสถาบันราชภัฏลำปาง
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิสสรหัช โชติกเสถียร ผู้อำนวยการสำนักกิจการนักศึกษา
สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภรณ์ ลิ้มบริบูรณ์ อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาการวัดผลการศึกษา
คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อินทิรา บุณยาทร อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาพื้นฐานการศึกษา
คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
5. อาจารย์ทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาการวัดผลการศึกษา
คณะครุศาสตร์ และรองผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมสาธิต
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ภาคผนวก ค
ประวัติผู้วิจัย
127
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ นางประเสริฐศรี ธรรมวิหาร
วันเดือนปีเกิด 24 มิถุนายน 2493
ที่อยู่ปัจจุบัน 1875/251 จรัญสนิทวงศ์ 71
ถ.จรัญสนิทวงศ์ บางพลัด กทม. 10700
ประวัติการศึกษา -ปม.ช. (นาฏศิลป์) โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร พ.ศ. 2513
-คบ. (ภาษาอังกฤษ) วิทยาลัยครูสวนสุนันทา พ.ศ. 2520
ประวัติการทำงาน -ครูตรี วิทยาลัยครูนครสวรรค์ พ.ศ. 2513
-อาจารย์ 1 วิทยาลัยครูเทพสตรี พ.ศ. 2516
-อาจารย์ 1 วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2522
-อาจารย์ 2 ระดับ 7 สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน -อาจารย์ 2 ระดับ 7 โปรแกรมวิชานาฏศิลป์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา (ตอนที่ 1)
การศึกษาเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพที่ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น