ศึกษาและโหลดฟรีเป็นตัวอย่างเกี่ยวกับงานวิจัย all free download research
วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554
รูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (ตอนที่ 2)
0.78
3.33
0.66
4.05
0.67
3.82
0.82
6.00**
(4,6)(3,4)(4,5)
9. ร่วมกันจัด แลกเปลี่ยนทรัพยากร
ทั้งงบประมาณ บุคลากร สถานที่
และองค์ความรู้
4.13
0.56
3.69
0.52
3.80
0.93
3.44
0.65
3.92
0.54
3.76
0.80
4.53**
(1,4)(4,5)
10. ดำเนินการพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน
4.03
0.62
3.56
0.56
4.02
0.91
3.43
0.58
3.99
0.50
3.85
0.75
6.27**
(4,6)(4,5)(3,4)(1,4)
(1,4)(2,3)(2,5)
รวมเฉลี่ย
3.94
0.32
3.65
0.43
4.05
0.55
3.45
0.36
4.02
0.34
3.87
0.52
12.40**
(3,4)(4,5)(4,6)
*p < 0.05 **p < 0.01 ตารางที่ 6.1 แสดงว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ความคิดเห็นองค์ประกอบการบริหารสถาบัน วิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้าน การบริหารสถาบันการศึกษาแบบทวิภาคี กับสถานประกอบการระหว่างสังกัดต่าง ๆ ในภาพรวม มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตด้วยความเชื่อมั่น 99% (F = 12.40) ส่วนในรายข้อย่อยทุกข้อ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยความเชื่อมั่น 99%เช่นกัน ตารางที่ 6.2 ความคิดเห็นการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้านการบริหารโดยอาศัยความร่วมมือ จำแนกตามสังกัด 1) สถาบัน 2) สถาน 3) สถาน 4) สถาน 5) สถาน 6) สถาน รายการ ศิลปศาสตร์ ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการภาค ประกอบการ ปรร ค่าเอฟะกอบกา คู่ที่แตกต่าง ภาคเหนือ ภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กทม. F X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. ข. การบริหารโดยอาศัยความร่วมมือ แบบทวิภาคี 11. รูปแบบการปรึกษา คือให้สถาน ประกอบการสวมบทบาทผู้ให้ คำปรึกษา (Consultant) ในด้าน หลักสูตรการจัดประสบการณ์ ตรงการประเมินผลและการ พัฒนาวิชาชีพฯ 3.88 0.76 3.67 0.48 4.09 0.85 3.56 0.58 3.97 0.46 3.94 0.73 4.36** (4,6)(3,4) 12. รูปแบบหน้าที่ คือ ให้สถาน ประกอบการร่วมปฏิบัติหน้าที่ พัฒนาวิชาชีพแก่ผู้เรียน โดยเป็น "พี่เลี้ยง" หรือ "ต้นแบบ" ในการ พัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อวิชาชีพ โดยการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ (4,6)(4,5) ในสถานประกอบการระยะหนึ่ง 3.78 0.58 3.58 0.50 4.18 0.91 3.46 0.58 4.00 0.43 3.90 0.71 8.26** (3,4)(2,3) 13. รูปแบบปฏิบัติการ คือ ให้สถาน ประกอบการปฏิบัติต่อผู้เรียน ที่มาฝึกงานเสมือนหนึ่งเป็น "พนักงาน"คนหนึ่งในสถาน ประกอบการโดยให้ลงมือ ปฏิบัติงานและรับผิดชอบตาม "ตำแหน่งงาน"อย่างแท้จริง ทั้ง นี้ให้อาจารย์จากสถาบันดูแล (4,6)(4,5) ในฐานะ"อาจารย์นิเทศ" 4.00 0.45 3.64 0.54 3.98 0.86 3.27 0.68 3.97 0.54 3.54 0.71 9.92** (3,4)(1,4) ตารางที่ 6.2 ความคิดเห็นการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้านการบริหารโดยอาศัยความร่วมมือ จำแนกตามสังกัด (ต่อ) 1) สถาบัน 2) สถาน 3) สถาน 4) สถาน 5) สถาน 6) สถาน รายการ ศิลปศาสตร์ ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการภาค ประกอบการ ประร ค่าเอฟกอบกา คู่ที่แตกต่าง ภาคเหนือ ภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กทม. F X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. 14. รูปแบบบูรณาการ คือ ให้สถาน ประกอบการผสมผสานรูปแบบ การปรึกษา รูปแบบหน้าที่และ รูปแบบการปฏิบัติการ โดยการ ออกแบบการจัดประสบการณ์ ร่วมกัน แต่ละช่วงเวลา ตาม แนวโน้มของวิชาชีพฯ 3.88 0.69 3.58 0.50 4.15 0.80 3.58 0.50 3.95 0.43 3.85 0.71 5.36** (1,4)(2,3)(3,4) รวมเฉลี่ย 3.88 0.42 3.62 0.46 4.09 0.72 3.47 0.40 3.97 0.39 3.98 0.60 9.21** (4,5)(4,6) **p < 0.01 ตารางที่ 6.2 แสดงว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ความคิดเห็นองค์ประกอบการบริหารสถาบัน วิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้าน การบริหารโดยอาศัยความร่วมมือแบบทวิภาคี ระหว่างสังกัดต่าง ๆ ในภาพรวมมีความแตกต่างอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยความเชื่อมั่น 99% (F = 9.21) ส่วนในรายข้อย่อยทุกข้อ มีความแตกต่างอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติด้วยความเชื่อมั่น 99% เช่นกัน ณ ตารางที่ 6.3 ความคิดเห็นการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง จำแนกตามสังกัด 1) สถาบัน 2) สถาน 3) สถาน 4) สถาน 5) สถาน 6) สถาน รายการ ศิลปศาสตร์ ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการภาค ประกอบการ ปรร ค่าเอฟะกอบกา คู่ที่แตกต่าง ภาคเหนือ ภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กทม. F X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. ค. การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 15. การสร้างประสบการณ์โดยการ ลงมือปฏิบัติงานจริงในสถาน (4,6)(1,4) ประกอบการ 3.98 0.58 3.64 0.59 4.15 0.73 3.78 0.60 4.03 0.59 3.89 0.71 9.14** (4,5)(3,4)(2,3) 16. การสะท้อนโดยไตร่ตรองใน (4,6)(4,5) สิ่งที่ปฏิบัติ 3.98 0.48 3.67 0.59 4.05 0.78 3.40 0.57 3.89 0.48 3.84 0.64 7.34** (1,4)(3,4) 17. เกิดทักษะการวิเคราะห์ความ (4,6)(1,4)(3,4) เหมือนความต่างจากประสบการ 3.90 0.44 3.53 0.56 4.02 0.66 3.42 0.61 4.03 0.57 3.84 0.66 8.60** (4,5)(2,3)(2,5) 18. เกิดทักษะการสื่อสารกับผู้อื่นด้าน ค่านิยม ทัศนคติ และความเชื่อ 3.95 0.55 3.61 0.49 3.96 0.96 3.60 0.65 4.04 0.6O 3.76 0.65 4.69** (4,5) 19. ยืนยันทฤษฎีและหลักการ ที่ศึกษาจากสถาบัน 4.03 0.66 3.56 0.56 3.87 0.96 3.44 0.62 3.89 0.53 3.86 0.68 5.26** (4,6)(4,5)(1,4) 20. เกิดความเข้าใจมโนทัศน์และ ศัพท์หลักในวิชาชีพ 4.15 0.66 3.47 0.51 3.95 0.85 3.56 0.58 4.08 0.65 3.83 0.67 7.71** (2,5)(4,5)(1,4) 21. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างกรอบ (4,6)(3,4)(4,5) แนวคิดทางทฤษฎีกับการปฏิบัติ 4.00 0.55 3.5O 0.56 3.91 0.68 3.35 0.67 3.95 0.43 3.85 0.68 8.67** (2,5)(1,4)(1,2) 22. มีความสามารถในการวางแผน เพื่อช่วยให้เข้าใจสิ่งใหม่ ๆ และ พัฒนาองค์ความรู้และทักษะ (4,6)(1,4)(1,2) ใหม่ในวิชาชีพต่อไป 4.05 0.46 3.53 0.51 4.16 0.86 3.52 0.58 3.92 0.39 3.88 0.72 7.60** (3,4)(2,3) 23. หลักสูตรและการสอน ยึดงาน (2,6)(4,6) เป็นหลัก (Work-based (2,3)(3,4) Learning) 3.68 0.66 3.50 0.51 4.3O 0.79 3.60 0.54 3.91 0.33 3.96 0.73 9.88** ((1,3)(3,6) 24. การปลูกฝัง บ่มเพาะความ ภาคภูมิใจและจรรยาบรรณใน (4,6)(4,5) วิชาชีพการประกอบอาหาร 3.8O 0.69 3.58 0.50 4.15 0.71 3.42 0.58 3.99 0.42 3.86 0.64 9.73** (3,4)(2,3) (1,2)(1,4) (2,3)(2,5) (2,6)(3,4) รวมเฉลี่ย 3.94 0.30 3.56 0.46 4.11 0.52 3.47 0.33 3.97 0.31 3.86 0.49 15.35** (3,6)(4,5)(4,6) **p < 0.01 ตารางที่ 6.3 แสดงว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ความคิดเห็นองค์ประกอบการบริหารสถาบัน วิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ระหว่าง สังกัดต่าง ๆ ในภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยความเชื่อมั่น 99% (F = 15.35) ส่วนในรายข้อย่อยทุกข้อมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติด้วยความเชื่อมั่น 99% เช่นกัน ตารางที่ 6.4 ความคิดเห็นการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้านยุทธศาสตร์ในการบริหารความร่วมมือ แบบทวิภาคี หลักสูตรการสอน จำแนกตามสังกัด 1) สถาบัน 2) สถาน 3) สถาน 4) สถาน 5) สถาน 6) สถาน รายการ ศิลปศาสตร์ ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการภาค ประกอบการ ปรร ค่าเอฟะกอบกา คู่ที่แตกต่าง ภาคเหนือ ภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กทม. F X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. ง. ยุทธศาสตร์ในการบริหารความ ร่วมมือแบบทวิภาคี หลักสูตร การสอน 25. ร่วมพัฒนารายวิชาให้เหมาะสม (4,6)(1,4) กับท้องถิ่น 3.98 0.53 3.69 0.52 4.00 1.02 3.35 0.60 3.99 0.45 3.81 0.71 6.76** (4,5)(3,4) 26. กำหนดหน่วยกิตเพื่อการฝึกงาน ในสถานประกอบการให้มี สัดส่วนเท่ากับการเรียนภาค (4,6)(4,5) ทฤษฎีในสถาบัน 3.95 0.71 3.61 0.55 4.00 0.86 3.40 0.64 3.91 0.64 3.80 0.67 5.65** (1,4)(3,4) 27. ร่วมพัฒนาหลักสูตรให้มีสาระ สัมพันธ์ (Interrelated Content) ระหว่างสถาบันกับสถาน ประกอบการ 3.95 0.64 3.61 0.49 3.95 0.89 3.58 0.54 3.97 0.94 3.81 0.71 3.32** ไม่มี 28. ร่วมพัฒนาหลักสุตรให้มีลักษณะ ท้องถิ่นอภิวัฒน์ บนรากฐานของ (4,6) โลกาภิวัฒน์ 3.8O 0.61 3.61 0.55 3.91 0.91 3.42 0.61 3.91 0.47 3.81 0.71 4.29** (4,5)(3,4) 29. ร่วมพัฒนาหลักสูตรโดยเชื่อมโยง ((4,6)(4,5) ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 4.03 0.42 3.72 0.57 4.09 0.75 3.40 0.61 4.00 0.46 3.83 0.72 7.62** (1,4)(3,4) (4,6)(4,5)(3,4) 30. ร่วมติดตามประเมินผลผู้เรียน 4.20 0.56 3.64 0.49 4.09 0.87 3.27 0.57 3.96 0.45 3.85 0.75 11.54** (1,4)(1,2) 31. ร่วมจัดการเรียนการสอนเพื่อเอื้อ ต่อการถ่ายโอนระหว่างสถาบัน (4,6)(4,5) สู่สถานประกอบการ 3.74 0.55 3.53 0.56 4.07 0.95 3.49 0.55 3.97 0.40 3.94 0.75 6.52** (3,4)(1,4)(1,2) 32. ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (4,6)(1,4) โดยยึดการปฏิบัติงานของผู้เรียน (4,5)(2,5) เป็นศูนย์กลาง 3.82 0.56 3.53 0.51 4.02 0.88 3.31 0.60 4.00 0.43 3.78 0.71 8.55** (3,4)(2,3) 33. แลกเปลี่ยนทรัพยากรทาง การศึกษาระหว่างกัน 3.92 0.49 3.61 0.49 3.96 0.85 3.53 0.59 3.87 0.60 3.81 0.73 2.90* ไม่มี (1,4)(2,3)(2,5) รวมเฉลี่ย 3.93 0.29 3.62 0.45 4.04 0.67 3.40 0.36 3.96 0.36 3.83 0.54 10.99** (3,4)(4,5)(4,6) **p < 0.01 ตารางที่ 6.4 แสดงว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ความคิดเห็นองค์ประกอบการบริหารสถาบัน วิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้าน ยุทธศาสตร์ในการบริหารความร่วมมือแบบทวิภาคี หลักสูตรการสอนระหว่างสังกัดต่าง ๆ ในภาพรวม มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยความเชื่อมั่น 99% (F = 10.99) ส่วนในรายข้อย่อย ทุกข้อ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยความเชื่อมั่น 99% เช่นกัน ตารางที่ 6.5 ความคิดเห็นการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้านวิชาชีพผู้ประกอบอาหารจำแนกตามสังกัด 1) สถาบัน 2) สถาน 3) สถาน 4) สถาน 5) สถาน 6) สถาน รายการ ศิลปศาสตร์ ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการภาค ประกอบการ ประร ค่าเอฟกอบกา คู่ที่แตกต่าง ภาคเหนือ ภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กทม. F X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. จ. วิชาชีพผู้ประกอบอาหาร 34. บูรณาการความผูกพันทาง จรรยาบรรณวิชาชีพร่วมกัน 4.00 0.62 3.64 0.54 4.17 0.80 3.61 0.65 3.95 6.49 3.81 0.7O 5.17** (3,4)(2,3)(3,6) 35. ควบคุมและทบทวนประสิทธิภาพ (4,6)(1,4) ซึ่งกันและกัน 3.95 0.61 3.69 0.62 4.07 0.70 3.42 0.66 3.97 0.46 3.82 0.73 5.99** (4,5)(3,4) 36. ควบคุมมาตรฐานวิชาชีพในการ (4,6)(1,4) ผลิตบัณฑิตร่วมกัน 3.97 0.49 3.56 0.5O 3.98 0.86 3.43 0.59 4.04 0.50 3.80 0.70 7.00** (3,4)(4,5)(2,5) 37. ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน ในการพัฒนาความชำนาญพิเศษ 3.92 0.49 3.69 0.47 4.11 0.80 3.49 0.66 3.97 0.59 3.84 0.76 4.84** (4,5)(3,4) 38. ร่วมพัฒนาบทบาทนักวิชาชีพ ตามลักษณะงาน โดยไม่จำเป็น ต้องเตรียมบัณฑิตเข้าสู่งาน (4,6)(4,5) หลังจบการศึกษา 4.13 0.47 3.61 0.55 4.09 0.92 3.27 0.62 4.00 0.47 3.80 0.75 10.53** (3,4)(1,4) 39. ร่วมพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัด (4,6)(4,5) ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน 4.11 0.56 3.58 0.50 3.93 0.82 3.42 0.69 3.89 0.48 3.85 0.70 6.09** (3,4)(1,4)(1,2) 40. ทบทวนผลของความร่วมมือทุก สิ้นปีการศึกษา เพื่อปรับปรุง (1,2)(1,4)(2,3) ในปีการศึกษาต่อไป 4.16 0.44 3.58 0.50 4.15 0.83 3.18 0.54 3.87 0.50 3.85 0.78 12.71** (3,4)(4,5)(4,6) (1,2)(1,4) (2,3)(3,4) รวมเฉลี่ย 4.03 0.23 3.62 0.47 4.09 0.62 3.40 0.40 3.96 0.37 3.83 0.57 11.93** (3,6)(4,5)(4,6) **p < 0.01 ตารางที่ 6.5 แสดงว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ความคิดเห็นองค์ประกอบการบริหารสถาบัน วิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้านวิชาชีพ ผู้ประกอบอาหาร ระหว่างสังกัดต่าง ๆ ในภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยความ เชื่อมั่น 99% (F = 11.93) ส่วนในรายข้อย่อยทุกข้อมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยความ เชื่อมั่น 99% เช่นกัน 126 4. การวิเคราะห์ตัวประกอบ (Factor Analysis) ของตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบการ บริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง จำนวน 40 ตัวแปร ดังแสดงในตารางที่ 7 เพื่อความสะดวกและเข้าใจง่าย จึงกำหนดตัวแปรต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับวิเคราะห์ตัวประกอบ ดังนี้ ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ A1 1. ร่วมกันพัฒนาจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพ การประกอบอาหาร A2 2. สร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันเพื่อพัฒนาประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน A3 3. นำกรณีศึกษาจากปัญหาการปฏิบัติการมาใช้ในการสอน ทั้งใน สถาบันและสถานประกอบการ A4 4. พัฒนาโครงสร้างในการตัดสินใจร่วมกัน A5 5. นำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาใช้ในการวัด ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน A6 6. มีการดำเนินการต่อเนื่องของทวิภาคี อย่างน้อย 1 ปี หรือมากกว่า A7 7. พัฒนาระบบการสื่อสารระหว่างสถาบัน สถานประกอบการและ ผู้เรียน A8 8. กำหนดระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์ตรงให้เพียงพอต่อการ ทำงานจริงโดยผู้เรียน A9 9. ร่วมกันจัด แลกเปลี่ยนทรัพยากร ทั้งงบประมาณ บุคลากร สถานที่ และองค์ความรู้ A10 10. ดำเนินการพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน B1 11. รูปแบบการปรึกษา คือ ให้สถานประกอบการสวมบทบาทผู้ให้ คำปรึกษา (Consultant) ในด้านหลักสูตรการจัดประสบการณ์ตรง การประเมินผลและการพัฒนาวิชาชีพฯ B2 12. รูปแบบหน้าที่ คือ ให้สถานประกอบการร่วมปฏิบัติหน้าที่พัฒนา วิชาชีพแก่ผู้เรียน โดยเป็น “พี่เลี้ยง” หรือ “ต้นแบบ” ในการพัฒนา ทักษะที่จำเป็นต่อวิชาชีพ โดยการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติในสถาน ประกอบการระยะหนึ่ง 127 ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ B3 13. รูปแบบปฏิบัติการ คือ ให้สถานประกอบการปฏิบัติต่อผู้เรียนที่มา ฝึกงานเสมือนหนึ่งเป็น “พนักงาน” คนหนึ่งในสถานประกอบการ โดยให้ลงมือปฏิบัติงานและรับผิดชอบตาม “ตำแหน่งงาน” อย่าง แท้จริง ทั้งนี้ ให้อาจารย์จากสถาบันดูแลในฐานะ “อาจารย์นิเทศ” B4 14. รูปแบบบูรณาการ คือ ให้สถาบันและสถานประกอบการผสมผสานรูปแบบการปรึกษา รูปแบบหน้าที่ และรูปแบบปฏิบัติการ โดยการออกแบบการจัดประสบการณ์ร่วมกัน แต่ละช่วงเวลา ตาม แนวโน้มของวิชาชีพฯ C1 15. การสร้างประสบการณ์โดยการลงมือปฏิบัติงานจริงในสถาน ประกอบการ C2 16. การสะท้อนโดยไตร่ตรองในสิ่งที่ปฏิบัติ C3 17. เกิดทักษะการวิเคราะห์ความเหมือน ความต่างจากประสบการณ์ C4 18. เกิดทักษะการสื่อสารกับผู้อื่น ด้านค่านิยม ทัศนคติ และความเชื่อ C5 19. ยืนยันทฤษฎีและหลักการที่ศึกษาจากสถาบัน C6 20. เกิดความเข้าใจมโนทัศน์และศัพท์หลักในวิชาชีพ C7 21. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างกรอบแนวคิดทางทฤษฎีกับการปฏิบัติ C8 22. มีความสามารถในการวางแผนเพื่อช่วยให้เข้าใจสิ่งใหม่ ๆ และ พัฒนาองค์ความรู้และทักษะใหม่ในวิชาชีพต่อไป C9 23. หลักสูตรและการสอน ยึดงานเป็นหลัก (Work-based Learning) C10 24. การปลูกฝังบ่มเพาะความภาคภูมิใจ และจรรยาบรรณในวิชาชีพ การประกอบอาหาร D1 25. ร่วมพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับท้องถิ่น D2 26. กำหนดหน่วยกิตเพื่อการฝึกงานในสถานประกอบการ ให้มีสัดส่วน เท่ากับการเรียนภาคทฤษฎีในสถาบัน D3 27. ร่วมพัฒนาหลักสูตรให้มีสาระสัมพันธ์ (Interrelated Content) ระหว่างสถาบันกับสถานประกอบการ D4 28. ร่วมพัฒนาหลักสูตรให้มีลักษณะท้องถิ่นอภิวัฒน์ บนรากฐานของ โลกาภิวัตน์ D5 29. ร่วมพัฒนาหลักสูตรโดยเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ D6 30. ร่วมติดตามประเมินผลผู้เรียน 128 ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ D7 31. ร่วมจัดการเรียนการสอนเพื่อเอื้อต่อการถ่ายโอนระหว่างสถาบัน สู่สถานประกอบการ D8 32. ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยยึดการปฏิบัติงานของผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง D9 33. แลกเปลี่ยนทรัพยากรทางการศึกษาระหว่างกัน E1 34. บูรณาการความผูกพันทางจรรยาบรรณวิชาชีพร่วมกัน E2 35. ควบคุมและทบทวนประสิทธิภาพซึ่งกันและกัน E3 36. ควบคุมมาตรฐานวิชาชีพในการผลิตบัณฑิตร่วมกัน E4 37. ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันในการพัฒนาความชำนาญพิเศษ E5 38. ร่วมพัฒนาบทบาทนักวิชาชีพตามลักษณะงาน โดยไม่จำเป็นต้อง เตรียมบัณฑิตเข้าสู่งานหลังจบการศึกษา E6 39. ร่วมพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัด ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน E7 40. ทบทวนผลของความร่วมมือทุกสิ้นปีการศึกษา เพื่อปรับปรุงใน ปีการศึกษาใหม่ 136 5. การพัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ผู้วิจัยสกัดประเด็นหลัก จากข้อค้นพบ เพื่อนำมาเป็นรากฐานในการพัฒนารูปแบบดังนี้ 1) ภาพรวม ก. การบริหารสถาบันการศึกษาแบบทวิภาคี 1. ร่วมกันพัฒนาจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพฯ 2. นำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาใช้ในการจัด ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน ข. การบริหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจแบบทวิภาคี 1. รูปแบบการปรึกษา 2. รูปแบบหน้าที่ ค. การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 1. เน้นหลักสูตรการสอน 2. สร้างประสบการณ์โดยการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานจริงในสถาน ประกอบการ ง. ด้านยุทธศาสตร์ในการจัดหลักสูตรการสอน 1. ร่วมจัดการเรียนการสอนเพื่อเอื้อต่อการถ่ายโอนระหว่างสถาบันสู่ สถานประกอบการ 2. ร่วมพัฒนาหลักสูตร โดยเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 2) สรุปความคิดเห็นที่ไม่มีความแตกต่างกันจากการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มประชากร สรุปจาก 18 ข้อ ได้ 5 กลุ่ม ดังนี้ ก. การจัดหลักสูตรการสอน 1. ยึดงานเป็นหลัก 2. พัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับท้องถิ่น 3. เข้าใจมโนทัศน์และศัพท์หลักในวิชาชีพ ข. การนำทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 1. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับการปฏิบัติ 2. กำหนดหน่วยกิตภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้เท่ากัน 137 ค. การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 1. สร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน 2. สร้างประสบการณ์จากการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ ง. การคิด 1. การสะท้อนโดยไตร่ตรอง 2. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ความเหมือนความต่าง จ. การบูรณาการความผูกพันในวิชาชีพ 1. การปลูกฝังจรรยาบรรณ 2. การสื่อสารค่านิยม ทัศนคติและความเชื่อ 3. เน้นความชำนาญพิเศษในวิชาชีพ 3) ผลการวิเคราะห์ตัวประกอบ ได้ 4 ตัวประกอบ ดังนี้ ก) คณลักษณะของรูปแบบการบริหารแบบทวิภาคี ข) การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ค) การบริหารแบบทวิภาคี ง) ปรัชญาการบริหารแบบทวิภาคี ผู้วิจัยได้พิจารณาความเชื่อมโยงระหว่างข้อค้นพบหลักที่สกัดจากผลการวิจัย และเสนอ รูปแบบฯ ซึ่งประกอบด้วย (1) องค์การที่ร่วมมือกัน คือ สถาบันศิลปศาสตร์การประกอบอาหารและสถานประกอบการ (2) องค์ประกอบของรูปแบบ 9 องค์ประกอบ และ (3) ยุทธศาสตร์ในการบริหาร ดังปรากฏในแผนภูมิที่ 7 139 โดยสรุป รูปแบบการบริหารฯ อันเป็นผลจากการวิจัยนี้ ประกอบด้วย องค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ปรัชญา คุณลักษณะการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง และการบริหารแบบทวิภาคี ซึ่งเป็น กระบวนการที่ดำเนินไปร่วมกันระหว่างสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารและสถานประกอบการ โดยใช้ยุทธศาสตร์เพื่อผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ในวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยยุทธศาสตร์ 5 กลุ่ม ได้แก่ (1) การจัดหลักสูตรการสอน (2) การนำทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (3) การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (4) การบูรณาการความผูกพันในวิชาชีพ และ (5) การประเมินและการกำกับดูแล ) ตารางที่ 7.1 ตัวประกอบที่ 1: คุณลักษณะของรูปแบบการบริหารแบบทวิภาคี ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ น้ำหนักตัวประกอบ D 7 31. ร่วมจัดการเรียการสอนเพื่อเอื้อต่อการถ่ายโอนระหว่างสถาบัน 0.763 สู่สถานประกอบการ D 8 32. ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดการปฏิบัติงาน 0.674 ของผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง D 9 33. แลกเปลี่ยนทรัพยากรทางการศึกษาระหว่างกัน 0.665 C 9 23. หลักสูตรและการสอน ยึดงานเป็นหลัก (Work-based Learning 0.592 E 5 38. ร่วมพัฒนาบทบาทนักวิชาชีพตามลักษณะงานโดยไม่จำเป็น 0.588 ต้องเตรียมบัณฑิตเข้าสู่งานหลังจบการศึกษา B 2 12. รูปแบบหน้าที่ 0.564 คือให้สถานประกอบการร่วมปฏิบัติหน้าที่พัฒนาวิชาชีพแก่ ผู้เรียน โดยเป็น " พี่เลี้ยง" หรือ " ต้นฉบับ" ในการพัฒนา ทักษะที่จำเป็นต่อวิชาชีพโดยการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติใน สถานประกอบการระยะหนึ่ง E 2 35. ควบคุมและทบทวนประสิทธิภาพซึ่งกันและกัน 0.556 E 4 37. ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันในการพัฒนาความชำนาญ 0.553 พิเศษ E 6 39. ร่วมพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ 0.532 การจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน B 4 14. รูปแบบบูรณาการ 0.529 คือ ให้สถาบันและสถานประกอบการผสมผสานรูปแบบ การปรึกษา รูปแบบหน้าที่และรูปแบบปฏิบัติการ โดยการ ออกแบบการจัดประสบการณ์ร่วมกันแต่ละช่วงเวลา ตาม แนวโน้มของวิชาชีพฯ E 3 36. ควบคุมมาตรฐานวิชาชีพในการผลิตบัณฑิตร่วมกัน 0.528 ตารางที่ 7.1 ตัวประกอบที่ 1 (ต่อ) ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ น้ำหนักตัวประกอบ B 3 13. รูปแบบปฏิบัติการ 0.521 คือ ให้สถานประกอบการปฏิบัติต่อผู้เรียนที่มาฝึกงาน เสมือนหนึ่งเป็น " พนักงาน" คนหนึ่งในสถานประกอบการ โดยให้ลงมือปฏิบัติงานและรับผิดชอบตาม " ตำแหน่งงาน" อย่างแท้จริง ทั้งนี้ให้อาจารย์จากสถาบันดูแลในฐานะ " อาจารย์นิเทศ " B 1 11. รูปแบบการปรึกษา 0.514 คือ ให้สถานประกอบการสวมบทบาทผู้ให้คำปรึกษา (Consultant) ในด้านหลักสูตรการจัดประสบการณ์ตรงการ ประเมินผลและการพัฒนาวิชาชีพ E 1 34. บูรณาการความผูกพันทางจรรยาบรรณวิชาชีพร่วมกัน 0.514 E 7 40. ทบทวนผลของความร่วมมือทุกสิ้นปีการศึกษาเพื่อปรับปรุง 0.500 ในปีการศึกษาต่อไป D 3 27. ร่วมพัฒนาหลักสูตรให้มีสาระสัมพันธ์ (Interrelated Content) 0.454 ระหว่างสถาบันกับสถานประกอบการ D 1 25. ร่วมติดตามประเมินผลผู้เรียน 0.446 D 6 30. ร่วมติดตามประเมินผลผู้เรียน 0.431 D 4 28. ร่วมพัฒนาหลักสูตรให้มีลักษณะท้องถิ่นอภิวัฒน์ บนรากฐาน 0.428 ของโลกาภิวัฒน์ ตารางที่ 7.2 ตัวประกอบที่ 2 : การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ น้ำหนักตัวประกอบ C 4 18. เกิดทักษะการสื่อสารกับผู้อื่นด้านค่านิยม ทัศนะคติและ 0.656 ความเชื่อ C 6 20. เกิดความเข้าใจมโนทัศน์และศัพท์หลักในวิชาชีพ 0.651 C 5 19. ยืนยันทฤษฎีและหลักการที่ศึกษาจากสถาบัน 0.650 D 2 26. กำหนดหน่วยกิตเพื่อการฝึกงานในสถานประกอบการ 0.601 ให้มีสัดส่วนเท่ากับการเรียนภาคทฤษฎีในสถาบัน C 3 17. เกิดทักษะการวิเคราะห์ความเหมือนความต่างจากประสบการณ์ 0.600 C 8 22. มีความสามารถในการวางแผนเพื่อช่วยให้เข้าใจสิ่งใหม่ ๆ 0.575 และพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะใหม่ ในวิชาชีพต่อไป C 7 21. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างกรอบแนวคิดทางทฤษฎีกับ 0.571 การปฏิบัติ C2 16. การสะท้อนโดยไตร่ตรองในสิ่งที่ปฏิบัติ 0.523 D5 29. ร่วมพัฒนาหลักสูตรโดยเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 0.480 ตารางที่ 7.3 ตัวประกอบที่ 3 : การบริหารแบบทวิภาคี ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ น้ำหนักตัวประกอบ A 5 5. นำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาใช้ในการวัด 0.713 ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน A 4 4. พัฒนาโครงสร้างในการตัดสินใจร่วมกัน 0.634 A 9 9. ร่วมกันจัด แลกเปลี่ยนทรัพยากรทั้งงบประมาณ บุคลากร 0.622 สถานที่และองค์ความรู้ A 10 10. ดำเนินการพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน 0.587 A 8 8 กำหนดระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์ตรงให้เพียงพอ 0.584 ต่อการทำงานจริงโดยผู้เรียน A 7 7. พัฒนาระบบการสื่อสารระหว่างสถาบันสถานประกอบการ 0.516 และผู้เรียน A 6 6. มีการดำเนินการต่อเนื่องของทวิภาคีอย่างน้อย 1 ปี หรือมากกว่า 0.425 ตารางที่ 7.4 ตัวประกอบที่ 4 : ปรัชญาการบริหารแบบทวิภาคี ตัวแปร องค์ประกอบรูปแบบ น้ำหนักตัวประกอบ A 2 2. สร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันเพื่อพัฒนาประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน 0.702 A 3 3. นำกรณีศึกษาจากปัญหาการปฏิบัติการมาใช้ในการสอน 0.605 ทั้งในสถาบันและสถานประกอบการ A 1 1. ร่วมกันพัฒนาจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา 0.581 วิชาชีพการประกอบอาหาร C 10 24. การปลูกฝังบ่มเพาะความภาคภูมิใจและจรรยาบรรณในวิชาชีพ 0.565 การประกอบอาหาร C 1 15. การสร้างประสบการณ์โดยการลงมือปฏิบัติงานจริงในสถาน 0.446 ประกอบการ บทที่ 5 สรุป อภิปราย และเสนอแนะ ในการวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนี้ ผู้วิจัยได้สรุปโดยกล่าวถึง วัตถุประสงค์ในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัยโดยสังเขป และ ผลงานวิจัยที่มีมาก่อน และในท้ายที่สุด ได้เสนอแนะเพื่อการวิจัยและการประยุกต์เพื่อสร้าง องค์ความรู้ และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อไป วัตถุประสงค์ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการบริหารสถาบันวิชาชีพ โดยอาศัยความร่วมือร่วมใจเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2. พัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยนี้ศึกษาเฉพาะสถาบันที่จัดการสอนวิชาชีพการประกอบอาหารภายในประเทศไทยใน พ.ศ. 2545 โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ประกอบการเบเกอรี่ขนาดใหญ่ ซึ่งรวมตัวกันเพื่อจัดตั้งชมรมผู้ประกอบการเบเกอรี่ไทยทั่วราชอาณาจักรเท่านั้น วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ 1.1) การบริหารสถาบันการศึกษา 1.2) การจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาเพื่อความร่วมมือ 1.3) การบริหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจ 143 1.4) การเรียนรู้จากประสบการณ์ 1.5) การพัฒนารูปแบบ ขั้นตอนที่ 2 สร้างเครื่องมือวิจัย โดยผู้วิจัยจะนำกรอบแนวคิดมากำหนดประเด็น คำถามเพื่อสร้างแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 3 นำเครื่องมือไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะเพื่อให้ได้เครื่องมือที่มีคุณภาพ ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการเก็บรวมรวมข้อมูล โดยการส่งแบบสอบถามไปยังประชากร ทั้งหมด และเก็บข้อมูลกลับคืนมาด้วยตัวผู้วิจัยเอง จัดส่งทางไปรษณีย์ โทรสาร และ e-mail ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS โดยนำเสนอค่าสถิติบรรยายการเปรียบเทียบและจัดกลุ่มองค์ประกอบโดยการวิเคราะห์ตัวประกอบ (Factor Analysis) ขั้นตอนที่ 6 พัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ สรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัย โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ภูมิหลังของผู้ตอบแบบพิจารณาตัดสิน ตอนที่ 2 สรุปความคิดเห็นในภาพรวม ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบการพิจารณาตัดสินระหว่างกลุ่มประชากร ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ตัวประกอบ ตอนที่ 5 ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดย อาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ตอนที่ 1: ผลการวิเคราะห์ภูมิหลังของผู้ตอนแบบพิจารณาตัดสิน ประชากรส่วนใหญ่อายุระหว่าง 31 – 40 ปี (ร้อยละ 38.6) และเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 63.3) การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 64.7) ไม่ได้รับการฝึกฝนในวิชาชีพการประกอบอาหาร (ร้อยละ 43.1) ไม่มีประสบการณ์ในการทำงานในวิชาชีพใกล้เคียงกับมีประสบการณ์ 1- 5 ปี (ร้อยละ 35.1 และ 31.5) ไม่มีประสบการณ์ในการสอนวิชาชีพประกอบอาหาร (ร้อยละ 74.5) ปัจจุบันเป็น ผู้ประกอบการ (ร้อยละ 60.6) และครูอาจารย์ (ร้อยละ 21.6) ส่วนใหญ่สังกัดสถานประกอบการในกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 50.8) 144 สรุปได้ว่า ภาพรวมของประชากรซึ่งประกอบด้วยผู้ประกอบการและผู้สอนวิชาชีพการประกอบอาหาร ไม่ได้รับการฝึกฝน หรือมีประสบการณ์ในการสอนอย่างเป็นทางการ และจำนวนผู้สอนมีน้อยกว่าผู้ประกอบการมาก ตอนที่ 2 : สรุปความคิดเห็นในภาพรวม ด้านองค์ประกอบการบริหารสถาบันแบบทวิภาคีกับสถานประกอบการ พบว่าในภาพรวมประชากรตัดสินว่า ควรปฏิบัติในระดับมาก และข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ การร่วมกันพัฒนาจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพการประกอบอาหาร และการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาจัดประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน ด้านองค์ประกอบการบริหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจแบบทวิภาคี พบว่า ในภาพรวม ประชากรตัดสินว่าควรปฏิบัติในระดับมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรใช้รูปแบบการปรึกษาร่วมกับรูปแบบหน้าที่ ด้านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง พบว่า ในภาพรวมประชากรตัดสินว่า ควรปฏิบัติในระดับมาก โดยเน้นหลักสูตรการสอนเป็นงานหลัก และการสร้างประสบการณ์โดยการ ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ ด้านยุทธศาสตร์ในการบริหารความร่วมมือแบบทวิภาคีในการจัดหลักสูตรการสอน พบว่าในภาพรวม ประชากรตัดสินว่าควรมีการปฏิบัติในระดับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการร่วมจัดการเรียนการสอนเพื่อเอื้อต่อการถ่ายโอนระหว่างสถาบันสู่สถานประกอบการ และการร่วมพัฒนาหลักสูตรโดยเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ตอนที่ 3 : ผลการเปรียบเทียบการพิจารณาตัดสินระหว่างกลุ่มประชากร ก. จำแนกตามระยะเวลาฝึกฝนวิชาชีพการประกอบอาหาร พบว่ามีเพียง 18 ข้อ ที่ไม่มีความแตกต่างระหว่างกันในกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ (1) ในการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันเพื่อพัฒนาประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียนและ (2) ในการกำหนดระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์ตรงให้เพียงพอ ต่อการทำงานจริง โดยผู้เรียน (3) การสร้างประสบการณ์โดยการลงมือปฏิบัติงานจริงเป็นสถาน ประกอบการ (4) การสะท้อนโดยไตร่ตรองในสิ่งที่ปฏิบัติ (5) การกำหนดหน่วยกิตเพื่อการฝึกงานในสถานประกอบการให้มีสัดส่วน เท่ากับการเรียนภาคทฤษฎีในสถาบัน 145 (6) การร่วมติดตามประเมินผลผู้เรียน (7) การบูรณาการความผูกพันทางจรรยาบรรณวิชาชีพร่วมกัน (8) การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาใช้ในการจัด ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน (9) รูปแบบหน้าที่ คือ ให้สถานประกอบการร่วมปฏิบัติหน้าที่พัฒนาวิชาชีพแก่ผู้เรียน โดยเป็น “ พี่เลี้ยง” หรือ “ ต้นแบบ” ในการพัฒนาทักษะที่ จำเป็นต่อวิชาชีพโดยการให้โอกาสผู้เรียนลงมือปฏิบิตงานในสถานประกอบการณ์ระยะหนึ่ง (10) การสร้างประสบการณ์โดยการลงมือปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ (11) การต่อให้เกิดทักษะการวิเคราะห์ความเหมือนความต่างจากประสบการณ์ (12) การทำให้เกิดทักษะ การสื่อสารกับอื่นด้านค่านิยม ทัศนคติและความเชื่อ (13) การก่อให้เกิดความเข้าใจมโนทัศน์ และศัพท์หลักในวิชาชีพ (14) ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างกรอบแนวคิดทางทฤษฎีกับการปฏิบัติ (15) หลักสูตรและการสอนควรยึดงานเป็นหลัก (16) การร่วมพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับท้องถิ่น (17) การควบคุมมาตรฐานวิชาชีพในการผลิตบัณฑิตร่วมกัน และ (18) การส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันในการพัฒนาความชำนาญพิเศษ ข. จำแนกตามประสบการณ์ในการสอนวิชาชีพการประกอบอาหาร พบว่า ไม่มี ข้อใดเลยที่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค. จำแนกตามสังกัด พบว่า ไม่มีข้อใดเลยที่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ตอนที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ตัวประกอบ ผลการวิเคราะห์ตัวประกอบ ทำให้ได้ ตัวประกอบ 4 ตัว ดังนี้ 1. รูปแบบการบริหารแบบทวิภาคี 2. การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 3. การบริหารแบบทวิภาคี 4. ปรัชญาการบริหารแบบทวิภาคี 146 ตอนที่ 5 : ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง รูปแบบการบริหารฯ อันเป็นผลจากการวิจัยนี้ประกอบด้วย องค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ปรัชญา คุณลักษณะการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง และการบริหารแบบทวิภาคีซึ่งเป็นกระบวนการที่ดำเนินไปร่วมกันระหว่างสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารและสถานประกอบการ โดยใช้ยุทธศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ในวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยยุทธศาสตร์ 5 กลุ่ม ซึ่งสรุปจากผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นในการพิจารณาตัดสินที่มีนัยสำคัญ ได้แก่ (1) การจัดหลักสูตรการสอน (2) การนำทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (3) การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (4) การบูรณาการความผูกพันในวิชาชีพ และ (5) การประเมินและการกำกับดูแล การอภิปรายผล ผลการศึกษาภูมิหลังของประชากร พบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ ในการสอนหรือ ได้รับการฝึกฝนอย่างเป็นทางการแต่ก็มีความสามารถประกอบการในวิชาชีพ และ/หรือสอนได้จากการฝึกปฏิบัติในวิชาชีพของตน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดแบบพิพัฒนาการนิยม อันก่อให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่รวมทั้งกิจกรรมที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจที่สังคมใช้ส่งผ่านค่านิยม ทัศนคติ ความรู้ และทักษะที่เรียกว่า กระบวนการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคคล (Keeton et al., 1977 ; Knoll , 1996) การบริหารสถาบันตามแนวทวิภาคี อันเป็นผลที่บ่งชี้ว่า บุคลากรในสถาบันและผู้ประกอบการ เห็นชอบด้วยในระดับมากส่วนใหญ่ เป็นไปตามแนวนโยบายของกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่เรียกร้องให้มีการจัดการศึกษาระบบนี้ ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการ ผู้บริหารสถานศึกษาครู และผู้ประกอบการ ให้เพิ่มความพยายามมากขึ้นเป็นสองเท่าเพื่อช่วยปรับโครงสร้างใหม่ของ อุตสาหกรรมไทย โดยการจัดการฝึกอาชีพที่เป็นเลิศร่วมกันทำหน้าที่ให้สถานประกอบการเหมาะสมกับยุคอนาคตที่เจริญรุ่งเรือง โดยการเตรียมการให้สถานประกอบการมีความพร้อมในการแข่งขันในเศรษฐกิจโลก โดยการผลิตแรงงานที่มีฝีมือ 147 ในด้านปรัชญาการบริหารแบบทวิภาคี พบว่า ควรมีการพัฒนาจุดมุ่งหมายของหลักสูต ร่วมกัน จะช่วยพัฒนาโดยการมีส่วนร่วม หมายถึง การทำให้ประชาชนที่เคยถูกกีดกันออกไปจาก สถาบัน เข้ามามีส่วนร่วม ในการค้นหาปัญหา วิธีการแก้ไข วางแผนตัดสินใจ และลงมือปฏิบัติในปรัชญาของการมีส่วนร่วมในองค์ประกอบ (Wittrock, 1998) ผลการวิจัย พบว่า ควรบริหารรูปแบบทวิภาคี โดยการใช้รูปแบบบูรณาการ ที่เป็นรูปแบบการปรึกษา และหน้าที่สอดคล้องกับหลักการร่วมมือร่วมใจ โดยถือว่าสถาบันการศึกษา มีหน้าที่ให้คำปรึกษาเชิงทฤษฎีแก่สถานประกอบอาหาร ในขณะที่สถานประกอบการทำหน้าที่ “พี่เลี้ยง” หรือ “ต้นแบบ” ให้แก่การปลูกฝัง ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เป็นกลยุทธ์ในการเชื่อมโยงและถ่ายโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ คือ จากห้องเรียนสู่สภาพความเป็นจริงในสังคม ภายนอกห้องเรียน อันส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และปฏิบัติงานได้ดี ( Kolb, 1987) ทางด้านการจัดหลักสูตรการสอน พบว่า ควรยึดงานเป็นหลัก และพัฒนารายวิชาให้ เหมาะสมกับท้องถิ่นตลอดจนทำให้ผู้เรียนเข้าใจมโนทัศน์และศัพท์หลักในวิชาชีพ ซึ่งพ้องกับ หลักการในการจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ที่ควรก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร การสอนในส่วนต่าง ๆ เช่น เนื้อหา จุดประสงค์ของการเรียนรู้ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน (Kolb, 1984) นอกจากนั้น การเรียนรู้ และสัมพันธ์กับประสบการณ์ที่เน้นงานเป็นหลัก ในลักษณะของการเรียนรู้แบบบริการ (Service learning) ซึ่งถือว่าเป็นการบูรณาการความเข้าใจในมโนทัศน์ ศัพท์หลักของวิชาชีพบน พื้นฐาน 2 ประการ คือ (1) การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ และ (2) กระบวนการกลุ่ม (เปรมวดี คฤหเดช, 2542) การค้นพบว่า ควรจัดให้หน่วยกิตภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในสถานประกอบการเท่า ๆ กันนั้น ตรงตามหลักการสอนเชิงปฏิบัติการ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทดสอบความรู้จากเนื้อหาทางทฤษฎี ได้ประยุกต์กับสภาพความเป็นจริง และฝึกฝนตามความรู้ที่ได้เรียนไป (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2542 ) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ Byerly (2001) ที่สรุปวัตถุประสงค์ของการสอนภาคปฏิบัติ ไว้ว่า 1) ให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับเครื่องมือ 2) พัฒนาทักษะและความเม่นยำในการสังเกต 3) ให้ผู้เรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 4) ให้ผู้เรียนรู้จักบันทึก ผลการสังเกต 148 ควรประเมินผลที่ได้และรายงานผลการสังเกต นั่นคือ ตรงกับผลการวิจัยเกี่ยวกับการ จัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ที่มุ่งให้ทุกฝ่ายรวมทั้งผู้เรียนสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน และสร้าง ประสบการณ์จากการปฏิบัติการจริงในสถานประกอบการ (กรมอาชีวศึกษา, 2545) ทางด้านการคิด ผลการวิจัยบ่งชี้ว่า รูปแบบกรบริหารทวิภาคี เอื้อให้ผู้เรียน ผู้สอนและ ผู้บริหารทั้งในสถาบัน และในสถานประกอบการ สะท้อนการไตร่ตรอง และพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ความเหมือนความต่างในรายละเอียดของวิชาชีพ รวมทั้งการรู้จักจำแนกความควรไม่ควรตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งตรงกับทฤษฎีของ (Lewin, 1979) ซึ่งเขียนไว้ว่าความคิดที่มีคุณภาพเกิดจากการพัฒนาที่มีกระบวนการต่อเนื่องจากวัยทารกไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ เป็นการผสมผสานความหลากหลายของประสบการณ์และมโนทัศน์ที่มีอยู่ร่วมกับการคิดพิจารณาไตร่ตรอง นอกจากนั้น ผลการวิจัยนี้ยังตรงกับขั้นตอนที่สองของวงจรในการเรียนรู้ของ คอล์บ (Kolb, 1984 ) คือ การสะท้อน ( Reftlection) ซึ่งหมายถึงกรไตร่ตรองในสิ่งที่ทำไปแล้วทักษะที่ต้องการคือ ความตั้งใจและการวิเคราะห์ความแตกต่าง และความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ทั้งทางด้านค่านิยม ทัศนคติ และความเชื่อซึ่งเสริมผลการวิจัยที่บ่งชี้ความจำเป็นของการปลูกฝังทักษะการสื่อสารจากประสบการณ์จริงที่จัดให้ผู้เรียนในสถานประกอบการในระบบการบริหารแบบทวิภาคี ทัศนะของ Kolb ดังกล่าว ยังตอกย้ำหลักการยึดงานเป็นศูนย์กลาง อันเป็นผลการวิจัยซึ่งถือว่าผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์เชิงรูปธรรมโดยผ่านการสะท้อนประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ และปรับประสบการณ์เหล่านั้นมาสู่การทดลองปฏิบัติกับปัญหาจริง ดังนั้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ซึ่งบริหารในระบบทวิภาคี จึงเอื้อต่อการปลูกฝังการแก้ปัญหา การสะท้อนการคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วย ในเรื่องของการประเมินผล พบว่า การควบคุมมาตรฐานบัณฑิตที่เน้นความชำนาญพิเศษในวิชาชีพนั้น ควรจัดให้สถานศึกษาและสถานประกอบการที่ดูแลการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ทำการประเมินผล ทั้งนี้ ผู้เรียนตามข้อค้นพบควรอยู่กับทั้งสองฝ่ายเท่า ๆ กัน ตลอดโปรแกรมการศึกษา และการฝึกฝนที่ดีนั้นผู้เรียนควรได้รับผลย้อนกลับเป็นระยะ ๆ จะทำให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญ ดังนั้นผู้สอนทั้งสองฝ่าย จึงต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนได้รู้จักการสังเกต และการประเมินตนเองตามแบบอย่างที่ตนเองถูกประเมินด้วย (Hammick , 1995) รูปแบบที่วิจัยเรื่องนี้ ได้พัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบประเภทความหมายที่ใช้ภาษาเป็นสัญลักษณ์ในการแสดงลักษณะตัวแทน ตามทฤษฎีของ Keeves, (1997) และตรงตามลักษณะของโมเดลที่ Montagu (1981) ได้นิยามไว้ว่า เป็นระบบสัญลักษณ์ที่อ้างถึงความมีนัยยะที่สำคัญของโครงสร้างหนึ่ง หรือระบบซึ่งก่อให้เกิดความเห็นพ้องต้องกันอย่างชัดเจน จากการพิจารณาจากจุดใหญ่ไปสู่ จุดเล็ก คุณค่าของรูปแบบอยู่ที่ความตรงตามเนื้อหาซึ่งสามารถตีความได้หลายอย่างและบ่งชี้ให้เห็นความคล้ายคลึงจากข้อมูลการวิจัยที่มิได้คาดคิดมาก่อน (Gordon, 1996) 149 ผลการพัฒนารูปแบบนี้ แสดงโครงสร้างซึ่งสามารถพิสูจน์ต่อไปได้โดยการสังเกต และ ยังแสดงขบวนการจัดประเภทตัวแปรทั้ง 40 ตัวแปร ในการศึกษาขึ้นใหม่ตามการพิจารณาตัดสินของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยเปลี่ยนแปลงจากการจัดกลุ่มที่ผู้วิจัยกำหนดไว้เบื้องต้นตามทฤษฎี ยุทธศาสตร์ที่ปรากฏในรูปแบบทั้ง 5 กลุ่ม น่าจะเป็นกลไกหรือเครื่องเพื่อบรรลุสัมฤทธิผลในการสร้างบัณฑิตในอุดมคติของวิชาชีพการประกอบอาหารได้ เพราะถือว่าเกิดขึ้นจากการมีส่วนร่วมพิจารณาตัดสินจากทั้งสถาบันและสถานประกอบการ เป็น การพัฒนาการโดยมีส่วนร่วม (participative) ดังที่ Fullan และ Hargreaves (1999) กล่าวไว้ว่ายุทธศาสตร์ที่กำหนดมาจากบุคคลอื่น และการรวมตัวกันเพื่อพัฒนาน่าจะเป็นวิถีทางที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนี้ พบว่า มีข้อเสนอแนะหลายประการที่ควรดำเนินการต่อไป ดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัย 1.1 ควรดำเนินการวิจัยต่อเนื่องเพื่อบ่งชี้เหตุของความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ประสบการณ์ที่ศึกษา 1.2 ควรศึกษาเพื่อบ่งชี้บริบทที่ทำให้มีหญิงในวิชาชีพการประกอบอาหารมากกว่าชาย แต่พ่อครัวที่มีชื่อเสียงเรียงนามมักเป็นเพศชาย 1.3 ควรศึกษาเพื่อประมวลปรัชญาสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารทีเหมาะสมใน กรอบภูมิปัญญาไทยท่ามกลางอิทธิพลของโลกาภิวัฒน์ 1.4 ควรวิจัยเพื่อบ่งชี้ความเป็นไปได้ของการใช้รูปแบบทวิภาคีในการจัดการเรียน การสอนวิชาชีพประกอบอาหารในบริบทของสังคมไทย 1.5 ควรวิจัยพัฒนารูปแบบ หรือโมดุลเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรงในอาชีวศึกษา 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการประยุกต์ 2.1 ข้อเสนอแนะสำหรับกระทรวงศึกษาธิการ และ กรมอาชีวศึกษา 2.1.1 กำหนดนโยบายและโครงสร้างของทวิภาคีให้ชัดเจนและมีผลในการปฏิบัติ เพื่อเอื้อให้เกิดผลในการปฏิบัติตามผลการวิจัยที่ได้รูปแบบบูรณาการ การปรึกษาและหน้าที่ 150 2.1.2 นำผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรการสอนวิชาชีพ การประกอบอาหารที่ฝึกงาน เน้นหลักและพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่นที่สามารถเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการกลุ่ม และจัด ให้หน่วยเปิดภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเท่ากัน 2.2 ข้อเสนอแนะสำหรับสถานประกอบการ 2.2.1 ควรสร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการทุกประเภท ตามความเหมาะสมของสาขาวิชาทำให้เกิดการเชี่อมโยงทฤษฎีจาก สถานศึกษาสู่การปฏิบัติในสถานประกอบการอย่างเป็นรูปธรรม และมี ประสิทธิผล 2.2.2 ควรทดลองใช้รูปแบบที่ได้พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยนี้อย่างต่อเนื่อง 2.2.3 ควรทดลองใช้ยุทธศาสตร์ในการบริหารด้วยความร่วมมือร่วมใจทั้ง 5 กลุ่ม ที่เป็นผลจากการวิจัยนี้ ในการจัดการอาชีวศึกษาแบบทวิภาคีใน ประเทศไทย 2.3 ข้อเสนอแนะสำหรับผู้สอน ผู้สอนควรนำผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 2.3.1 จัดการเรียนการสอนโดยให้เรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการ กลุ่ม 2.3.2 การสอนภาคปฏิบัติ ควรให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับเครื่องมือ พัฒนาทักษะการ สังเกต รู้จักศึกษาค้นคว้าโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และมีการจดบันทึก 2.3.3 คุณภาพของผู้เรียน เกิดจากการพัฒนาที่ต่อเนื่องจากวัยทารกไปจนถึงวัย ผู้ใหญ่ ทักษะพื้นฐานที่ต้องการ การวิเคราะห์ความแตกต่าง ความสามารถ ในการสื่อสาร ซึ่งเอื้อให้สามารถปลูกฝังการแก้ปัญหา การเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.3.4 ผู้เรียนควรได้รับผลย้อนกลับเป็นระยะ ๆ จนเกิดความชำนาญ รู้จักการ สังเกต และการประเมินตนเอง 2.4 ข้อเสนอแนะสำหรับคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 2.4.1 ควรนำผลการวิจัยไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรและการสอน วิชาชีพต่าง ๆ 2.4.2 ควรดำเนินการจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อนำรูปแบบทวิภาคีในลักษณะเดียว กับผลการวิจัยนี้ไปใช้จริงในสถาบันการศึกษาในสังกัด บทที่ 5 สรุป อภิปราย และเสนอแนะ ในการวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนี้ ผู้วิจัยได้สรุปโดยกล่าวถึง วัตถุประสงค์ในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัยโดยสังเขป และ ผลงานวิจัยที่มีมาก่อน และในท้ายที่สุด ได้เสนอแนะเพื่อการวิจัยและการประยุกต์เพื่อสร้าง องค์ความรู้ และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อไป วัตถุประสงค์ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการบริหารสถาบันวิชาชีพ โดยอาศัยความร่วมือร่วมใจเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2. พัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยนี้ศึกษาเฉพาะสถาบันที่จัดการสอนวิชาชีพการประกอบอาหารภายในประเทศไทยใน พ.ศ. 2545 โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ประกอบการเบเกอรี่ขนาดใหญ่ ซึ่งรวมตัวกันเพื่อจัดตั้งชมรมผู้ประกอบการเบเกอรี่ไทยทั่วราชอาณาจักรเท่านั้น วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ 1.1) การบริหารสถาบันการศึกษา 1.2) การจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาเพื่อความร่วมมือ 1.3) การบริหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจ 143 1.4) การเรียนรู้จากประสบการณ์ 1.5) การพัฒนารูปแบบ ขั้นตอนที่ 2 สร้างเครื่องมือวิจัย โดยผู้วิจัยจะนำกรอบแนวคิดมากำหนดประเด็น คำถามเพื่อสร้างแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 3 นำเครื่องมือไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะเพื่อให้ได้เครื่องมือที่มีคุณภาพ ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการเก็บรวมรวมข้อมูล โดยการส่งแบบสอบถามไปยังประชากร ทั้งหมด และเก็บข้อมูลกลับคืนมาด้วยตัวผู้วิจัยเอง จัดส่งทางไปรษณีย์ โทรสาร และ e-mail ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS โดยนำเสนอค่าสถิติบรรยายการเปรียบเทียบและจัดกลุ่มองค์ประกอบโดยการวิเคราะห์ตัวประกอบ (Factor Analysis) ขั้นตอนที่ 6 พัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ สรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัย โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ภูมิหลังของผู้ตอบแบบพิจารณาตัดสิน ตอนที่ 2 สรุปความคิดเห็นในภาพรวม ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบการพิจารณาตัดสินระหว่างกลุ่มประชากร ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ตัวประกอบ ตอนที่ 5 ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดย อาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ตอนที่ 1: ผลการวิเคราะห์ภูมิหลังของผู้ตอนแบบพิจารณาตัดสิน ประชากรส่วนใหญ่อายุระหว่าง 31 – 40 ปี (ร้อยละ 38.6) และเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 63.3) การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 64.7) ไม่ได้รับการฝึกฝนในวิชาชีพการประกอบอาหาร (ร้อยละ 43.1) ไม่มีประสบการณ์ในการทำงานในวิชาชีพใกล้เคียงกับมีประสบการณ์ 1- 5 ปี (ร้อยละ 35.1 และ 31.5) ไม่มีประสบการณ์ในการสอนวิชาชีพประกอบอาหาร (ร้อยละ 74.5) ปัจจุบันเป็น ผู้ประกอบการ (ร้อยละ 60.6) และครูอาจารย์ (ร้อยละ 21.6) ส่วนใหญ่สังกัดสถานประกอบการในกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 50.8) 144 สรุปได้ว่า ภาพรวมของประชากรซึ่งประกอบด้วยผู้ประกอบการและผู้สอนวิชาชีพการประกอบอาหาร ไม่ได้รับการฝึกฝน หรือมีประสบการณ์ในการสอนอย่างเป็นทางการ และจำนวนผู้สอนมีน้อยกว่าผู้ประกอบการมาก ตอนที่ 2 : สรุปความคิดเห็นในภาพรวม ด้านองค์ประกอบการบริหารสถาบันแบบทวิภาคีกับสถานประกอบการ พบว่าในภาพรวมประชากรตัดสินว่า ควรปฏิบัติในระดับมาก และข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ การร่วมกันพัฒนาจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพการประกอบอาหาร และการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาจัดประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน ด้านองค์ประกอบการบริหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจแบบทวิภาคี พบว่า ในภาพรวม ประชากรตัดสินว่าควรปฏิบัติในระดับมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ควรใช้รูปแบบการปรึกษาร่วมกับรูปแบบหน้าที่ ด้านการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง พบว่า ในภาพรวมประชากรตัดสินว่า ควรปฏิบัติในระดับมาก โดยเน้นหลักสูตรการสอนเป็นงานหลัก และการสร้างประสบการณ์โดยการ ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ ด้านยุทธศาสตร์ในการบริหารความร่วมมือแบบทวิภาคีในการจัดหลักสูตรการสอน พบว่าในภาพรวม ประชากรตัดสินว่าควรมีการปฏิบัติในระดับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการร่วมจัดการเรียนการสอนเพื่อเอื้อต่อการถ่ายโอนระหว่างสถาบันสู่สถานประกอบการ และการร่วมพัฒนาหลักสูตรโดยเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ตอนที่ 3 : ผลการเปรียบเทียบการพิจารณาตัดสินระหว่างกลุ่มประชากร ก. จำแนกตามระยะเวลาฝึกฝนวิชาชีพการประกอบอาหาร พบว่ามีเพียง 18 ข้อ ที่ไม่มีความแตกต่างระหว่างกันในกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ (1) ในการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันเพื่อพัฒนาประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียนและ (2) ในการกำหนดระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์ตรงให้เพียงพอ ต่อการทำงานจริง โดยผู้เรียน (3) การสร้างประสบการณ์โดยการลงมือปฏิบัติงานจริงเป็นสถาน ประกอบการ (4) การสะท้อนโดยไตร่ตรองในสิ่งที่ปฏิบัติ (5) การกำหนดหน่วยกิตเพื่อการฝึกงานในสถานประกอบการให้มีสัดส่วน เท่ากับการเรียนภาคทฤษฎีในสถาบัน 145 (6) การร่วมติดตามประเมินผลผู้เรียน (7) การบูรณาการความผูกพันทางจรรยาบรรณวิชาชีพร่วมกัน (8) การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาใช้ในการจัด ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน (9) รูปแบบหน้าที่ คือ ให้สถานประกอบการร่วมปฏิบัติหน้าที่พัฒนาวิชาชีพแก่ผู้เรียน โดยเป็น “ พี่เลี้ยง” หรือ “ ต้นแบบ” ในการพัฒนาทักษะที่ จำเป็นต่อวิชาชีพโดยการให้โอกาสผู้เรียนลงมือปฏิบิตงานในสถานประกอบการณ์ระยะหนึ่ง (10) การสร้างประสบการณ์โดยการลงมือปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ (11) การต่อให้เกิดทักษะการวิเคราะห์ความเหมือนความต่างจากประสบการณ์ (12) การทำให้เกิดทักษะ การสื่อสารกับอื่นด้านค่านิยม ทัศนคติและความเชื่อ (13) การก่อให้เกิดความเข้าใจมโนทัศน์ และศัพท์หลักในวิชาชีพ (14) ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างกรอบแนวคิดทางทฤษฎีกับการปฏิบัติ (15) หลักสูตรและการสอนควรยึดงานเป็นหลัก (16) การร่วมพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับท้องถิ่น (17) การควบคุมมาตรฐานวิชาชีพในการผลิตบัณฑิตร่วมกัน และ (18) การส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันในการพัฒนาความชำนาญพิเศษ ข. จำแนกตามประสบการณ์ในการสอนวิชาชีพการประกอบอาหาร พบว่า ไม่มี ข้อใดเลยที่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค. จำแนกตามสังกัด พบว่า ไม่มีข้อใดเลยที่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ตอนที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ตัวประกอบ ผลการวิเคราะห์ตัวประกอบ ทำให้ได้ ตัวประกอบ 4 ตัว ดังนี้ 1. รูปแบบการบริหารแบบทวิภาคี 2. การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 3. การบริหารแบบทวิภาคี 4. ปรัชญาการบริหารแบบทวิภาคี 146 ตอนที่ 5 : ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง รูปแบบการบริหารฯ อันเป็นผลจากการวิจัยนี้ประกอบด้วย องค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ปรัชญา คุณลักษณะการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง และการบริหารแบบทวิภาคีซึ่งเป็นกระบวนการที่ดำเนินไปร่วมกันระหว่างสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารและสถานประกอบการ โดยใช้ยุทธศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ในวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยยุทธศาสตร์ 5 กลุ่ม ซึ่งสรุปจากผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นในการพิจารณาตัดสินที่มีนัยสำคัญ ได้แก่ (1) การจัดหลักสูตรการสอน (2) การนำทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (3) การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (4) การบูรณาการความผูกพันในวิชาชีพ และ (5) การประเมินและการกำกับดูแล การอภิปรายผล ผลการศึกษาภูมิหลังของประชากร พบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ ในการสอนหรือ ได้รับการฝึกฝนอย่างเป็นทางการแต่ก็มีความสามารถประกอบการในวิชาชีพ และ/หรือสอนได้จากการฝึกปฏิบัติในวิชาชีพของตน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดแบบพิพัฒนาการนิยม อันก่อให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่รวมทั้งกิจกรรมที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจที่สังคมใช้ส่งผ่านค่านิยม ทัศนคติ ความรู้ และทักษะที่เรียกว่า กระบวนการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคคล (Keeton et al., 1977 ; Knoll , 1996) การบริหารสถาบันตามแนวทวิภาคี อันเป็นผลที่บ่งชี้ว่า บุคลากรในสถาบันและผู้ประกอบการ เห็นชอบด้วยในระดับมากส่วนใหญ่ เป็นไปตามแนวนโยบายของกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่เรียกร้องให้มีการจัดการศึกษาระบบนี้ ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการ ผู้บริหารสถานศึกษาครู และผู้ประกอบการ ให้เพิ่มความพยายามมากขึ้นเป็นสองเท่าเพื่อช่วยปรับโครงสร้างใหม่ของ อุตสาหกรรมไทย โดยการจัดการฝึกอาชีพที่เป็นเลิศร่วมกันทำหน้าที่ให้สถานประกอบการเหมาะสมกับยุคอนาคตที่เจริญรุ่งเรือง โดยการเตรียมการให้สถานประกอบการมีความพร้อมในการแข่งขันในเศรษฐกิจโลก โดยการผลิตแรงงานที่มีฝีมือ 147 ในด้านปรัชญาการบริหารแบบทวิภาคี พบว่า ควรมีการพัฒนาจุดมุ่งหมายของหลักสูต ร่วมกัน จะช่วยพัฒนาโดยการมีส่วนร่วม หมายถึง การทำให้ประชาชนที่เคยถูกกีดกันออกไปจาก สถาบัน เข้ามามีส่วนร่วม ในการค้นหาปัญหา วิธีการแก้ไข วางแผนตัดสินใจ และลงมือปฏิบัติในปรัชญาของการมีส่วนร่วมในองค์ประกอบ (Wittrock, 1998) ผลการวิจัย พบว่า ควรบริหารรูปแบบทวิภาคี โดยการใช้รูปแบบบูรณาการ ที่เป็นรูปแบบการปรึกษา และหน้าที่สอดคล้องกับหลักการร่วมมือร่วมใจ โดยถือว่าสถาบันการศึกษา มีหน้าที่ให้คำปรึกษาเชิงทฤษฎีแก่สถานประกอบอาหาร ในขณะที่สถานประกอบการทำหน้าที่ “พี่เลี้ยง” หรือ “ต้นแบบ” ให้แก่การปลูกฝัง ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เป็นกลยุทธ์ในการเชื่อมโยงและถ่ายโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ คือ จากห้องเรียนสู่สภาพความเป็นจริงในสังคม ภายนอกห้องเรียน อันส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และปฏิบัติงานได้ดี ( Kolb, 1987) ทางด้านการจัดหลักสูตรการสอน พบว่า ควรยึดงานเป็นหลัก และพัฒนารายวิชาให้ เหมาะสมกับท้องถิ่นตลอดจนทำให้ผู้เรียนเข้าใจมโนทัศน์และศัพท์หลักในวิชาชีพ ซึ่งพ้องกับ หลักการในการจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ที่ควรก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร การสอนในส่วนต่าง ๆ เช่น เนื้อหา จุดประสงค์ของการเรียนรู้ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน (Kolb, 1984) นอกจากนั้น การเรียนรู้ และสัมพันธ์กับประสบการณ์ที่เน้นงานเป็นหลัก ในลักษณะของการเรียนรู้แบบบริการ (Service learning) ซึ่งถือว่าเป็นการบูรณาการความเข้าใจในมโนทัศน์ ศัพท์หลักของวิชาชีพบน พื้นฐาน 2 ประการ คือ (1) การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ และ (2) กระบวนการกลุ่ม (เปรมวดี คฤหเดช, 2542) การค้นพบว่า ควรจัดให้หน่วยกิตภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในสถานประกอบการเท่า ๆ กันนั้น ตรงตามหลักการสอนเชิงปฏิบัติการ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทดสอบความรู้จากเนื้อหาทางทฤษฎี ได้ประยุกต์กับสภาพความเป็นจริง และฝึกฝนตามความรู้ที่ได้เรียนไป (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2542 ) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ Byerly (2001) ที่สรุปวัตถุประสงค์ของการสอนภาคปฏิบัติ ไว้ว่า 1) ให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับเครื่องมือ 2) พัฒนาทักษะและความเม่นยำในการสังเกต 3) ให้ผู้เรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 4) ให้ผู้เรียนรู้จักบันทึก ผลการสังเกต 148 ควรประเมินผลที่ได้และรายงานผลการสังเกต นั่นคือ ตรงกับผลการวิจัยเกี่ยวกับการ จัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ที่มุ่งให้ทุกฝ่ายรวมทั้งผู้เรียนสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน และสร้าง ประสบการณ์จากการปฏิบัติการจริงในสถานประกอบการ (กรมอาชีวศึกษา, 2545) ทางด้านการคิด ผลการวิจัยบ่งชี้ว่า รูปแบบกรบริหารทวิภาคี เอื้อให้ผู้เรียน ผู้สอนและ ผู้บริหารทั้งในสถาบัน และในสถานประกอบการ สะท้อนการไตร่ตรอง และพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ความเหมือนความต่างในรายละเอียดของวิชาชีพ รวมทั้งการรู้จักจำแนกความควรไม่ควรตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งตรงกับทฤษฎีของ (Lewin, 1979) ซึ่งเขียนไว้ว่าความคิดที่มีคุณภาพเกิดจากการพัฒนาที่มีกระบวนการต่อเนื่องจากวัยทารกไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ เป็นการผสมผสานความหลากหลายของประสบการณ์และมโนทัศน์ที่มีอยู่ร่วมกับการคิดพิจารณาไตร่ตรอง นอกจากนั้น ผลการวิจัยนี้ยังตรงกับขั้นตอนที่สองของวงจรในการเรียนรู้ของ คอล์บ (Kolb, 1984 ) คือ การสะท้อน ( Reftlection) ซึ่งหมายถึงกรไตร่ตรองในสิ่งที่ทำไปแล้วทักษะที่ต้องการคือ ความตั้งใจและการวิเคราะห์ความแตกต่าง และความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ทั้งทางด้านค่านิยม ทัศนคติ และความเชื่อซึ่งเสริมผลการวิจัยที่บ่งชี้ความจำเป็นของการปลูกฝังทักษะการสื่อสารจากประสบการณ์จริงที่จัดให้ผู้เรียนในสถานประกอบการในระบบการบริหารแบบทวิภาคี ทัศนะของ Kolb ดังกล่าว ยังตอกย้ำหลักการยึดงานเป็นศูนย์กลาง อันเป็นผลการวิจัยซึ่งถือว่าผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์เชิงรูปธรรมโดยผ่านการสะท้อนประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ และปรับประสบการณ์เหล่านั้นมาสู่การทดลองปฏิบัติกับปัญหาจริง ดังนั้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ซึ่งบริหารในระบบทวิภาคี จึงเอื้อต่อการปลูกฝังการแก้ปัญหา การสะท้อนการคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วย ในเรื่องของการประเมินผล พบว่า การควบคุมมาตรฐานบัณฑิตที่เน้นความชำนาญพิเศษในวิชาชีพนั้น ควรจัดให้สถานศึกษาและสถานประกอบการที่ดูแลการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ทำการประเมินผล ทั้งนี้ ผู้เรียนตามข้อค้นพบควรอยู่กับทั้งสองฝ่ายเท่า ๆ กัน ตลอดโปรแกรมการศึกษา และการฝึกฝนที่ดีนั้นผู้เรียนควรได้รับผลย้อนกลับเป็นระยะ ๆ จะทำให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญ ดังนั้นผู้สอนทั้งสองฝ่าย จึงต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนได้รู้จักการสังเกต และการประเมินตนเองตามแบบอย่างที่ตนเองถูกประเมินด้วย (Hammick , 1995) รูปแบบที่วิจัยเรื่องนี้ ได้พัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบประเภทความหมายที่ใช้ภาษาเป็นสัญลักษณ์ในการแสดงลักษณะตัวแทน ตามทฤษฎีของ Keeves, (1997) และตรงตามลักษณะของโมเดลที่ Montagu (1981) ได้นิยามไว้ว่า เป็นระบบสัญลักษณ์ที่อ้างถึงความมีนัยยะที่สำคัญของโครงสร้างหนึ่ง หรือระบบซึ่งก่อให้เกิดความเห็นพ้องต้องกันอย่างชัดเจน จากการพิจารณาจากจุดใหญ่ไปสู่ จุดเล็ก คุณค่าของรูปแบบอยู่ที่ความตรงตามเนื้อหาซึ่งสามารถตีความได้หลายอย่างและบ่งชี้ให้เห็นความคล้ายคลึงจากข้อมูลการวิจัยที่มิได้คาดคิดมาก่อน (Gordon, 1996) 149 ผลการพัฒนารูปแบบนี้ แสดงโครงสร้างซึ่งสามารถพิสูจน์ต่อไปได้โดยการสังเกต และ ยังแสดงขบวนการจัดประเภทตัวแปรทั้ง 40 ตัวแปร ในการศึกษาขึ้นใหม่ตามการพิจารณาตัดสินของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยเปลี่ยนแปลงจากการจัดกลุ่มที่ผู้วิจัยกำหนดไว้เบื้องต้นตามทฤษฎี ยุทธศาสตร์ที่ปรากฏในรูปแบบทั้ง 5 กลุ่ม น่าจะเป็นกลไกหรือเครื่องเพื่อบรรลุสัมฤทธิผลในการสร้างบัณฑิตในอุดมคติของวิชาชีพการประกอบอาหารได้ เพราะถือว่าเกิดขึ้นจากการมีส่วนร่วมพิจารณาตัดสินจากทั้งสถาบันและสถานประกอบการ เป็น การพัฒนาการโดยมีส่วนร่วม (participative) ดังที่ Fullan และ Hargreaves (1999) กล่าวไว้ว่ายุทธศาสตร์ที่กำหนดมาจากบุคคลอื่น และการรวมตัวกันเพื่อพัฒนาน่าจะเป็นวิถีทางที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงนี้ พบว่า มีข้อเสนอแนะหลายประการที่ควรดำเนินการต่อไป ดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัย 1.1 ควรดำเนินการวิจัยต่อเนื่องเพื่อบ่งชี้เหตุของความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ประสบการณ์ที่ศึกษา 1.2 ควรศึกษาเพื่อบ่งชี้บริบทที่ทำให้มีหญิงในวิชาชีพการประกอบอาหารมากกว่าชาย แต่พ่อครัวที่มีชื่อเสียงเรียงนามมักเป็นเพศชาย 1.3 ควรศึกษาเพื่อประมวลปรัชญาสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารทีเหมาะสมใน กรอบภูมิปัญญาไทยท่ามกลางอิทธิพลของโลกาภิวัฒน์ 1.4 ควรวิจัยเพื่อบ่งชี้ความเป็นไปได้ของการใช้รูปแบบทวิภาคีในการจัดการเรียน การสอนวิชาชีพประกอบอาหารในบริบทของสังคมไทย 1.5 ควรวิจัยพัฒนารูปแบบ หรือโมดุลเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรงในอาชีวศึกษา 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการประยุกต์ 2.1 ข้อเสนอแนะสำหรับกระทรวงศึกษาธิการ และ กรมอาชีวศึกษา 2.1.1 กำหนดนโยบายและโครงสร้างของทวิภาคีให้ชัดเจนและมีผลในการปฏิบัติ เพื่อเอื้อให้เกิดผลในการปฏิบัติตามผลการวิจัยที่ได้รูปแบบบูรณาการ การปรึกษาและหน้าที่ 150 2.1.2 นำผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรการสอนวิชาชีพ การประกอบอาหารที่ฝึกงาน เน้นหลักและพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่นที่สามารถเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการกลุ่ม และจัด ให้หน่วยเปิดภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเท่ากัน 2.2 ข้อเสนอแนะสำหรับสถานประกอบการ 2.2.1 ควรสร้างเครือข่ายระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการทุกประเภท ตามความเหมาะสมของสาขาวิชาทำให้เกิดการเชี่อมโยงทฤษฎีจาก สถานศึกษาสู่การปฏิบัติในสถานประกอบการอย่างเป็นรูปธรรม และมี ประสิทธิผล 2.2.2 ควรทดลองใช้รูปแบบที่ได้พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยนี้อย่างต่อเนื่อง 2.2.3 ควรทดลองใช้ยุทธศาสตร์ในการบริหารด้วยความร่วมมือร่วมใจทั้ง 5 กลุ่ม ที่เป็นผลจากการวิจัยนี้ ในการจัดการอาชีวศึกษาแบบทวิภาคีใน ประเทศไทย 2.3 ข้อเสนอแนะสำหรับผู้สอน ผู้สอนควรนำผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 2.3.1 จัดการเรียนการสอนโดยให้เรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์และกระบวนการ กลุ่ม 2.3.2 การสอนภาคปฏิบัติ ควรให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับเครื่องมือ พัฒนาทักษะการ สังเกต รู้จักศึกษาค้นคว้าโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และมีการจดบันทึก 2.3.3 คุณภาพของผู้เรียน เกิดจากการพัฒนาที่ต่อเนื่องจากวัยทารกไปจนถึงวัย ผู้ใหญ่ ทักษะพื้นฐานที่ต้องการ การวิเคราะห์ความแตกต่าง ความสามารถ ในการสื่อสาร ซึ่งเอื้อให้สามารถปลูกฝังการแก้ปัญหา การเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.3.4 ผู้เรียนควรได้รับผลย้อนกลับเป็นระยะ ๆ จนเกิดความชำนาญ รู้จักการ สังเกต และการประเมินตนเอง 2.4 ข้อเสนอแนะสำหรับคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 2.4.1 ควรนำผลการวิจัยไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรและการสอน วิชาชีพต่าง ๆ 2.4.2 ควรดำเนินการจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อนำรูปแบบทวิภาคีในลักษณะเดียว กับผลการวิจัยนี้ไปใช้จริงในสถาบันการศึกษาในสังกัด 148 บรรณานุกรม ภาษาไทย กนกอร ชาวเวียง. ผลของการใช้กรณีศึกษาในการสอนภาคปฏิบัติวิชาสุขภาพจิต และการพยาบาล จิตเวชที่มีต่อความรู้ และเจคติต่อการดูแลผู้ป่วยจิตเวชของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัย พยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา พยาบาลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2538. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด, 2542. -----. วิสัยทัศน์การพัฒนาอุดมศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) กรุงเทพมหานคร, 2542. จิรภรณ์ วสุวัต. การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมจริยธรรมทางสังคมของเด็กวัยอนุบาลตาม แนวคิดคอนสตรัคติวิส โดยใช้การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. ธนพร แย้มสุดา, น.ต.หญิง การพัฒนระบบการเรียนการสอนทางพยาบาลศาสตร์ที่เน้นการเรียนรู้ ทางปัญญาสังคม โดยใช้พอร์ทโฟลิโอ. ครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา ภาควิชา อุดมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 ธำรง บัวศรี. ทฤษฎีหลักสูตรการออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธนธัชการพิมพ์ จำกัด, 2543. นงลักษณ์ วิรัชชัย. สถิติการศึกษาและแนวโน้ม. เอกสารประกอบคำสอนวิชาสถิติการศึกษาและ แนวโน้ม. ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542. เปรมวดี คฤหเดช. การพัฒนาชุดฝึกอบรมเชิงประสบการณ์เพื่อพัฒนาการทำงานเป็นทีมสำหรับ นักศึกษาพยาบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2540. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. หลักและพื้นฐานการอุดมศึกษา. ภาควิชาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542. ----------. อุดมศึกษาวิพากษ์ : รวมบทวิเคราะห์วิจารณ์การศึกษาไทย. โครงการพัฒนาวิชาชีพ อุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2542. 149 วัฒนา มัคคสมัน. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามหลักการสอนแบบโครงการเพื่อเสริม การเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กวัยอนุบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขา หลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และ ลัดดาวัลย์ รอดมณี. เทคนิคการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวสำหรับการ วิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์, 2537. สำเนาว์ ขจรศิลป์. มิติใหม่ของกิจการนักศึกษา 2 : การพัฒนานักศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 2538. อาชีวศึกษา, กรม. อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเป็นแนวคิดใหม่ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ, 2545. อุทุมพร จามรมาน. การวิเคราะห์องค์ประกอบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532. ภาษาอังกฤษ Astin, A.W. The College Environment U.S.A. : American Council on Education, 1971. ----------. Student involvement: A Development theory for higher education. Journal of College Student Personal. 25: 297-308, 1984. ----------. Involvement in learning : revisited: Lessons we have learned. Journal of College Student Development. Vol. 37, No. 2. (March/April, 1996): 123-126. ----------. What matters in college? San Francisco: Joussey-Bass 1993. Beard, H., Education and jobs. New York: Praeger. 1970. Bruner, J. Toward a theory of instruction. Cambridge: Harvard. Byerly, Steven. Linking Classroom Teaching to the Real World Through Experiential Instruction. Phi De Lta Kappan, May 2001, Vol. 82: 697. Chapman, P.C. Teaching models in experiential learning. Dallas: Pro-ed. 1986. Dewey, J. Experience and education. New York: MacMillan. 1974. ---------. “How we think.” Science Education. 49(March 1975): 139. Dills, S.B. and Romiszowski, D.T. Skills Development in Vocational Education. London: Open University Press. 1997. Eisner, E.W. “Reshaping assessment in education : Some criteria in search of practice.” 150 Journal of Curriculum Studies, 25(3), 1993: 219-233. Ewert, A. A theory of vocational choice. Boston: Houghton-Mifflin. 1991. Fullan, S.E. and Hargreaves, B.P. Collaborative Management in Practice. San Francisco: Jossey-Bass. Gordon, R.E. Organizational Development. New York: McGraw-hill. http://www.Sasked.gov.sk.ca/wellness/experri.html. Hammick, R.T. The effects of experiences on occupation. New York: Quadrangle. 1995. Henry, B.S. Commitment in professional ethics. Philadelphia: Westminster. 1997. Hirsch, W.H. Rural collaborative measures: A research synthesis. San Diego: Brooks. (1990) Jackson, D.W. Cooperation and competition: Theory and research. Edina, MN: Interaction. 1989 Jeans, F.A. Collaborative Management. London: Sage. Keeves, J.P. Models and model building. Educational research methodology and measurement. New York: Pergamon. 1997. Keeton, M.T. et. Al. Progressive Educational Direction. Boston: University of Massachusetts Press. 1976. Kolb. D.A. Experiential Learning : Experience as the Source of Learning and Development. Englewood Cliffs, N.J. : Prentice – Hall, 1984. ----------. Learning style inventory technical manual. Boston: McBern. 1984 Knoll, R. Education and differences in human investment. Chicago: Rand McNally. 1996. Lewin, K. Field Theory. Boston: Harvard University Press. 1979. Merriam. Webster, Collegiate Dictionary. New York: McGraw-Hill. 1996. Montagu, J.C. Teaching models in experiential learning. Dallas: Pro-ed. 1981. Miller, T.K., Winston, Jr., R.B., Administration and Leadership in Student Affairs. Muncie IN : Accelerated Development Inc., 1991. Naisbitt, J. Reinventing the corporation. New York: Warner. 1985. Pascarella, E.T. Students affective development within the college environment. Journal of Higher Education, 56, 640-663. 1985. Pascarella, Student Affective Development within the College Environment. Journal of Higher Education. 56 (November/December): 640-663. 151 Pascarella, E.T. and Terenzini, P.T. “Theories and models of student change in college” In How College Affects Student: Findings and Insights from Twenty Years of Research San Francisco: Jossey-Bass, 1991. Poster, J.S. and Day, N. Partnership in Education. New York: Doubleday. 1988. Walberg, A.E. (1984). Educational Psychology. New York: Allyn Bacon. Wittrock, A.S. Experiential Learning in Laboratory and Project Settings. London: open University Press. 1998. World Bank. Vocational and technical education and traing: A world Bank policy paper. Washington, D.C.: World Bank. ภาคผนวก ภาคผนวกที่ 1 เครื่องมือในการพิจารณาตัดสินความเหมาะสมขององค์ประกอบรูปแบบการ บริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ภาคผนวกที่ 2 ผลการวิเคราะห์จาก Computer Printouts. 156 เครื่องมือในการพิจารณาตัดสินความเหมาะสมขององค์ประกอบรูปแบบ การบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง คำแนะนำ เครื่องมือพิจารณาตัดสินความเหมาะสมขององค์ประกอบนี้พัฒนาขึ้นมาจากการอ่านวิเคราะห์เอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับกรอบแนวคิด หลักของการวิจัย 4 ประเด็น คือ 1. การบริหารสถาบันการศึกษาโดยการร่วมมือ 2. การบริหารโดยอาศัยความร่วมมือแบบทวิภาคี 3. การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 4. ยุทธศาสตร์ในการบริหารความร่วมมือแบบทวิภาคี ในฐานะผู้บริหาร อาจารย์ และผู้ประกอบการที่ทรงคุณวุฒิ กอรปด้วยประสบการณ์ตรง ในวิชาชีพการประกอบอาหาร (เบเกอรี่) ในประเทศไทย โปรดพิจารณาตัดสินความเหมาะสม ของแต่ละประเด็น โดยทำเครื่องหมาย X ใน [ ] ตามประสบการณ์และความเห็นของท่านว่า เห็นด้วยในระดับใด ในแต่ละองค์ประกอบของการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง หากมีประเด็นอื่นใดนอกเหนือจากรายการนี้ โปรดระบุในตอนท้ายของรายการด้วย จักขอบคุณยิ่ง นายยิ่งศักดิ์ จงเลิศเจษฎาวงศ์ ผู้วิจัย สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 157 ตอนที่ 1 ภูมิหลังของผู้ตอบแบบสอบถาม โปรดทำเครื่องหมาย X ลงในช่อง [ ] หน้าข้อความที่บ่งชี้ภูมิหลังของท่าน 1. อายุ ………… ปี 2. เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง 3. จบการศึกษาสูงสุดระดับ [ ] ประกาศนียบัตร [ ] ประกาศนียบัตรชั้นสูง หรืออนุปริญญา [ ] ปริญญาตรี [ ] ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงกว่าปริญญาตรี [ ] ปริญญาโท หรือสูงกว่า 4. ได้รับการฝึกฝนในวิชาชีพการประกอบอาหารเป็นเวลา………ปี 5. มีประสบการณ์ในการทำงานในวิชาชีพการประกอบอาหาร……….ปี 6. มีประสบการณ์ในการสอนวิชาชีพการประกอบอาหาร………..ปี 7. ตำแหน่งปัจจุบัน [ ] ผู้บริหาร [ ] ครู/อาจารย์ [ ] ผู้ประกอบการ 8. สังกัด [ ] สถาบันศิลปศาสตร์การอาหาร [ ] สถานประกอบการภาคเหนือ [ ] สถานประกอบการภาคกลาง [ ] สถานประกอบการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [ ] สถานประกอบการภาคใต้ 158 ตอนที่ 2 องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหาร โดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เหมาะสม มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) ก. การบริหารสถาบันการศึกษาแบบทวิภาคีกับสถานประกอบการ 1. ร่วมกันพัฒนาจุดมุ่งหมายของการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพการประกอบอาหาร 2. สร้างวิสัยทัศน์ ร่วมกันเพื่อพัฒนา ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน 3. นำกรณีศึกษาจากปัญหาการปฏิบัติการมาใช้ในการสอนทั้งในสถาบันและสถานประกอบการ 4. พัฒนาโครงสร้างในการตัดสินใจ ร่วมกัน 5. นำภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละภาคภูมิศาสตร์มาใช้ในการวัด ประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน 6. มีการดำเนินการต่อเนื่องของทวิภาคี อย่างน้อย 1 ปี หรือมากกว่า 7. พัฒนาระบบการสื่อสารระหว่างสถาบัน สถานประกอบการและผู้เรียน 8. กำหนดระยะเวลาในการฝึก ประสบการณ์ตรงให้เพียงพอต่อการทำงานจริงโดยผู้เรียน 9. ร่วมกันจัด แลกเปลี่ยนทรัพยากรทั้งงบประมาณ บุคลากร สถานที่และ องค์ความรู้ 159 เหมาะสม มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 10. ดำเนินการพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน ข. การบริหารโดยอาศัยความ ร่วมมือ ร่วมใจ แบบทวิภาคี 11. รูปแบบการปรึกษา คือ ให้สถานประกอบการสวมบทบาท ผู้ให้คำปรึกษา (Consultant) ในด้าน หลักสูตรการจัดประสบการณ์ตรง การประเมินผลและการพัฒนาวิชาชีพฯ 12. รูปแบบหน้าที่ คือ ให้สถานประกอบการร่วมปฏิบัติหน้าที่พัฒนาวิชาชีพแก่ผู้เรียน โดยเป็น “พี่เลี้ยง” หรือ “ต้นแบบ” ในการพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อวิชาชีพโดยการให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติในสถานประกอบการระยะหนึ่ง 13. รูปแบบปฏิบัติการ คือ ให้สถานประกอบการปฏิบัติต่อ ผู้เรียนที่มาฝึกงานเสมือนหนึ่งเป็น “พนักงาน”คนหนึ่งในสถานประกอบการ โดยให้ลงมือปฏิบัติงานและ รับผิดชอบตาม“ตำแหน่งงาน” อย่าง แท้จริง ทั้งนี้ ให้อาจารย์จากสถาบัน ดูแลในฐานะ “อาจารย์นิเทศ” 160 เหมาะสม มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 14. รูปแบบบูรณาการ คือ ให้สถาบันและสถานประกอบการผสมผสานรูปแบบการปรึกษา รูปแบบหน้าที่และรูปแบบปฏิบัติการ โดยการ ออกแบบการจัดประสบการณ์ร่วมกันแต่ละช่วงเวลา ตามแนวโน้มของ วิชาชีพฯ ค. การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 15. การสร้างประสบการณ์ โดยการ ลงมือปฏิบัติงานจริงในสถาน ประกอบการ 16. การสะท้อนโดยไตร่ตรองในสิ่งที่ปฏิบัติ 17. เกิดทักษะการวิเคราะห์ความเหมือน ความต่างจากประสบการณ์ 18. เกิดทักษะการสื่อสารกับผู้อื่น ด้านค่านิยม ทัศนคติ และความเชื่อ 19. ยืนยันทฤษฎีและหลักการที่ศึกษา จากสถาบัน 20.เกิดความเข้าใจมโนทัศน์และศัพท์หลักในวิชาชีพ 21. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง กรอบแนวคิดทางทฤษฎีกับการปฏิบัติ 22. มีความสามารถในการวางแผนเพื่อช่วยให้เข้าใจสิ่งใหม่ ๆ และพัฒนา องค์ความรู้ และทักษะใหม่ในวิชาชีพต่อไป เหมาะสม 161 มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 23. หลักสูตรและการสอน ยึดงานเป็นหลัก (Work-based Learning) 24. การปลูกฝังบ่มเพาะความภาคภูมิใจและจรรยาบรรณในวิชาชีพการประกอบอาหาร ง. ยุทธศาสตร์ในการบริหารความ ร่วมมือแบบทวิภาคีในการจัดหลักสูตรการสอน 25. ร่วมพัฒนารายวิชาให้เหมาะสมกับท้องถิ่น 26. กำหนดหน่วยกิตเพื่อการฝึกงานในสถานประกอบการให้มีสัดส่วนเท่ากับการเรียนภาคทฤษฎีในสถาบัน 27. ร่วมพัฒนาหลักสูตรให้มีสาระสัมพันธ์ (Interrelated Content)ระหว่างสถาบันกับสถานประกอบการ 28. ร่วมพัฒนาหลักสูตรให้มีลักษณะ ท้องถิ่นอภิวัฒน์ บนรากฐานของ โลกาภิวัฒน์ 29. ร่วมพัฒนาหลักสูตรโดยเชื่อมโยง ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 30. ร่วมติดตามประเมินผลผู้เรียน 31. ร่วมจัดการเรียนการสอนเพื่อเอื้อ ต่อการถ่ายโอนระหว่างสถาบันสู่ สถานประกอบการ 32. ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยยึดการปฏิบัติงานของผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เหมาะสม มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 162 33. แลกเปลี่ยนทรัพยากรทาง การศึกษาระหว่างกัน จ. วิชาชีพผู้ประกอบอาหาร 34. บูรณาการความผูกพันทาง จรรยาบรรณวิชาชีพร่วมกัน 35. ควบคุมและทบทวนประสิทธิภาพ ซึ่งกันและกัน 36. ควบคุมมาตรฐานวิชาชีพในการ ผลิตบัณฑิตร่วมกัน 37. ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันในการพัฒนาความชำนาญพิเศษ 38. ร่วมพัฒนาบทบาทนักวิชาชีพตาม ลักษณะงาน โดยไม่จำเป็นต้อง เตรียมบัณฑิตเข้าสู่งานหลังจบ การศึกษา 39. ร่วมพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน 40. ทบทวนผลของความร่วมมือทุกสิ้นปีการศึกษาเพื่อปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป ค ประวัติผู้วิจัย นายยิ่งศักดิ์ จงเลิศเจษฏาวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2499 สำเร็จการศึกษาบัณฑิต(กศ.บ)วิชาเอกภาษไทย จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ได้รับปริญญาครุศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขามัธยมศึกษา วิชาคหกรรมศาสตร์ จากสถาบันราชภัฎธนบุรี สำเร็จการศึกษา MINI MBA IN ENTERMENT MANAGEMENT จากมหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถาบันศิลปศาสตร์การอาหาร นายกสมาคมก่อตั้งสมาคมพัฒนาการศึกษาวิชาชีพ เอกชน บรรณาธิการบริหารนิตยสาร ฟู้ดนิวส์ นิตยสารฟู้ดเปเปอร์ และพิธีกร รายการเคาะกระทะ รายการพ่อครัวบันเทิง ช่อง 9 อสมท. รูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (ตอนที่ 1)
รูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (ตอนที่ 2)
รูปแบบการบริหารสถาบันวิชาชีพการประกอบอาหารโดยอาศัยความ ร่วมมือร่วมใจเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (ตอนที่ 3)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น