วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554

วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร (ตอนที่ 3)



ŷ = 0.28 + 0.31 X1 + 0.31X7 + 0.31X9
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการ
บริหารงานปกครองนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
X1 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
119
X7 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการยอมรับนับถือในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
X9 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านซื่อสัตย์สุจริตในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนด้านที่ส่งผลต่อบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานบริการในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลางดังรายละเอียดตามตารางที่ 71 และ 72
ตารางที่ 71 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของการถดถอยพหุคูณของวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความ
ซื่อสัตย์สุจริตและเป้าหมายของโรงเรียนกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษาด้านการบริหารงานบริการในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
แหล่งความแปรปรวน df SS. MS. F p
Regression 2 34.21 17.10 103.03 0.00
Residual 118 19.59 0.17
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.80
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสอง 0.64
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสองที่ปรับแล้ว 0.63
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 0.41
ตารางที่ 72 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในด้านความซื่อสัตย์สุจริต
และเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
ตัวแปร สัมประสิทธิ์
การถดถอย SSB t p
ความซื่อสัตย์สุจริต ( X9) 0.50 0.08 6.47 0.00
เป้าหมายของโรงเรียน ( X1) 0.30 0.08 3.78 0.00
(ค่าคงที่) 0.70 0.20 3.48 0.00
จากตารางที่ 72 ตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตและเป้าหมายของ
โรงเรียนส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานบริการ
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณดังนี้
120
ŷ = 0.70 + 0.30X1 + 0.50X9
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการ
บริหารงานบริการในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
X1 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
X9 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนด้านที่ส่งผลต่อบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนในโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดกลางดังรายละเอียดตามตารางที่ 73 และ 74
ตารางที่ 73 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของการถดถอยพหุคูณของวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความ
ซื่อสัตย์สุจริต เป้าหมายของโรงเรียนและความหลากหลายของบุคลากรกับบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
แหล่งความแปรปรวน df SS. MS. F p
Regression 3 34.14 11.38 55.10 0.00
Residual 117 24.16 0.21
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.77
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสอง 0.59
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสองที่ปรับแล้ว 0.58
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 0.45
121
ตารางที่ 74 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในด้านความซื่อสัตย์สุจริต
เป้าหมายของโรงเรียนและความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
ตัวแปร สัมประสิทธิ์
การถดถอย SSB t p
ความซื่อสัตย์สุจริต ( X9) 0.30 0.11 2.74 0.01
เป้าหมายของโรงเรียน ( X1) 0.27 0.09 2.97 0.00
ความหลากหลายของบุคลากร ( X10) 0.26 0.11 2.43 0.02
(ค่าคงที่) 0.53 0.23 2.27 0.03
จากตารางที่ 74 ตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริต เป้าหมายของโรงเรียน
ความหลากหลายของบุคลากรส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้าน
การบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ
ดังนี้
ŷ = 0.53 + 0.27X1+ 0.30X9+ 0.26X10
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการ
บริหารงานโรงเรียนกับชุมชนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
X1 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
X9 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
X10 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนด้านที่ส่งผลต่อบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดกลางดังรายละเอียดตามตารางที่ 75 และ 76
122
ตารางที่ 75 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของการถดถอยพหุคูณของวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความ
เป้าหมายของโรงเรียน การยอมรับนับถือและความหลากหลายของบุคลากรกับ
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานอาคาร
สถานที่ในโรงเรียนมัธยมขนาดกลาง
แหล่งความแปรปรวน df SS. MS. F p
Regression 3 36.59 12.20 55.19 0.00
Residual 117 25.86 0.22
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.77
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสอง 0.59
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสองที่ปรับแล้ว 0.58
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 0.47
ตารางที่ 76 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในด้านเป้าหมายของ
โรงเรียน การยอมรับนับถือและความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
ตัวแปร สัมประสิทธิ์
การถดถอย SSB t p
เป้าหมายของโรงเรียน ( X1) 0.46 0.09 5.30 0.00
การยอมรับนับถือ ( X7) 0.25 0.10 2.51 0.01
ความหลากหลายของบุคลากร ( X10) 0.20 0.10 2.08 0.04
(ค่าคงที่) 0.30 0.02 1.10 0.28
จากตารางที่ 76 ตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียน การยอมรับนับถือ
และความหลากหลายของบุคลากรส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
ด้านการบริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางเขียนเป็นสมการถดถอย
พหุคูณดังนี้
ŷ = 0.30 + 0.46 X1 + 0.25X7 + 0.20X10
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการ
บริหารงานอาคารสถานที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
123
X1 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียน ในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
X7 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการยอมรับนับถือในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
X10 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง
5.4 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของ
ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ดังรายละเอียดตามตารางที่ 77
ตารางที่ 77 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนในภาพรวมกับบทบาทที่ปฏิบัติ
จริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
ตัวแปร
ด้านการ
บริหาร
ทั่วไป
ด้านการ
บริหาร
งาน
วิชาการ
ด้านการ
บริหาร
งาน
ธุรการ
ด้านการ
บริหาร
งาน
ปกครอง
นักเรียน
ด้านการ
บริหาร
งาน
บริการ
ด้านการ
บริหาร
งาน
โรงเรียน
กบั ชมุ ชน
ด้านการ
บริหาร
งาน
อาคาร
สถานที่
รวม
1. เป้าหมายของโรงเรียน 0.67** 0.69** 0.62** 0.58** 0.66** 0.64** 0.62** 0.71**
2. การมอบอำนาจ 0.72** 0.72** 0.67** 0.63** 0.68** 0.69** 0.62** 0.75**
3. การตัดสินใจ 0.69** 0.69** 0.65** 0.62** 0.66** 0.68** 0.65** 0.73**
4. ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง
ของโรงเรียน 0.72** 0.69** 0.65** 0.61** 0.67** 0.64** 0.67** 0.73**
5. ความไว้วางใจ 0.74** 0.65** 0.62** 0.56** 0.66** 0.67** 0.67** 0.72**
6. ความมีคุณภาพ 0.78** 0.71** 0.68** 0.62** 0.71** 0.72** 0.69** 0.78**
7. การยอมรับนับถือ 0.86** 0.74** 0.76** 0.66** 0.73** 0.74** 0.73** 0.82**
8. ความเอื้ออาทร 0.83** 0.74** 0.74** 0.68** 0.75** 0.75** 0.75** 0.83**
9. ความซื่อสัตย์สุจริต 0.80** 0.75** 0.72** 0.70** 0.78** 0.72** 0.77** 0.82**
10. ความหลากหลายของ
บุคลากร 0.76** 0.71** 0.68** 0.64** 0.72** 0.71** 0.68** 0.78**
รวม 0.87* 0.81** 0.78** 0.72** 0.80** 0.80** 0.79** 0.88**
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
124
จากตารางที่ 77 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พบว่าในภาพรวม
วัฒนธรรมโรงเรียนมีความสัมพันธ์กับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยความสัมพันธ์อยู่ใน
ระดับสูง (R = 0.88)
เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนแต่ละด้านกับบทบาทที่ปฏิบัติจริง
ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนแต่ละ
ด้านมีความสัมพันธ์กับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดใหญ่อยู่ในระดับสูงตามลำดับดังน ี้ ความเอื้ออาทร (R = 0.83) การยอมรบั นบั ถือ (R =
0.82) ความซื่อสัตย์สุจริต (R = 0.82) ความมีคุณภาพ (R = 0.78) ความหลากหลายของบุคลากร (R =
0.78 ) การมอบอำนาจ (R = 0.75) ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน (R = 0.73) การตัดสินใจ
(R = 0.73) ความไว้วางใจ (R = 0.72) และเป้าหมายของโรงเรียน (R = 0.71)
เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนในภาพรวมกับบทบาทที่ปฏิบัติจริง
ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พบว่าวัฒนธรรมโรงเรียน
ในภาพรวมมีความสัมพันธ์กับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาแต่ละด้าน
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในระดับสูงตามลำดับดังนี้ ด้านการบริหารทั่วไป (R = 0.87)
ด้านการบริหารงานวิชาการ (R = 0.81) ด้านการบริหารงานบริการ (R = 0.80) ด้านการบริหารงาน
โรงเรียนกับชุมชน (R = 0.80) ด้านการบริหารงานอาคารสถานที่ (R = 0.79) ด้านการบริหารงาน
ธุรการ (R = 0.78 ) และด้านการบริหารงานปกครองนักเรียน (R = 0.72 )
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนในภาพรวมกับบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกด้านในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
ดังรายละเอียดตามตารางที่ 78 และ 79
ตารางที่ 78 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายของวัฒนธรรมโรงเรียน
ในภาพรวมกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกด้านใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
แหล่งความแปรปรวน df SS. MS. F p
Regression 1 55.59 55.59 565.90 0.00
Residual 166 16.31 0.10
125
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.88
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสอง 0.77
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสองที่ปรับแล้ว 0.77
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 0.31
ตารางที่ 79 การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในภาพรวมใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
ตัวแปร สัมประสิทธิ์
การถดถอย SSB t p
วัฒนธรรมโรงเรียน 0.88 0.04 23.79 0.00
(ค่าคงที่) 0.55 0.14 4.01 0.00
จากตารางที่ 79 ตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในภาพรวมในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
เขียนเป็นสมการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายดังนี้
ŷ = 0.55 + 0.88X
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์ของบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกด้าน
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X แทน ภาพรวมของวัฒนธรรมโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนด้านที่ส่งผลต่อบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกด้านในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
ดังรายละเอียดตามตารางที่ 80 และ 81
ตารางที่ 80 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของการถดถอยพหุคูณของวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความ
เอื้ออาทร การมอบอำนาจ ความหลากหลายของบุคลากร การตัดสินใจและเป้าหมาย
ของโรงเรียนกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกด้านใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
แหล่งความแปรปรวน df SS. MS. F p
Regression 5 56.64 11.33 120.36 0.00
Residual 162 15.25 0.09
126
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.89
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสอง 0.79
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสองที่ปรับแล้ว 0.78
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 0.31
ตารางที่ 81 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในด้านความความเอื้ออาทร
การมอบอำนาจ ความหลากหลายของบุคลากร การตัดสินใจและเป้าหมายของ
โรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
ตัวแปร สัมประสิทธิ์
การถดถอย SSB t p
ความเอื้ออาทร ( X8 ) 0.31 0.05 5.88 0.00
การมอบอำนาจ ( X2 ) 0.16 0.05 3.08 0.00
ความหลากหลายของบุคลากร ( X10 ) 0.16 0.06 2.79 0.01
การตัดสินใจ ( X3 ) 0.14 0.05 2.58 0.01
เป้าหมายของโรงเรียน ( X1 ) 0.11 0.05 2.16 0.03
(ค่าคงที่) 0.54 0.14 3.80 0.00
จากตารางที่ 81 ตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความเอื้ออาทร การมอบอำนาจ ความ
หลากหลายของบุคลากร การตัดสินใจและเป้าหมายของโรงเรียนส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของ
ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกด้านในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่เขียนเป็นสมการถดถอย
พหุคูณดังนี้
ŷ = 0.54 + 0.11X1 + 0.16X2 + 0.14X3 + 0.31X8+ 0.16X10
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกด้านใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X1 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาด
ใหญ่
X2 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการมอบอำนาจในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X3 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการตัดสินใจในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X8 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความเอื้ออาทรในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X10 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดใหญ่
127
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนด้านที่ส่งผลต่อบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ดังรายละเอียดตาม
ตารางที่ 82 และ 83
ตารางที่ 82 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของการถดถอยพหุคูณของวัฒนธรรมโรงเรียนด้านการ
ยอมรับนับถือ ความหลากหลายของบุคลากร การมอบอำนาจ และความเอื้ออาทรกับ
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารทั่วไปในโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดใหญ่
แหล่งความแปรปรวน df SS. MS. F p
Regression 4 68.06 17.02 147.55 0.00
Residual 163 18.80 0.12
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.89
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสอง 0.78
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสองที่ปรับแล้ว 0.78
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 0.34
ตารางที่ 83 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในด้านการยอมรับนับถือ
ความหลากหลายของบุคลากร การมอบอำนาจและความเอื้ออาทรในโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดใหญ่
ตัวแปร สัมประสิทธิ์
การถดถอย SSB t p
การยอมรับนับถือ ( X7 ) 0.40 0.09 4.76 0.00
ความหลากหลายของบุคลากร ( X10 ) 0.16 0.06 2.63 0.01
การมอบอำนาจ ( X2 ) 0.16 0.05 3.00 0.00
ความเอื้ออาทร ( X8) 0.19 0.08 2.56 0.01
(ค่าคงที่) 0.47 0.15 3.17 0.00
จากตารางที่ 83 ตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความยอมรับนับถือ ความหลากหลายของ
บุคลากร การมอบอำนาจและความเอื้ออาทรส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
128
มัธยมศึกษาด้านการบริหารทั่วไปในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่เขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ
ดังนี้
ŷ = 0.47 + 0.16X2 + 0.40X7 + 0.19X8 + 0.16X10
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการ
บริหารทั่วไปในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X2 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการมอบอำนาจในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X7 แทน วฒั นธรรมโรงเรยี นดา้ นการยอมรบั นบั ถอื ในโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญ่
X8 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความเอื้ออาทรในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X10 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดใหญ่
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนด้านที่ส่งผลต่อบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดใหญ่ดังรายละเอียดตามตารางที่ 84 และ 85
ตารางที่ 84 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของการถดถอยพหุคูณของวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความ
ซื่อสัตย์สุจริต การมอบอำนาจ เป้าหมายของโรงเรียน การตัดสินใจและความหลาก
หลายของบุคลากรกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการ
บริหารงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
แหล่งความแปรปรวน df SS. MS. F p
Regression 5 51.27 10.25 69.29 0.00
Residual 162 23.97 0.15
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.83
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสอง 0.68
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กำลังสองที่ปรับแล้ว 0.67
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน 0.38
129
ตารางที่ 85 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนในด้านความซื่อสัตย์สุจริต
การมอบอำนาจ เป้าหมายของโรงเรียน การตัดสินใจและความหลากหลายของ
บุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
ตัวแปร สัมประสิทธิ์
การถดถอย SSB t p
ความซื่อสัตย์สุจริต ( X9) 0.22 0.08 2.81 0.01
การมอบอำนาจ ( X2) 0.21 0.07 3.19 0.00
เป้าหมายของโรงเรียน ( X1) 0.15 0.07 2.34 0.02
การตัดสินใจ ( X3) 0.14 0.07 2.08 0.04
ความหลากหลายของบุคลากร ( X10) 0.15 0.07 2.07 0.04
(ค่าคงที่) 0.58 0.18 3.27 0.00
จากตารางที่ 85 ตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริต การมอบอำนาจ
เป้าหมายของโรงเรียน การตัดสินใจและความหลากหลายของบุคลากรส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติ
จริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
เขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณดังนี้
ŷ = 0.58 + 0.15X1 + 0.21X2+ 0.14X3 + 0.22X9+ 0.15X10
เมื่อ ŷ แทน ค่าพยากรณ์บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการ
บริหารงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X1 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X2 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการมอบอำนาจในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X3 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการตัดสินใจในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X9 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
X10 แทน วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดใหญ่
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนด้านที่ส่งผลต่อบทบาทที่
ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านการบริหารงานธุรการในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดใหญ่ดังรายละเอียดตามตารางที่ 86 และ 87
147
เป้าหมายของโรงเรียน การมอบอำนาจ การตัดสินใจ ความเอื้ออาทร ความซื่อสัตย์สุจริตและ
ความหลากหลายของบุคลากรเขียนสมการถดถอยพหุคูณดังนี้
ŷ = 0.49 + 0.17x1+ 0.11x2+ 0.09x3+ 0.19x8+ 0.19x9+ 0.13x10
อภิปรายผล
จากผลการวิจัยที่พบสามารถนำมาอภิปรายผลได้ดังนี้
1. ระดับวัฒนธรรมโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดอยู่ในระดับมาก สอดคล้อง
กับผลการวิจัยของ นงลักษณ์ เรือนทอง (2535 : 162) ที่พบว่าระดับวัฒนธรรมองค์กรในสำนักงาน
ศึกษาธิการอำเภออยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับผลการวิจัย ของอ้อยทิพย์ สุทธิเทพ (2543 : 90)
ที่พบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้
อาจเป็นเพราะว่าองค์กรหรือโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ  มีกฎระเบียบกติกาการ
อยู่ร่วมกัน พฤติกรรมของบุคลากรในโรงเรียน มีการยึดถือเป็นปทัสถานในการปฏิบัติงานเป็นไป
ตามครรลอง เซอร์จิโอแวนนี (Sergiovanni 1998 : 103)ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การ
ไว้ว่าในทุกองค์การที่มีหลักประพฤติที่พึงสังเกตได้ซึ่งถูกกำหนดโดยกฏเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน
จนกลายเป็นพฤติกรรมบ่งชี้ว่าสิ่งใดควรปฏิบัติและยอมรับได้ นอกจากนี้ผู้บริหารโรงเรียนมัธยม
ศึกษามีความสำคัญยิ่งในการพัฒนาองค์การ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา จอห์นสัน
(Johnson 1990 : 1494 - A) ได้ค้นพบว่าตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม
โรงเรียนประกอบด้วยการมีส่วนร่วมในการจัดการของบุคลากร การวางแผนการปฏิบัติงาน การ
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพและการช่วยเหลือสนับสนุนการบริหาร
งานของโรงเรียน
นอกจากนั้นบุคคลที่สำคัญต่อการปฏิบัติงานในโรงเรียนมัธยมศึกษาก็คือ ผู้บริหารโรงเรียน
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้าหมวดวิชา หัวหน้างานและครูปฏิบัติการสอน ซึ่งเป็นผู้กำหนด
นโยบายและการปฏิบัติงานต่างๆ ในโรงเรียนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน จากข้อมูลสถานภาพ
ผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าครูส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 45 ปีขึ้นไป การศึกษาระดับ
ปริญญาตรีมีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 20 ปีขึ้นไป ไม่เคยผ่านการอบรมหลักสูตรผู้บริหาร
สถานศึกษาระดับสูงจำนวนมาก ปฏิบัติงานในตำแหน่งครูปฏิบัติการสอนเป็นจำนวนมากและอยู่ใน
โรงเรียนขนาดใหญ่จำนวนมาก จึงเป็นผู้มีความรู้ประสบการณ์ มีความสุขุมรอบคอบใน
การปฏิบัติงาน การนำความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่ง
พนัส หันนาคินทร์ (2530 : 40) ให้ความเห็นว่าบุคคลที่ได้รับการศึกษาสูงย่อมมีโอกาสเรียนรู้
สิ่งต่างๆ ได้มาก ข้าราชการครูต้องปฏิบัติตามระเบียบราชการจากการที่ครูมีประสบการณ์การทำงาน
148
มากกว่า 20 ปี ขึ้นไป นั่นหมายถึงว่าได้ทำงานอยู่ร่วมกันนานทำให้เรียนรู้อุปนิสัยใจคอซึ่งกันและ
กันได้อย่างดีและรู้จักวิธีทำงานของแต่ละคนได้เป็นอย่างดี สามารถปรับตัวเข้าหากันก่อให้เกิด
ความเชื่อ ค่านิยม ไปในทิศทางเดียวกันจะส่งผลให้การปฏิบัติงานของโรงเรียนประสบผลสำเร็จ
การทำงานที่ประสบผลสำเร็จต้องอาศัยการยอมรับซึ่งกันและกัน การไม่เคยได้รับการอบรมใน
หลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูงของบุคลากร ทำให้การบริหารงานด้านนโยบายประสบผล
สำเร็จตามความคาดหวังได้ช้า จึงควรให้บุคลากรได้รับการอบรมมีความรู้ตามเหมาะสม ดังนั้น
องค์การต้องสร้างความตระหนัก เตรียมความพร้อมและดำเนินการให้บุคลากรได้รับการพัฒนา
ความรู้ด้านการบริหารงานเป็นการเตรียมตัวสู่การปฏิบัติในภาระหน้าที่ของครูที่ดีต่อไป บุคคลที่
รวมตัวกันเป็นกลุ่มจะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน มีกิจกรรมร่วมกัน ช่วยหล่อหลอมความแตกต่างระหว่าง
บุคคลให้เป็นความรู้สึก ความคิด เจตคติและค่านิยมกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ
พิมล รอดเรืองศรี (2535 : บทคัดย่อ) พบว่าผู้บริหารโรงเรียนมีค่านิยมในงานวิชาการโดยรวมมาจาก
ประสบการณ์จึงไม่แตกต่างกันในเรื่องขนาดของโรงเรียน
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดอยู่ใน
ระดับมากด้านการยอมรับนับถือ การมอบอำนาจ ความมีคุณภาพ เป้าหมายของโรงเรียน
ความซื่อสัตย์สุจริต ความเอื้ออาทร ความหลากหลายของบุคลากรและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง
ของโรงเรียนอยู่ในระดับปานกลาง คือ ความไว้วางใจ และการตัดสินใจ โรงเรียนมัธยมศึกษา
ทุกขนาดต้องการให้โรงเรียนมีคุณภาพ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมโรงเรียนด้านหนึ่ง ในการจัดการศึกษาให้
มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นเป้าหมายสำคัญของโรงเรียนเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวโรงเรียนควร
คำนึงถึงการมีบรรยากาศแห่งความเห็นอกเห็นใจกัน ช่วยเหลือเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน การให้ขวัญ
และกำลังใจในการทำงานและต้องคำนึงถึงความหลากหลายของบุคลากรในองค์การ การยอมรับ
นับถือ เห็นคุณค่าในความสำเร็จ ผลงานของบุคลากรเป็นสิ่งที่จะทำให้บุคคลเกิดขวัญและกำลังใจ
ในการทำงาน รวมถึงการมอบอำนาจซึ่งบุคคลสามารถปฏิบัติงานได้ตามอำนาจหน้าที่ มนุษย์ทุกคน
ต้องการให้ผู้อื่นยอมรับในความรู้ ความสามารถของตน ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีความต้องการ 5 ข้อ
ของมาสโลว์ (Maslow’s need hierarchy Theory 1970) ความต้องการความยอมรับในสังคม
(Esteem of status Needs) ผู้บริหารเป็นบุคคลสำคัญที่แสดงพฤติกรรมให้ครูอาจารย์ยอมรับ
การยอมรับนับถือซึ่งกันและกันระหว่างผู้บริหารกับครู ครูกับครู ครูกับนักเรียน การยอมรับซึ่งกัน
และกันเป็นการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน ผลงานมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับเป้าหมายของ
โรงเรียน ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นหลักสำคัญของธรรมาภิบาล กระบวนการบริหารจัดการที่ดีจำเป็น
ต้องมีบุคลากรที่มีจริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นจำนวนมาก ดังนั้นโรงเรียนมัธยม
ศึกษาควรจัดกระบวนการเสริมสร้างความสามัคคี ความสัมพันธ์อันดีของสมาชิก ผู้บังคับบัญชากับ
149
ผู้ใต้บังคับบัญชา นอกจากนี้ธงชัย สันติวงษ์ (2533 : 278) ให้แนวคิดว่าบทบาทผู้บริหารที่สำคัญ
ต้องจัดระบบการติดตามและควบคุมการปฏิบัติงานด้วยระบบการควบคุมทางการบริหารที่ควบคู่กัน
เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการดำเนินงานว่าได้บริหารงานเป็นไปตามเป้าหมายและมีคุณภาพ สิ่งที่
จำเป็นคือ ต้องจัดให้มีการประสานงานอย่างมีระบบ สร้างบรรยากาศในการทำงานและควรให้
สอดคล้องกับความหลากหลายของบุคลากร
เมื่อพิจารณาถึงค่าเฉลี่ยของวัฒนธรรมโรงเรียนจำแนกตามขนาดโรงเรียนในภาพรวม
พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าในปัจจุบันโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาได้กำหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา การปฏิรูปการ
ศึกษา การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาด้านปัจจัย กระบวนการและผลผลิต เป็นแนวทางใน
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากการ
ประเมินภายในและภายนอกจึงมีการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการการปฏิรูปการเรียนรู้กำหนด
มาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนแต่ละโรงเรียน
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดใหญ่มากกว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดใหญ่มีความต้องการ ความคาดหวัง การยอมรับจากผู้ปกครองในการส่งเด็กเข้ามาเรียน
โดยโรงเรียนมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างชัดเจนมีปัจจัยส่งเสริมการทำงาน
เป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนมีการกาํ หนดวางแผนปฏิบัติงานของโรงเรียน ซึ่งเป็นแผน
แม่บท (Master Plan) ของแต่ละโรงเรียนและจากการวิจัยของมาลินี ชวาลไพบูลย์ (2533 : ก)
ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตกรุงเทพ
มหานคร พบว่าการบริหารที่มีความชัดเจนของบทบาทและเป้าประสงค์ของการทำงานส่งผลต่อการ
ปฏิบัติงานเป็นทีมมีประสิทธิภาพซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของดาวเนอร์ (Downer 1989 : 3136-
A) ที่ทำการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบโครงสร้างทางทัศนคติของชุมชน 5 แห่งในนิวฟินแลนด์ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงานให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของโรงเรียน คือ มีเป้าหมาย
โรงเรียนชัดเจนทำให้ครูเข้าใจตรงกันไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งส่งผลเสียต่อการปฏิบัติงานแล้วให 
ผู้เกี่ยวข้องได้กำหนดเป้าหมายของโรงเรียนต้องชัดเจนและเข้าใจตรงกันแม้จะจำแนกประเภท
เป็นหมวด เป็นฝ่ายก็ตามต้องมีเป้าหมายในการทำงานโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่อาจมี
เป้าหมายและความหลากหลายของบุคลากรมากกว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง จากเหตุผล
ดังกล่าวพบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
อยู่ในระดับมากซึ่งมากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง สำหรับความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของ
โรงเรียนพบว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กมากกว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่และ
150
ขนาดกลางทั้งนี้เพราะว่าวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนอาจเกี่ยวเนื่อง
จากการที่โรงเรียนขนาดเล็ก มีความพร้อมในด้านต่างๆ อยู่ในระดับน้อย จำนวนบุคลากรไม่มาก
การมอบอำนาจการทำงานเกี่ยวเนื่องกับการตัดสินใจ การนำไปปฏิบัติ การรับรู้ข่าวสารข้อมูลการใช้
ทรัพยากรของโรงเรียนอย่างเท่าเทียมกัน การเปิดโอกาสให้บุคลากรตัดสินใจมีความรับผิดชอบใน
การปฏิบัติงาน การที่บุคลากรมีจำนวนน้อยแต่ปริมาณงานมากและเป็นงานที่นอกเหนือจากการสอน
งานบางอย่างต้องใช้ความรู้ความสามารถเฉพาะสาขาจึงจะปฏิบัติได้ดีนำไปสู่ประสิทธิภาพ
ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กจำเป็นต้องมอบหมายความรับผิดชอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชามี
ส่วนร่วมรับผิดชอบให้เขามีความรู้สึกว่าเป็นเสมือนส่วนหนึ่งของโรงเรียนเขาจึงเห็นความสำคัญ
ตั้งใจทำงานอย่างดีซึ่งสอดคล้องกับสเตรียร์ (Steers 1977 : 60) ได้ศึกษาพบว่าการกระจายอำนาจมี
อิทธิพลต่อประสิทธิภาพขององค์การส่งผลให้บุคคลมีความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นอาจเป็นเหตุให้วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของ
โรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กอยู่ในระดับมากกว่าซึ่งมากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลางและขนาดใหญ่
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความหลากหลายของบุคลากร
อยู่ในระดับมากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ ทั้งนี้ เนื่องมาจากครูอาจารย์
ส่วนใหญ่มาจากครอบครัว ฐานะ ความเป็นอยู่ ชุมชน วัฒนธรรม วิถีชีวิต ความสนใจ ความเชื่อ
ที่แตกต่างกัน เมื่อมาอยู่รวมกันจำเป็นต้องปรับวัฒนธรรมของตนเองให้เข้ากับวัฒนธรรมโรงเรียน
อย่างไรก็ตามความหลากหลายของบุคลากรก็ยังคงมีอยู่ เมื่อครูอาจารย์แต่ละคนปฏิบัติงานตาม
บทบาทของตนตามหน้าที่ ตามความสามารถก็จะเกิดผลดีต่อโรงเรียนทำให้โรงเรียนบริหารงานได้
บรรลุเป้าหมายแต่ความแตกต่างของแต่ละบุคคลที่ติดตัวมาและมาจากที่ต่างกัน เมื่อมาอยู่รวมใน
องค์การบุคคลแต่ละคนอาจปรับวัฒนธรรมของตนเองให้ผสมผสานกลมกลืนเข้าเป็นวัฒนธรรมรวม
หรือของกลุ่มขึ้นมาและให้ความไว้วางใจ ร่วมตัดสินใจมีความเอื้ออาทรและมีความจริงใจต่อกัน
และกันต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกันตลอดจนหาทางขอความช่วยเหลือจากภายนอกโรงเรียนด้วย ทำให้
เกิดความสามัคคียึดเหนี่ยวกันระหว่างสมาชิก ทำให้เป็นวัฒนธรรมโรงเรียนหรือกระสวนพฤติกรรม
ในโรงเรียนสอดคล้องกับงานวิจัยของจอห์นสัน (Johnson 1990 : 1494 - A) อีกทั้งแสดงความ
หวงแหนความเป็นเจ้าขององค์การ เกิดความรักและผูกพันยอมรับกันในระหว่างบุคลากรเอง
ร่วมมือสร้างคุณภาพงานอย่างเต็มกำลังความสามารถ โดยไม่เห็นแก่ความยากลำบากและ
เหน็ดเหนื่อยทำให้เกิดคุณภาพงานบรรลุตามเป้าหมายของโรงเรียน ผู้บังคับบัญชามอบอำนาจให้ได้
ชัดเจน ขณะเดียวกันวัฒนธรรมโรงเรียนด้านนี้ก็อยู่ในระดับมากในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
และขนาดใหญ่แต่ไม่มากที่สุดก็เป็นเพราะบุคลากรของในโรงเรียนทั้ง 2 ขนาดมีจำนวนมากมีความ
151
ยุ่งยากที่จะปรับเปลี่ยนความเชื่อ ค่านิยม ตลอดจนวัฒนธรรมร่วมของบุคคลได้อันเกิดจาก
วัฒนธรรมด้านความหลากหลายของบุคลากรที่มีจำนวนมาก
2. ระดับของบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยภาพรวมใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาอยู่ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้านซึ่งสอดคล้องกับ
อ้อยทิพย์ สุทธิเทพ (2543 : 94) การปฏิบัติงานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษาทุกขนาดต้องรับผิดชอบ การบริหารงานธุรการ การบริหารงานปกครองนักเรียน การ
บริหารทั่วไป การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบริการ การบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนและ
การบริหารงานอาคารสถานที่ บทบาทการปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาแต่ละขนาดมี
ความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ นั่นหมายถึงผู้บริหารโรงเรียนทุกขนาดมีความชัดเจน
ในการบริหารงาน บทบาทการปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่มีบทบาท
การบริหารด้านการบริหารทั่วไปมากกว่าโรงเรียนขนาดกลาง ทั้งนี้เพราะว่าการบริหารทั่วไปเป็น
งานที่เกี่ยวข้องกับบริการทางการศึกษาให้แก่สมาชิกโดยมีการดำเนินการอย่างมีระบบ มีระเบียบ
แบบอย่างของทางราชการ การจัดองค์การภายในมีความเด่นชัดเพราะมีบุคลากรมาก มีปริมาณงาน
ด้านต่างๆ มาก ในภาพรวมเป็นที่รวมบุคลากรที่มีศักยภาพสูงมีการแข่งขันการพัฒนางานตาม
ปริมาณงานที่ต้องปฏิบัติมากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษาขณะอื่นๆ บุคลากรของโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดกลางมีจำนวนน้อยกว่าแต่มีปริมาณงานความรับผิดชอบมากความจำเป็นในการบริการ
การจัดทำสารสนเทศอาจมีข้อจำกัดกว่า ซึ่งสอดคล้องกับวัฒนธรรมโรงเรียนขนาดใหญ่ การยอมรับ
นับถือ มีความสัมพันธ์กับการบริหารทั่วไป สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางความซื่อสัตย์
สุจริตมีความสัมพันธ์กับการบริหารทั่วไป
บทบาทที่ปฏิบัติงานจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กด้านการบริหารงาน
บริการ ด้านการบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนมีการปฏิบัติมากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลาง ด้านการบริหารงานการบริการเป็นงานบริหารที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณูปโภค อาคาร
สถานที่ การสื่อสารคมนาคม เป็นบทบาทที่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับงานบริหารโรงเรียนกับ
ชุมชนประกอบด้วยโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กวัฒนธรรมด้านความไว้วางใจมีความสัมพันธ์กับ
ด้านการบริหารงานบริการและด้านการตัดสินใจมีความสัมพันธ์กับด้านการบริหารงานโรงเรียนกับ
ชุมชน ซึ่งเป็นกระบวนการที่สำคัญในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กต้องสร้างความสัมพันธ์ การ
เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ อย่างไรก็ตามในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดกลางมีความสอดคล้องกับณรงค์ศักดิ์ ถนอมศรี (2538 : ก) ที่ได้วิจัยเรื่องปัจจัยทางวัฒนธรรม
โรงเรียนส่งผลต่อการปฏิบัติงานด้านโรงเรียนกับชุมชนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
152
ศึกษา เขตการศึกษา 6 สำหรับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก
ด้านการบริหารงานอาคารสถานที่มากกว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ อาจเนื่อง
มาจากวัฒนธรรมความหลากหลายของบุคลากรของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กมีน้อยกว่า
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ จึงจำเป็นที่ต้องบริหารจัดการอาคารสถานที่ให้
สวยงามมีสภาพน่าใช้สอยพร้อมบริการกับชุมชน มีความสัมพันธ์กับชุมชนและประสานขอความ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แต่โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางการบริหารงานอาคารสถานที่มีความ
สัมพันธ์กับวัฒนธรรมของโรงเรียนเป้าหมายของโรงเรียนเพื่อการบริการใช้สอยให้เพียงพอกับ
จำนวนนักเรียนที่เพิ่มมากขึ้นหรือใช้อาคารสถานที่ให้เกิดความคุ้มค่าที่สุด อย่างไรก็ตามโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดใหญ่ การบริหารงานอาคารสถานที่มีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมโรงเรียนด้าน
ความซื่อสัตย์สุจริต นอกจากนี้สอดคล้องกับณรงค์ศักดิ์ ถนอมศรี (2538 : ก) ที่ได้วิจัยเรื่องปัจจัย
ทางวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานด้านโรงเรียนกับชุมชนของโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6 พบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนด้านโรงเรียนกับชุมชนส่งผลต่อ
ความหลากหลายของบุคลากร
3. ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษาทุกขนาดอยู่ในระดับสูง โดยที่วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตกับบทบาท
การปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทั้ง 7 ด้านของโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดอยู่ใน
ระดับสูง ซึ่งสัมพันธ์กับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ขณะที่โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กความ
สัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความหลากหลายของบุคลากรนั้นมีบทบาทที่ปฏิบัติจริง
ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทั้ง 7 ด้านอยู่ในระดับสูง ส่วนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่จะมี
ความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความเอื้ออาทรอยู่ในระดับสูง
วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษา ซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตเป็นตัวกำหนดแนวทางจริยธรรมการบริหารงาน ความ
ซื่อสัตย์สุจริตเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องมีในโรงเรียนเพื่อให้บุคลากรมีความสามัคคีกันซึ่งมีความสัมพันธ์
กับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง และสอดคล้องสัมพันธ์กับความซื่อสัตย์สุจริตในภาพรวมใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดมีความสัมพันธ์กับความหลากหลายของบุคลากรในโรงเรียนมัธยม
ศึกษาขนาดเล็กและความเอื้ออาทรในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ เพราะเมื่อมีความเอื้ออาทร
ต่อกันแล้วย่อมต้องอาศัยปัจจัยด้านความซื่อสัตย์สุจริตเป็นตัวกำหนด
วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการยอมรับนับถือส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดด้านการบริหารทั่วไป สอดคล้องกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ด้านการบริหารทั่วไปและโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
153
ด้านบริหารงานปกครองนักเรียน การยอมรับนับถือกับการบริหารทั่วไปมีความสำคัญมาก เพราะ
งานบริหารทั่วไปเป็นงานที่เกี่ยวกับการบริการทางการศึกษาให้แก่สมาชิก การดำเนินการต่างๆ เช่น
การวางแผน การกำหนดนโยบายเป้าหมายของโรงเรียน การจัดองค์การ การจัดระบบสารสนเทศ
การบริหารบุคลากร การบริหารการเงิน การสื่อสารคมนาคม เป็นงานที่บริการสมาชิกและเป็นไป
ตามแบบแผนระเบียบของราชการ จึงจำเป็นต้องมีบุคลากรที่ได้รับการยอมรับนับถือมารับและให้
บริการประกอบกับผู้บริหารเองก็จะต้องมีบทบาทนี้ เพื่อให้เกิดการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ
จำเป็นอย่างยิ่งจะต้องได้รับการยอมรับนับถือจากผู้อื่นพร้อมกับการยกย่องชมเชยผู้อื่น เพื่อให้เกิดผล
ต่อการปฏิบัติเพราะงานบริหารจำเป็นต้องได้รับและเห็นคุณค่าในความสำเร็จและผลงานของ
บุคลากร การยอมรับและเห็นคุณค่าจะเป็นการแสวงหาแนวคิดที่ดีของบุคลากรในโรงเรียน
สอดคล้องกับความต้องการพื้นฐานของมาสโลว์ (Maslow’s need hierarchy theory 1970) ในการ
ต้องการให้ผู้อื่นยอมรับในความสามารถของตนเอง
วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาด ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงานธุรการ ด้านการ
บริหารงานปกครองนักเรียนและด้านการบริหารงานอาคารสถานท ี่ ซึ่งงานทั้งหมดเป็นงานบริการ
ซึ่งสัมพันธ์กับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กด้านการบริหารงาน
ธุรการ โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางด้านการบริหารทั่วไป การบริหารงานวิชาการ การบริหาร
งานธุรการ การบริหารงานบริการและด้านการบริหารงานอาคารสถานที่และโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดใหญ่ ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงานปกครองนักเรียน และด้านบริการงาน
อาคารสถานที่
การบริหารงานวิชาการวัฒนธรรมโรงเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตส่งผลต่อบทบาท
ที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดและโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่และ
ขนาดกลาง ยกเว้นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะว่าการบริหารงานวิชาการเป็นงาน
สำคัญของผู้บริหารเพราะโรงเรียนมีงานวิชาการเป็นหัวใจสำคัญในการจัดการเรียนการสอนตาม
หลักสูตรสนองความต้องการของผู้เรียน เป็นงานที่ต้องควบคุมดูแลเกี่ยวกับการปรับปรุงและ
พัฒนาการเรียนการสอนทั้งในด้านหลักสูตร อุปกรณ์การสอน ห้องสมุด การค้นคว้า แผนการสอน
และการวัดผลประเมินผล สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก อาจเป็นเพราะบุคลากรมีจำกัด
ความรับผิดชอบด้านวิชาการมีมากทุกคน ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นกระบวนการเห็นคุณค่าความ
ซื่อสัตย์ของบุคลากรโดยการชมเชยให้ผลตอบแทนเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตามจริยธรรมเป็น
หลักการเห็นความสำคัญโดยส่วนรวมและร่วมกันแล้ว การเห็นคุณค่าความซื่อสัตย์ในคำพูด
การกระทำเป็นการสร้างความผูกพันที่ดี
154
ด้านการบริหารงานธุรการ ด้านการบริหารงานบริการ ด้านการบริหารงานอาคารสถานที่
เป็นงานบริการด้านต่างๆ ของโรงเรียนเพื่อให้การเรียนการสอนเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
งานธุรการเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับงานสารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานทะเบียนสถิติ
และรายงาน งานบุคลากรเป็นงานที่ต้องการความซื่อสัตย์สุจริต เช่นเดียวกับงานบริการเป็นงาน
ที่เกี่ยวกับสาธารณูปโภค งานบริการสุขภาพอนามัย การจัดบริการห้องสมุด จัดบริการโสตทัศน
อุปกรณ์และจัดบริการแนะแนวเป็นงานที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้านวิชาการทั้งหมด
ต้องมีความซื่อสัตย์สุจริตตรงต่อเวลา งานอาคารสถานที่เป็นงานบริการดูแลการใช้อาคารสถานที่
ให้มีความปลอดภัยพอเพียงกับความต้องการ
สำหรับด้านการบริหารงานปกครองนักเรียนมีความสำคัญยิ่ง จึงต้องมีวัฒนธรรมโรงเรียน
ด้านความซื่อสัตย์สุจริต เพราะกิจกรรมการปกครองมีความหลากหลายเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการ
ควบคุม การป้องกันความประพฤติของนักเรียนส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
การแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของนักเรียนและการส่งเสริมนักเรียนให้ยึดถือเป็นแบบอย่างของ
การปฏิบัติในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต
วัฒนธรรมโรงเรียนมัธยมศึกษาด้านความเอื้ออาทรส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของ
ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาด ด้านการบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนสอดคล้องสัมพันธ์กับ
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ด้านการบริหารงานธุรการ ด้าน
การบริหารงานบริการและด้านการบริหารงานโรงเรียนกับชุมชน ทั้งนี้เนื่องจากความเอื้ออาทร
เป็นการเอาใจใส่ดูแล ความเป็นอยู่ในการปฏิบัติงานของครูและสนับสนุนให้ครูมีความก้าวหน้าใน
หน้าที่ เป็นการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาควรรู้ว่าผู้ใต้บังคับบัญชา
เขาทำงานเพื่ออะไร และรู้หน้าที่ของเราและสร้างความภูมิใจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
ด้านงานบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนมีความสำคัญยิ่งในการเสริมสร้างกระบวนการมีส่วน
ร่วมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน การประชาสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมประเพณี
การพัฒนาชุมชน การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ การบริการข่าวสาร การอาชีพ และบริการ
วิชาการ จึงเป็นกระบวนการที่สำคัญยิ่งของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ต้องมีความเอื้ออาทรกับ
ชุมชนโรงเรียนควรให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ ด้านสถานที่และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางด้านการบริหารงานอาคารสถานที่ทั้งนี้เนื่องจากโรงเรียนขนาดกลาง
มีการกำหนดเป้าหมายของการรับนักเรียนให้สอดคล้องกับนโยบายกรมสามัญศึกษา และพื้นที่
แต่ขณะเดียวกันต้องเตรียมความพร้อม วางเป้าหมายของการพัฒนาขยายการรับนักเรียนให้เพียงพอ
และสามารถส่งเสริมการกระจายจำนวนของประชากรตามสหวิทยาเขต โรงเรียนมัธยมศึกษาของ
155
กรมสามัญศึกษาในการรับนักเรียน
ดังนั้นงานอาคารสถานที่จึงเป็นสิ่งจำเป็นในเรื่องการวางแผน
การใช้อาคารให้มีความเหมาะสม
วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการตัดสินใจส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดเล็กด้านการบริหารงานโรงเรียนกับชุมชน ทั้งนี้เนื่องจากความสามารถในการ
ให้บริการกับชุมชนมีข้อจำกัดเรื่องบุคลากรและอุปกรณ์ในทางกลับกันกลับต้องพึ่งพาอาศัยขอความ
ช่วยเหลือจากชุมชน ผู้บริหารจึงต้องมีความสามารถในการตัดสินให้บริการหรือให้ความช่วยเหลือ
ขอความช่วยเหลือที่ปราศจากผลกระทบในด้านต่างๆ
วัฒนธรรมโรงเรียนด้านความไว้วางใจส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดเล็กด้านการบริหารงานวิชาการ และด้านการบริหารงานบริการ เป็นสิ่งจำเป็น
อย่างยิ่งของโรงเรียนขนาดเล็กที่ต้องสร้างเสริมแรงในการพัฒนาจัดการบริหารงานวิชาการ
ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ พร้อมกับต้องให้บริการทุนการศึกษา สร้างศรัทธา
ความเชื่อให้ได้รับการยกย่องกับชุมชนเพื่อพัฒนาโรงเรียน เพื่อขยายบริการให้สอดคล้องกับ
นโยบายการกระจายอำนาจการรับบริการให้สนองความต้องการกับชุมชน
4. วัฒนธรรมโรงเรียนส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒธรรมโรงเรียนกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของ
ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาอยู่ในระดับสูง คือ ความหลากหลายของบุคลากร บุคลากรในโรงเรียน
เล็ก มีวิสัยทัศน์การดำเนินงานในวงจำกัดหลายๆ อย่าง เช่น บุคคล งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์
สถานที่และเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ จึงทำให้การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กคนน้อยมีงานมาก
และเวลาจำกัด จึงต้องมีความเอื้ออาทรและซื่อสัตย์ต่อกันเพื่อให้ได้คุณภาพของงานดีที่สุด ดังนั้น
บุคลากรกลุ่มนี้จึงมีความรักและความผูกพันกัน มีความสามัคคีของหมู่คณะ และทุกคนมีความรู้สึก
ว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนเขาจึงทำงานด้วยความพยายามอดทนเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือกันและมี
ความเสียสละสูงทุกคน มิฉะนั้นแล้วจะไม่ได้คุณภาพงานตามความต้องการของกลุ่มและโรงเรียน
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนในภาพรวมกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กในแต่ละด้านอยู่ในระดับสูง คือ ด้านการปกครองนักเรียน โรงเรียน
ขนาดเล็กมีการปกครองนักเรียนอย่างใกล้ชิดให้ความอบอุ่นแบบพ่อปกครองลูก มีความเอื้ออาทร
เป็นห่วงกันมากกว่าการเข้มงวดด้วยกฎ ระเบียบ อย่างเป็นทางการ แต่การบริหารแบบนี้จะก่อเกิด
ความร่วมมือร่วมใจกับทุกฝ่ายและแสดงถึงความมีคุณธรรมของทุกคนอันส่งผลต่อความมี
จรรยาบรรณในวิชาชีพและสร้างผู้เรียนให้เป็นคนดีและมีความสุข
5. วัฒนธรรมโรงเรียนส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด
กรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงคือ ด้านเป้าหมายของโรงเรียน
156
ด้านการมอบอำนาจ ด้านการตัดสินใจ ด้านความเอื้ออาทร ด้านความซื่อสัตย์สุจริตและด้านความ
หลากหลายของบุคลากร ถึงแม้โรงเรียนมัธยมศึกษาจะมี 3 ขนาดแต่ทุกขนาดมีวัฒนธรรมโรงเรียน
เป็นตัวชี้บ่งสอดคล้องกัน จึงมีความสำคัญสอดคล้องกับการบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อเสนอแนะของการวิจัย
จากข้อค้นพบของการวิจัย วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเพื่อการนำ
ไปใช้ดังนี้
ข้อเสนอแนะเพื่อการนำไปใช้
1. จากข้อค้นพบของการวิจัยในครั้งนี้พบว่า วัฒนธรรมโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ทุกขนาดโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก 8 ด้านเรียง
ตามลำดับมากไปหาน้อย คือ ด้านการยอมรับนับถือ การมอบอำนาจ ความมีคุณภาพ เป้าหมาย
ของโรงเรียน ความซื่อสัตย์สุจริต ความเอื้ออาทร ความหลากหลายของบุคลากร ความรู้สึกเป็น
ส่วนหนึ่งของโรงเรียนและอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน คือ ด้านความไว้วางใจและการตัดสินใจ
วัฒนธรรมโรงเรียนด้านการยอมรับนับถือในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กมีการปฏิบัติมากกว่าใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ ด้านการมอบอำนาจในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ขนาดเล็กมีการปฏิบัติมากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ ซึ่งแสดงว่า
โรงเรียนขนาดเล็กบุคลากรทำงานด้วยความรู้สึกว่าผลงานของโรงเรียนมีส่วนมาจากการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรทุกคนในโรงเรียน จึงมีความรู้สึกว่าการทำงานร่วมกันต้องยอมรับซึ่งกันและกัน อีกทั้ง
ผู้บริหารต้องมอบอำนาจในการดำเนินงานเพื่อให้การปฏิบัติงานมีการวางแผน กำหนดเวลาได้อย่าง
ชัดเจน งานจะมีคุณภาพ ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการ
ศึกษาไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใดก็ควรคำนึงถึงว่าวัฒนธรรมโรงเรียนอันเป็นสิ่งที่มี
คุณค่าเป็นพลังส่งเสริมให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จในการปฏิบัติงานด้านต่างๆและการที่จะนำ
วัฒนธรรมโรงเรียนมาใช้ผู้บริหารโรงเรียนควรพิจารณาและมีความเข้าใจอย่างละเอียด 3 ประเด็น
ได้แก่ 1) ความหมายของวัฒนธรรมโรงเรียนมีความหมายว่าอย่างไร 2) การตรวจสอบความ
สอดคล้องของวัฒนธรรมโรงเรียนให้เข้ากับสภาพการปฏิบัติงาน 3) วัฒนธรรมโรงเรียนด้านใดที่
ควรส่งเสริมให้มากในการปฏิบัติงานแต่ละอย่างในโรงเรียน
157
2. จากข้อค้นพบของการวิจัยครั้งนี้พบว่า บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่ามีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากและบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาใน
โรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีขนาดต่างกัน มีความแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าการบริหาร
งานธุรการในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กมีการปฏิบัติมากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง
และขนาดใหญ่ และด้านการบริหารงานปกครองนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กมากกว่า
ขนาดกลางและใหญ่ ซึ่งอาจแสดงให้เห็นว่าการบริหารงานในโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดให้
ความสำคัญในการบริหารงานสู่การปฏิบัติงานยังไม่เท่ากันทุกด้าน ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียนและ
ผู้เกี่ยวข้องควรพิจารณาให้การสนับสนุนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กให้มีความพร้อมซึ่งควร
ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนในด้านงบประมาณ บุคลากร ครุภัณฑ์ที่อำนวยความสะดวกเพื่อ
สนับสนุนส่งเสริมการเรียนการสอนให้มีคุณภาพทัดเทียมกันเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครองและชุมชน
และเชื่อถือได้ว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดมีคุณภาพทัดเทียมกัน และโรงเรียนมัธยมศึกษา
ทุกขนาดควรจะสำรวจทำโรงเรียนให้เป็นปัจจุบันโดยควรทราบถึงสภาพปัจจุบันและปัญหาแล้วนำ
ไปวางแผนดำเนินงานให้มีผลต่อการบริหารงานที่มีคุณภาพต่อไป
3. จากข้อค้นพบของการวิจัยครั้งนี้พบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนตามความเห็นของผู้บริหาร
โรงเรียนเห็นว่าได้ปฏิบัติอยู่ในระดับสูงกว่าครูปฏิบัติการสอน อันเนื่องมาจากผู้บริหารมีความรู้
ความเข้าใจในการบริหารจัดการมากกว่าครู จึงเห็นได้ว่าการอบรมในเรื่องการบริหารจัดการเพื่อ
พัฒนาประสิทธิภาพขององค์การก็มีความสำคัญมากในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ผู้บริหารจึงควร
จะส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้ด้านการบริหารและการจัดการศึกษาด้วยก็จะดีเพื่อจะได้นำ
หลักการและความรู้มาวางแผน จัดกระบวนการพัฒนาการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะเป็น
คนดี มีปัญญาและมีความสุขตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
วัฒนธรรมโรงเรียนที่ผู้บริหารโรงเรียนควรพิจารณาประกอบการบริหารงานในโรงเรียน
มัธยมศึกษาให้มีคุณภาพ ได้แก่ ความหลากหลายของบุคลากร เป้าหมายของโรงเรียน ความซื่อสัตย์
สุจริต การยอมรับนับถือ การเอื้ออาทรและการมอบอำนาจ
4. วัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้าหมายของโรงเรียนซึ่งมีความสัมพันธ์กับบทบาทที่ปฏิบัติ
จริงของผู้บริหารโรงเรียนในการบริหารงานทุกด้าน ผู้บริหารโรงเรียนจึงควรพิจารณาให้ความ
สำคัญในการกำหนดเป้าหมายและพันธกิจของโรงเรียนให้ชัดเจนและต้องคำนึงถึงความหลากหลาย
ของบุคลากรในองค์การด้วย เพื่อดำเนินงานเป็นไปตามข้อกำหนดและทิศทางที่มุ่งสู่คุณภาพและ
มาตรฐานในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
158
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการบริหารงาน
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาด
2. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับประสิทธิภาพ
การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตการศึกษาต่าง ๆ
3. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการบริหารการศึกษาที่
มีประสิทธิภาพ
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กริช สืบสนธิ์. วัฒนธรรมและพฤติกรรมการสื่อสารในองค์การ. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
การมัธยมศึกษา, กอง. รายงานผลการประเมินมาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2541.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2542.
โกวิท วรพิพัฒน์. “ประกาศกรมสามัญศึกษา เรื่องทิศทางในการจัดการศึกษาของกรมสามัญ
ศึกษา.” บันทึก 2533 กรมสามัญศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จงเจริญการพิมพ์, 2533.
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2542.
งามพิศ สัตย์สงวน. หลักมานุษยวิทยา. กรุงเทพมหานคร : เจ้าพระยาการพิมพ์, 2532.
จงดี เดชาสกุลสม. “สู่วัฒนธรรมองค์การ.” วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจ. ปีที่ 112, ฉบับที่ 48
(มีนาคม 2533) : 13.
จินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์. “การประเมินผลการพัฒนาองค์การ.” เอกสารการสอนชุดวิชา
การพัฒนาองค์การ หน่วยที่ 12 สาขาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532.
จุมพล สวัสดิยากร. หลักการบริหารและมนุษยสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร : สุวรรณภูมิ, 2520.
จุมพล หนิมพานิช. “สังคมและวัฒนธรรม.” เอกสารการสอนชุดวิชา มนุษย์กับสังคมหน่วย
ที่ 3 สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช, 2530.
เฉลิม บึงไสย. ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการบริหารงานบุคคล
ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม,
2531.
ชนิดา รักษ์พลเมือง. สังคมวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533.
ชวนชม ชินะตังกูร. “รูปแบบและกระบวนการตัดสินใจ.” บทความทางวิชาการสำหรับ
ผู้บริหารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพมหานคร : สมาคมคาธอลิก
แห่งประเทศไทย, 2524.
161
ชูศรี วงศ์รัตนะ. สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2534.
ณรงค์ โพธิ์มี. สภาพการปฏิบัติและความต้องการในการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามความ
คิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
เขตการศึกษา 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร, 2535.
ณรงศักดิ์ ถนอมศรี. ปัจจัยทางวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานด้านโรงเรียนกับ
ชุมชนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2538.
เดชา พวงงาม. การศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531.
ถวิล เกื้อกูลวงศ์. การบริหารการศึกษาสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช จำกัด, 2530.
ถวิล ธาราโภชน์. จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2532.
เทพพนม เมืองแมน และสวิง สุวรรณ. พฤติกรรมองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร :
ไทยวัฒนาพานิช, 2540.
เทียนฉาย กีรนันท์. วิถีใหม่ในการจัดการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2532.
ธงชัย สันติวงษ์. การบริหารเชิงกลยุทธ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช,
2533.
. หลักการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2543.
. องค์การและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2539.
ธงชัย สันติวงษ์ และ ชัยยศ สันติวงษ์. พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2533.
นงลักษณ์ เรือนทอง. วัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานในสำนักงาน
ศึกษาธิการอำเภอ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2535.
นพชัย รู้ธรรม. การบริหารการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตการศึกษา 1 .
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. “การสื่อสารและการประสานงานในองค์การ.” การพัฒนาการบริหารโรง
เรียนมัธยมศึกษา ทฤษฏีการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : กรมสามัญศึกษา, 2526.
. ก้าวเข้าสู่ผู้บริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อนงค์ศิลป์การพิมพ์, 2527.
162
นายกรฐั มนตรี, สำนัก. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ แผนการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2535. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2535.
นิพนธ์ กินาวงศ์. การบริหารโรงเรียนและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. พิษณุโลก :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก, 2523.
นิพนธ์ ไทยพานิช. การนิเทศแบบคลินิค. กรุงเทพมหานคร : อนงค์ศิลป์การพิมพ์, 2527.
นิพนธ์ รอดภัย. โครงการสร้างและกระบวนการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
ในจังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524.
นิวัฒ สุขรัตน์. การศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหารที่สัมพันธ์กับสัมฤทธิ์ผล
การปฏิบัติงานของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา
จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531.
เนาวรัตน์ วิไลชนม์. พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ
ประสานมิตร, 2533.
บุญเรียง ขจรศิลป์. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป. กรุงเทพมหานคร :
พิชาญการพิมพ์, 2534.
. สถิติวิจัย. กรุงเทพมหานคร : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์การพิมพ์, 2535.
บุญมา กัมปนาทพงษ์. การศึกษาคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2532.
ประกอบ คุณารักษ์ และคณะ. “ตัวการทางวัฒนธรรมที่นำไปสู่พฤติกรรมการตัดสินใจของ
หัวหน้าสถาบันการประถมศึกษาไทย.” รายงานผลการวิจัยเสนอต่อสถาบันพัฒนา
ผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการ, ม.ป.ท., 2530.
ประคอง กรรณสูต. สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์เจริญผล, 2531.
ประสาท หลักศิลา. สังคมวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาสังคมวิทยา
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2528.
ประเสริฐ บุญฤทธิ์. การบริหารงานตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน
สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ พิษณุโลก, 2533.
ปรีชา ศรีวาลัย. กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาบุคลากร. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2536.
. การมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พิฆเณศ, 2524.
. การบริหารบคุ ลากรในโรงเรียน. พิมพค์ รัง้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : เนติกุลการพิมพ์, 2530.
163
พนัส หันนาคินทร์. หลักการบริหารโรงเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช,
2530.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7.
กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
พะยอม วงศ์สารศรี. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏสวนดุสิต,
2538.
พิมล รอดเรืองศรี. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2535.
พยุงศักดิ์ สนเทศ. “มัธยมศึกษา : การศึกษาเพื่อมวลชน.” สารพัฒนาหลักสูตร. อันดับที่ 72
(มีนาคม 2531) : 34 - 38.
เพ็ญศักดิ์ เรือนใจมั่น. งานบริหารการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตการศึกษา 3.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.
ไพฑูรย์ เครือแก้ว. ลักษณะสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : บพิธ จำกัด, 2518.
ไพฑูรย์ เจริญพันธุ์วงศ์. พฤติกรรมองค์การและการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์,
2530.
ไพบูลย์ ช่างเรียน. วัฒนธรรมกับการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์, 2532.
ไพศาล ไกรสิทธิ์. พฤติกรรมการทำงานของคนไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2524.
ภิญโญ สาธร. หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา, 2526.
มัลลิกา ต้นสอน. พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด, 2544.
มาลินี ชวาลไพบูลย์. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ศิลปากร, 2533.
มารศรี สุธานิธิ. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับวิสัยทัศน์ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพ-
มหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,
2540.
ยุทธ ศกั ดเ์ิ ดชยนต์. สังคมศาสตร ์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมมนุษย. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2522.
164
รตั นา ศริ ชิ ยานนั ท. วฒั นธรรมโรงเรยี นทสี่ ง่ ผลตอ่ การปฏบิ ตั งิ านนเิ ทศภายในโรงเรยี นประถม
ศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.
รุ่งเรือง รัศมีโกแมน. การใช้เวลาในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2541.
เรืองชัย เจริญชัย. “แนวโน้มของการมัธยมศึกษาของประเทศไทย.” โครงการโรงเรียนมัธยม
เพื่อชนบท (บพช.) สำนักงานโครงการพิเศษ (สคส.) กรมสามัญศึกษา, 2524.
วิชัย โถสุวรรณจินดา. ความลับขององค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
ธรรมนิติจำกัด, 2535.
วิชาการ, กรม. ศิลปการบริหารคน. กรุงเทพมหานคร : กรมวิชาการ, 2534.
วิโรจน์ สารรัตนะ. การบริหารหลักการทฤษฏีและประเด็นทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
อักษรพิพัฒน์, 2542.
. การวางแผนในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อักษรบัณฑิต, 2532.
สมใจ ลักษณะ. พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์การพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา,
2542.
สมชาย นภารัตน์. “การทำงานเป็นกลุ่ม.” เทศาภิบาล. ปีที่ 17, เล่มที่ 10 (ตุลาคม 2521) : 77.
สมบูรณ์ ธุวสินธุ์. การบริหารงานตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษาของผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 12. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2539.
สมพงษ์ เกษมสิน. การบริหารบุคคลแผนใหม่. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2526.
สมยศ นาวีการ. การบริหาร. กรุงเทพฯ : ดวงกมล, 2522.
. การบริหารเพื่อความเป็นเลิศ. กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ, 2533.
. พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ, 2524.
สามัญศึกษา, กรม. เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2532. กรุงเทพมหานคร :
รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2531.
. กระทรวงศึกษาธิการ. เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2539.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2539.
. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และการวิเคราะห์สาระสำคัญ.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2542
165
สามัญศึกษา, กรม. นโยบายกรมสามัญศึกษา ปีงบประมาณ 2545. กรุงเทพมหานคร :
บริษัทประชาชน จำกัด, 2544.
สุพัตรา สุภาพ. สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2534.
สุพิศวง ธรรมพันนา. สังคมวิทยาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2533.
สุรศักดิ์ หลาบมาลา. “วัฒนธรรมประจำโรงเรียน.” สารพัฒนาหลักสูตร. อันดับที่ 79
(ตุลาคม 2531) : 40.
สุวิทย์ บุญช่วย. “ผู้นำกับการสร้างวัฒนธรรมองค์การ.” วารสารศึกษาศาสตร์. ปีที่ 8, ฉบับที่ 19
(มิถุนายน 2535) : 39, 69.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. พฤติกรรมผู้นำทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พิฆเนศ, 2525.
อดิเรก รัตนธัญญา. งานบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตการศึกษา 3.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.
อมรา พงศาพิชญ์. “สังคมและวัฒนธรรม.” เอกสารการสอนชุดวิชาสังคมศึกษา 4 หน่วยที่ 2
สาขาวิชาศึกษาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. กรงุ เทพมหานคร : สารมวลชน,
2526.
อรุณ รักธรรม. การพัฒนาองค์การ : การสร้างและการพัฒนาการทำงานเป็นทีม. กรุงเทพมหานคร :
โอเดียนสโตร์, 2527.
. หลักการมนุษยสัมพันธ์กับการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร :
ไทยวัฒนาพานิช, 2527.
อัจฉรา สุวรรณ. วัฒนธรรมโรงเรียนกับการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ศิลปากร, 2536.
อ้อยทิพย์ สุทธิเทพ. วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานวิชาการของโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.
166
ภาษาอังกฤษ
Adair, Aubur Louis. “Iowa Public Secondary School Principals’ Perceptions of Importance
and Expertise Required to Manage Identified Tasks,” Dissertation Abstract’s
International. 42 (11) : 4656 – A ; May, 1982.
Bierstedt, Robert. The Social Order. New York : McGraw-Hill Koga Kusha. Ltd., 1970.
Campbell, Ronald F. and others. Introduction to Educational Administration. Boston : Allyn
and Bacon, 1974.
Coon, C.S. The Story of Man. New York : Knopf, 1954.
Cronbach, Lee J. Essentials of Psychological Testing. 3rd ed. New York : Harper &
Row Publisher, 1974.
Downer, Donovan Francis. “A Comparison of the Attitude Structures of Five Sub-Public
In Newfoundland Concerning the Factors and Definitions of Effective School,”
Dissertation Abstracts International. 52, (September 1989) : 3136 – A.
Egloff, John Francis. “Suggested Personnel Functions and Service of and intermediate
School District as Perceived by Constitution k-12 District Administrators,”
Dissertation Abstracts International. 43 (2) : August, 1982.
Glickman, Carl D. Supervision of Instruction : A Development Approach. 3rd ed.
Massachusetts : allyn and Bacon Inc., 1985.
Good, Carter V. Dictionary of Education. 3rd ed. New York : Mc Graw-Hill Book Co., 1973.
Griffiths, Daniel E. “Administration as Decision Making,” Quoted in Halpin, Andrew W.
Administrative Theory in Education. New York : Macmillan, 1967.
Halpin, Andrew. W. Theory and Research in Administration. New York : The
Macmillan Company, 1966.
Horton, Paul B., and Hunt, Chester L. Sociology. New York : McGraw-Hill Book
Company, 1980.
Johnson, Kay Eileen. “A Case Study of the Role of a School-Based Management Team
In Changing a School Culture.” Dissertation Abstracts International. 51,
(June 1990) : 1494 - A.
167
Killiam, Ray A. Managing by Decision for Maximum Executive Effectiveness. North
Carolina : Vall-Balou Press, 1968.
Likert, Rensis. New Patterns of Management. New York : McGraw-Hill, 1962.
Lipham, James M., and Hoeh, James A. The Principal ship Foundations and Functions.
New York : Harper & Row, 1974.
McCleary, Lloyd E. and Stephen P. Hencley. Secondary School Administration.
New York : Dodd Mead and Co., 1970.
Maslow, Abraham H. Motivation and Personality. New York : Harper and Row, 1970.
Owens, robert G. “The Leadership of Education Clans,” Leadership : Examining the
Elusive ASCD Yearbook (1987) p. 17.
Parkinson Ann, “An Examination of the Reliability and the Factor Structure of the school
Work Culture Profile (Work Culture),” Dissertation Abtracts International. 51,
(July 1990) : 2343-A.
Patterson, Jerry; Purkey, Stuart; and Parker, Jackson. “Guiding Beliefs of Our School
District,” In Productive School System for a Nonrational World. Arlington, Va :
Association for Supervision and Curriculum Developement, 1986, pp. 50-51 Quoted in
Sergiovanni, Thomas J., and Starratt, Robert J. Supervision : A Redefinition. 6th ed.
New York : McGraw-Hill, Inc., 1998.
Saville-Troike, Murie. The Ethnography of Communication : An Introduction. Baltimore :
University Park Press, 1982.
Sergiovanni, Thomas J. The Principalship A Reflective Practice Perspective. 2nded.
Texas : Allyn Bacon, 1991.
Sergiovanni, Thomas J., and Starratt Robert J. Supervision A Redefinition. 6th ed. Baston :
McGraw - Hill, 1998.
Simon, Herbert A. Administrative Behavior. 2nd ed. New York. Macmillan, 1950.
Steers, Richard M. Antecednets and Outcomes of Organizational Commitment.
Oregon : University of Oregon, Office of Naval Research Technical Report, 1976.
Tarter, C., and Hoy, Wayne. “The Context of Trust : Teachers and the Principals,” The High
School Journal. Vol. 72, No.1 (October 1988) : 17 – 24.
168
Vinake, W.E. Motivation as a Complex Preblem. Nebraska : University of Nebraska
Press, 1962.
Zeleny, Milan. Multiple Criteria Decision Making. New York : McGraw-Hill, 1982.
ภาคผนวก ก
รายนามผู้เชี่ยวชาญ
นายวิชัย เวียงสงค์ ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 กรมสามัญศึกษา
นายชำนาญ สอนซื่อ ผู้อำนวยการสามัญศึกษาจังหวัดนครปฐม
นายสุทธิศักดิ์ เฟื่องเกษม ผู้อำนวยการโรงเรียน ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย
ในพระบรมราชูปถัมภ์
ดร.บัณฑิต แท่นพิทักษ์ ศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา
นายทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ รองผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ฝ่ายมัธยม ฝ่ายวิชาการ
170
ภาคผนวก ข
ที่ ศธ 1546.02/พิเศษ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
9 ธันวาคม 2543
เรื่อง ขอเชิญเป็นประธานกรรมการพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์และควบคุมวิทยานิพนธ์
เรียน รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.บุญลือ ทองอยู่)
ด้วยบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีความประสงค์ขอเรียนเชิญ
ท่านเป็นประธานกรรมการพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์และประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
ให้กับนักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษารุ่นที่ 1 จำนวน 3 ท่าน คือ
1. นางยุวดี ภูริโภไคย
2. นางมาลี ควรคนึง
3. ว่าที่ ร้อยตรี สมบัติ เสียงเสนาะ
โดยบัณฑิตวิทยาลัย พิจารณาแล้วเห็นว่าท่านเป็นผู้มีความรู้และทรงคุณวุฒิ ตามระเบียบ
ข้อบังคับว่าด้วยคุณสมบัติของผู้พิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ พร้อมหนังสือนี้
บัณฑิตวิทยาลัยได้แนบแบบตอบรับมาด้วยแล้ว
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์นันทา วิทวุฒิศักดิ์)
รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทร. 890-0841-50 ต่อ 809
โทรสาร 890-1786
173
ที่ ศธ 1546.02/พิเศษ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
9 ธันวาคม 2543
เรื่อง ขอเชิญเป็นกรรมการพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์และควบคุมวิทยานิพนธ์
เรียน ดร.เปรมสุรีย์ เชื่อมทอง
ด้วยบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีความประสงค์ขอเรียนเชิญ
ท่านเป็นกรรมการพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ให้กับนักศึกษา
ปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษารุ่นที่ 1 จำนวน 2 ท่าน คือ
1. นางยุวดี ภูริโภไคย
2. นางมาลี ควรคนึง
โดยบัณฑิตวิทยาลัย พิจารณาแล้วเห็นว่าท่านเป็นผู้มีความรู้และทรงคุณวุฒิ ตามระเบียบ
ข้อบังคับว่าด้วยคุณสมบัติของผู้พิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ พร้อมหนังสือนี้
บัณฑิตวิทยาลัยได้แนบแบบตอบรับมาด้วยแล้ว
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์นันทา วิทวุฒิศักดิ์)
รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทร. 890-0841-50 ต่อ 809
โทรสาร 890-1786
174
ที่ ศธ 1546.02/พิเศษ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
9 ธันวาคม 2543
เรื่อง ขอเชิญเป็นกรรมการพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์และควบคุมวิทยานิพนธ์
เรียน ดร.อรรณพ จีนะวัฒน์
ด้วยบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีความประสงค์ขอเรียนเชิญ
ท่านเป็นกรรมการพิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ให้กับนักศึกษา
ปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษารุ่นที่ 1 จำนวน 3 ท่าน คือ
1. นางยุวดี ภูริโภไคย
2. นางมาลี ควรคนึง
3. ว่าที่ ร้อยตรี สมบัติ เสียงเสนาะ
โดยบัณฑิตวิทยาลัย พิจารณาแล้วเห็นว่าท่านเป็นผู้มีความรู้และทรงคุณวุฒิ ตามระเบียบ
ข้อบังคับว่าด้วยคุณสมบัติของผู้พิจารณาเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ พร้อมหนังสือนี้
บัณฑิตวิทยาลัยได้แนบแบบตอบรับมาด้วยแล้ว
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์นันทา วิทวุฒิศักดิ์)
รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทร. 890-0841-50 ต่อ 809
โทรสาร 890-1786
175
ที่ พิเศษ/2544 สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
5 มกราคม 2545
เรื่อง เรียนเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเครื่องมือในการทำวิทยานิพนธ์
เรียน
สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. เค้าโครงวิทยานิพนธ์ จำนวน 1 ชุด
2. แบบสอบถาม จำนวน 1 ชุด
3. แบบประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา จำนวน 1 ชุด
เนื่องด้วย นางมาลี ควรคนึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศึกษา รุ่นที่ 1 สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กำลังทำวิทยานิพนธ์ เรื่อง “วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อ
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม” โดยมีคณะกรรมการ
ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ดังนี้
1. ดร.บุญลือ ทองอยู่ ประธาน
2. ดร.เปรมสุรีย์ เชื่อมทอง กรรมการ
3. ดร.อรรณพ จีนะวัฒน์ กรรมการ
ในการทำวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ นักศึกษาจำเป็นต้องตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของ
เครื่องมือ เพื่อให้ได้เครื่องมือที่สมบูรณ์ที่สุด ทางบัณฑิตวิทยาลัยได้พิจารณาเห็นว่าท่านเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ความ
สามารถทางด้านการทำวิจัยเป็นอย่างดี จึงขอเรียนเชิญท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของ
เครื่องมือดังกล่าว
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์แก่นักศึกษาด้วยจักเป็นพระคุณยิ่ง
ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์นันทา วิทวุฒิศักดิ์)
รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทร. 890-0841-50 ต่อ 809
โทรสาร 890-1786
176
ที่ พิเศษ/2545 สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
12 มกราคม 2545
เรื่อง ขอความร่วมมือในการวิจัย
เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียน……………………………………..
สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถาม จำนวน 16 ชุด
เนื่องด้วย นางมาลี ควรคนึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
การบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ต้องการทดลองเครื่องมือเพื่อประกอบการวิจัย
เรื่อง “วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา จังหวัดนครปฐม” โดยมีคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ดังนี้
1. ดร.บุญลือ ทองอยู่ ประธาน
2. ดร.เปรมสุรีย์ เชื่อมทอง กรรมการ
3. ดร.อรรณพ จีนะวัฒน์ กรรมการ
จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์จากท่านได้โปรดพิจารณาให้ นางมาลี ควรคนึง ได้เก็บทดลอง
เครื่องมือเพื่อประกอบการวิจัยดังกล่าว โดยจะมาขอรับคืนในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2545 และขอขอบ
พระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์นันทา วิทวุฒิศักดิ์)
รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทร. 890-0841-50 ต่อ 809
โทรสาร 890-1786
177
ที่ พิเศษ/2544 สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1061 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
12 มกราคม 2545
เรื่อง ขอความร่วมมือในการวิจัย
เรียน ผู้อำนวยการสามัญศึกษาจังหวัดนครปฐม
สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถาม จำนวน 355 ชุด
เนื่องด้วย นางมาลี ควรคนึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
บริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ต้องเก็บข้อมูลเพื่อประกอบการวิจัย เรื่อง “วัฒนธรรม
โรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัด
นครปฐม” โดยมีคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ดังนี้
1. ดร.บุญลือ ทองอยู่ ประธาน
2. ดร.เปรมสุรีย์ เชื่อมทอง กรรมการ
3. ดร.อรรณพ จีนะวัฒน์ กรรมการ
จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์จากท่านได้โปรดพิจารณาให้ นางมาลี ควรคนึง ได้เก็บรวบรวม
ข้อมูลดังกล่าว เพื่อประโยชน์ทางวิชาการและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ด้วย
ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์นันทา วิทวุฒิศักดิ์)
รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทร. 890-0841-50 ต่อ 809
โทรสาร 890-1786
178
ที่ ศธ 0831/180 สำนักงานสามัญศึกษาจังหวัดนครปฐม
โรงเรียนวัดห้วยจรเข้วิทยาคม
อ.เมืองฯ จ. นครปฐม 73000
15 มกราคม 2545
เรื่อง ขอความอนุเคราะห์เพื่อทำการเก็บข้อมูลในการทำวิจัย
เรียน ผู้อำนวยการ อาจารย์ใหญ่โรงเรียน สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดนครปฐม
สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถาม จำนวน 1 ชุด
ด้วย นางมาลี ควรคนึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ต้องการเก็บข้อมูลเพื่อประกอบการวิจัย
เรื่อง “วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม
สามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม”
สำนักงานสามัญศึกษาจังหวัดนครปฐม จึงขอความกรุณาโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม ให้ความอนุเคราะห์แก่ผู้วิจัยด้วย จักขอบคุณยิ่ง
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนับถือ
(นายชำนาญ สอนซื่อ)
ผู้อำนวยการสามัญศึกษาจังหวัดนครปฐม
กลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยฯ
โทร. 0-3421-2887-8
โทรสาร 0-3427-1265
179
ภาคผนวก ค
181
ฉบับที่ 1
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง
วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม
คำอธิบาย
1. แบบสอบถามฉบับนี้สำหรับผู้บริหารโรงเรียนเป็นผู้ตอบ
2. แบบสอบถามฉบับนี้มี 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปและสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียน จำนวน 50 ข้อ
ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษา จำนวน 52 ข้อ
3. แบบสอบถามฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องวัฒนธรรมโรงเรียน ที่ส่งผลต่อ
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม
ฉะนั้นการตอบแบบสอบถามจะไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของท่าน แต่จะเป็นแนวทางในการ
บริหารโรงเรียนมากยิ่งขึ้น จึงใคร่ขอความกรุณาจากท่านได้โปรดตอบแบบสอบถามตามสภาพที่
เป็นจริงทุกข้อ
ขอขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ที่ท่านกรุณาให้ความอนุเคราะห์ในการตอบแบบ
สอบถามครบสมบูรณ์ทุกข้อ
นางมาลี ควรคนึง
นักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
182
ตอนที่ 1
ข้อมูลทั่วไปและสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย / ลงใน หน้าข้อความตามความเป็นจริงของท่าน
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ช่องนี้ สำหรับผู้วิจัย
1 เพศ
ชาย หญิง
2. อายุ………………..ปี
3. ระดับการศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
4. ประสบการณ์การทำงาน…………………..ปี
5. การอบรมหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง
เคย ไม่เคย
6. ขนาดของโรงเรียนที่ท่านปฏิบัติงาน
ขนาดเล็ก (มีนักเรียนตั้งแต่ 1 – 499 คน)
ขนาดกลาง (มีนักเรียนตั้งแต่ 500 – 1,499 คน)
ขนาดใหญ่ (มีนักเรียนตั้งแต่ 1,500 คนขึ้นไป)
1 2 3
4
5
6
7
8
9
183
ตอนที่ 2
ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียน
วัฒนธรรมโรงเรียน หมายถึง แบบแผน การประพฤติปฏิบัติ ค่านิยม ความเชื่อที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยสิ่งดังต่อไปนี้ คือ 1. เป้าหมายของ
โรงเรียน 2. การมอบอำนาจ 3. การตัดสินใจ 4. ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน 5. ความไว้
วางใจ 6. ความมีคุณภาพ 7. การยอมรับนับถือ 8. ความเอื้ออาทร 9. ความซื่อสัตย์สุจริต 10. ความ
หลากหลายของบุคลากร
คำชี้แจง
1. โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องระดับการปฏิบัติอันเป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับ
วัฒนธรรมโรงเรียนตามความเห็นของท่านว่าในแต่ละข้อความมีการปฏิบัติในสิ่งนั้นปรากฎมากน้อย
เพียงใดในโรงเรียนของท่าน
2. ระดับการปฏิบัติของโรงเรียน จัดเป็น 5 ระดับ ดังนี้ คือ
5 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นมากที่สุด
4 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นมาก
3 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นปานกลาง
2 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นน้อย
1 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นน้อยที่สุด
184
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เป้าหมายของโรงเรียน
มีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ครูนักเรียน
และผู้ปกครองทราบถึงเป้าหมายของ
โรงเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
และประเมินผลร่วมกัน ……………………
โรงเรียนทำให้ครูตระหนักและเห็นคุณค่า
ความสำคัญในเป้าหมายของโรงเรียน.......…
ในการตัดสินใจเรื่องใดๆ ในโรงเรียนมุ่งเน้น
ให้เป็นไปตามเป้าหมายของโรงเรียน............
โรงเรียนกำหนดกลยุทธที่มุ่งผลลัพธ์ตอบ
สนองความต้องการของนักเรียน .................
มีการศึกษาข้อมูลก่อนการกำหนดเป้าหมาย
ของโรงเรียนสู่การจัดทำแผนกลยุทธ์.….......
การมอบอำนาจ
โรงเรียนมอบอำนาจในการตัดสินใจในการ
ปฏิบัติงานแก่ครูที่รับผิดชอบงานแต่ละงาน
โรงเรียนเปิดโอกาสให้ครูทุกคนในโรงเรียน
มีสิทธิเท่าเทียมกันในการรับรู้ข่าวสารข้อมูล
ของโรงเรียน…………………………….…
มีการมอบหมายงานให้ครูรับผิดชอบเพิ่มขึ้น
เป็นการมอบอำนาจในการตัดสินใจภายใน
ขอบเขตของค่านิยมของโรงเรียน………….
มีการกระจายอำนาจในโรงเรียนทำให้ครูมี
การร่วมมือมากขึ้น........................................
โรงเรียนมอบหมายงานตามความรู้ความ
สามารถของบุคลากร……………………
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
......
…..
…….
…….
…….
.........
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
…..
…..
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
185
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
การตัดสินใจ
ผู้บริหารสนับสนุนให้ครูมีความคิดริเริ่ม
และมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น…
การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ในโรงเรียนโดย
คำนึงถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติมาก
ที่สุด………………………………………...
ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่รู้
สถานการณ์และปัญหาเป็นอย่างดีโดยไม่
จำเป็นต้องเป็นหัวหน้าเท่านั้น…………..….
ผู้บริหารตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ
เป็นตัวชี้วัด…………………………….…
ให้โอกาสบุคลากรในโรงเรียน ได้มีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจ…………………….………
ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน
ครูทุกคนเห็นความสำคัญของคำว่า“เรา”
และมีความรู้สึกว่า โรงเรียนเป็นของเรา
ทุกคน………………………………………
ครูทุกคนมีส่วนร่วม และเป็นเจ้าของ
รับผิดชอบงานของโรงเรียน……………….
ครูทุกคนมีความผูกพันที่จะช่วยเหลือและ
พัฒนาซึ่งกันและกัน………………...…..….
ครูร่วมมือพัฒนาโรงเรียนร่วมกัน………..…
ครูมีความเสียสละอุทิศเวลาให้กับงาน……..
ความไว้วางใจ
โรงเรียนให้ครูทุกคนมีโอกาสเลือกทำงาน
ตามความต้องการ และครูจะทำงานให้ได้ดี
ที่สุดเพื่อโรงเรียน………………………..…
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
186
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
โรงเรียนไว้วางใจว่าครูจะสามารถตัดสินใจ
ได้อย่างดี…………………………………...
มีบรรยากาศความไว้วางใจสูงในโรงเรียน….
บุคลากรมีการยอมรับบุคคลซึ่งกันและกัน
ตามบทบาทภาระหน้าที่………….………...
บุคลากรมีความเชื่อมั่นและอบอุ่น ยอมรับใน
คุณค่าของกันและกัน…………….………...
ความมีคุณภาพ
โรงเรียนมีความคาดหวังให้ครูปฏิบัติงาน
อย่างมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน………..
โรงเรียนให้ความสำคัญกับวิสัยทัศน์ของ
โรงเรียน…………..……
โรงเรียนเชื่อมั่นว่าครูสามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ………………….…….
โรงเรียนใช้เทคนิคและสร้างแรงจูงใจ
กระตุ้นบุคลากรให้ทำงานอย่างมีคุณภาพสูง..
บุคลากรทุกคนมีการพัฒนาวิสัยทัศน์ของ
ตนเองเสมอ………………………………...
การยอมรับนับถือ
โรงเรียนเปิดโอกาสและให้การยอมรับความ
คิดเห็นที่ดีของครูและนักเรียน…………...…
โรงเรียนให้การยอมรับในความสำเร็จและ
ผลงานของครูและนักเรียน………………...
โรงเรียนส่งเสริมให้บุคลากรทำงานเต็มตาม
ศักยภาพ……………………………………
ผู้บริหารให้การยกย่องส่งเสริมผู้ใต้บังคับ
บัญชาอย่างต่อเนื่อง…………….………….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
….…
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
….
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
187
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
บุคลากรยกย่องให้เกียรติซึ่งกันและกัน……..
ความเอื้ออาทร
โรงเรียนมีระบบเอาใจใส่ดูแลและเอื้ออาทร
ในความเป็นอยู่ของทุกคนในโรงเรียน..…...
โรงเรียนเอาใจใส่คณะครูในการปฏิบัติงาน
สนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่……..
โรงเรียนให้ความเอาใจใส่บุคลากรใน
หน่วยงานย่อยอย่างเสมอภาค………………
ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรพัฒนาวิธีการ
ปฏิบัติงาน……..……………………………
ผู้บริหารมีความสามารถในการสร้างความ
ภูมิใจของบุคลากรสูง……………………….
ความซื่อสัตย์สุจริต
บุคลากรแสดงออกซึ่งความเชื่อมั่นในความ
ซื่อสัตย์สุจริตทั้งคำพูดและปฏิบัติจริง………
โรงเรียนเห็นคุณค่าในความซื่อสัตย์ของ
บุคลากรโดยการชมเชยหรือให้รางวัล
ตอบแทน…………………………………
โรงเรียนกำหนดความคาดหวังของครูและ
นักเรียนให้มีมาตรฐานเป็นไปในแนวทาง
เดียวกัน…………………………………….
โรงเรียนเห็นคุณค่าในความมานะพยายาม
ของครูที่ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ………..
โรงเรียนยึดมั่นแนวทางจริยธรรมเป็นหลัก
ในการปฏิบัติต่อบุคลากรทุกคน……………
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
……
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
188
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
46
47
48
49
50
ความหลากหลายของบุคลากร
โรงเรียนให้ความสำคัญในความแตกต่าง
เรื่อง ปรัชญาความเชื่อและบุคลิกภาพของครู
แต่ละคน……………………………………
โรงเรียนให้ความสำคัญในวิธีสอนที่แตกต่าง
กันของครูแต่ละคน…………………………
โรงเรียนให้ความสำคัญแก่ครูแต่ละคนให้
รู้จักยืดหยุ่นในการจัดการเรียนการสอนโดย
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พัฒนาตามศักยภาพของนักเรียน…………....
โรงเรียนเชื่อมโยงความแตกต่างกันของ
รูปแบบและวิธีการสอนของครูแต่ละคนนำ
ไปสู่เป้าหมายและค่านิยมร่วมของโรงเรียน..
โรงเรียนมีความสามารถหล่อหลอม ให้ความ
แตกต่างระหว่างบุคคลให้มีความสอดคล้อง
กันได้อย่างดี……………………………….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
55
56
57
58
59
189
ตอนที่ 3
ข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา หมายถึง การปฏิบัติงานในการ
บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามที่กรมสามัญศึกษากำหนด ซึ่งประกอบด้วย 7 ด้าน ดังนี้คือ 1.
ด้านการบริหารทั่วไป 2. ด้านการบริหารงานวิชาการ 3. ด้านการบริหารงานธุรการ 4. ด้านการ
บริหารงานปกครองนักเรียน 5. ด้านการบริหารงานบริการ 6. ด้านการบริหารงานโรงเรียนกับ
ชุมชน 7. ด้านการบริหารงานอาคารสถานที่
คำชี้แจง
1. โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องระดับการปฏิบัติตามความเห็นของท่าน
เพียงช่องเดียว
2. ระดับการปฏิบัติจริงของโรงเรียน จัดเป็น 5 ระดับ ดังนี้ คือ
5 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นมากที่สุด
4 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นมาก
3 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นปานกลาง
2 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นน้อย
1 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นน้อยที่สุด
190
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
ด้านการบริหารทั่วไป
มีการกำหนดนโยบายเป้าหมายและวิสัยทัศน์
ของโรงเรียนเป็นไปอย่างชัดเจน……..……..
มีการจัดแผนภูมิการบริหารโรงเรียน ฝ่าย
หมวดวิชาได้อย่างชัดเจน…………………...
มีการใช้ระบบสารสนเทศของโรงเรียนใน
การบริหารและพัฒนางานด้านต่าง ๆ……….
มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพ
ของบุคลากรในการปฏิบัติงาน……………
มีการควบคุมตรวจสอบรับ-จ่ายเงิน และ
ประเมินผลการใช้เงินตามแผน…………….
จัดให้มีเอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์
โรงเรียน…………………………………….
มีการประเมินผลการบริหารงานของโรงเรียน
เพื่อนำผลไปพัฒนาอยู่เสมอ………………..
ด้านการบริหารงานวิชาการ
มีการวางแผนงานวิชาการเพื่อนำไปสู่การ
ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน……………………...
มีการรวบรวมจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับงานวิชาการอย่างครบถ้วน………..
มีการจัดแผนการเรียนที่นักเรียนสามารถ
เลือกได้ตามความถนัด ความสามารถ ความ
สนใจได้อย่างเหมาะสม…………………….
มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา และส่งเสริม
การเรียนการสอนอย่างทั่วถึง………………
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
191
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็น……………………………..……
การจัดหาจัดทำและบำรุงรักษาสื่อการเรียน
การสอนเพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้ทันที….
มีการพัฒนาและส่งเสริมการเรียนโดยหา
รูปแบบและวิธีสอนแบบต่างๆให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้แบบบูรณาการเสมอ…………….
มีการสร้างและปรับปรุงเครื่องมือ ประเมินผล
การเรียนในรายวิชาต่าง ๆ และดำเนินการ
เกี่ยวกับหลักฐานการวัดผล และประเมินผล
การเรียน…………………………………...
มีการจัดทำทะเบียนนักเรียนทุกระดับชั้นได้
ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน…………………….
มีการจัดการประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิชาการเพื่อนำผลไปพัฒนาอยู่เสมอ………...
ด้านการบริหารงานธุรการ
มีการทำแผนเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ
งานธุรการและดำเนินการอย่างชัดเจน……
มีการกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบและจัด
บุคลากรให้ปฏิบัติงานธุรการได้อย่าง
เหมาะสมกับลักษณะงาน…………………...
มีการจัดระบบงานสารบรรณที่ถูกต้องเพื่อ
สะดวกในการค้นหาและให้บริการ…………
มีการจัดทำหลักฐานการเงินและบัญชีการเก็บ
รักษาเงินและเอกสารการเงินอย่างปลอดภัย
และเป็นปัจจุบัน…………………..
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
192
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
มีการจัดทำหลักฐานการจัดซื้อจัดจ้าง จัดทำ
บัญชีพัสดุ ทะเบียนครุภัณฑ์ถูกต้อง เป็น
ปัจจุบัน……………………………………..
มีการจัดทำทะเบียนสถิติประวัติข้าราชการครู
และลูกจ้างประจำให้เป็นปัจจุบันและ
สามารถสืบค้นได้ทันที……………………..
มีการประเมินผลการบริหารงานด้านธุรการ
เพื่อนำผลไปพัฒนาอยู่เสมอ………………..
ด้านการบริหารงานปกครองนักเรียน
จัดทำแผนและนำไปสู่การปฏิบัติงานอย่าง
ชัดเจนตามแผน…………………………….
รวบรวมและจัดทำระเบียบข้อบังคับ
เกี่ยวกับระเบียบวินัยที่เกี่ยวข้องกับงาน
ปกครองนักเรียน……………………………
การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้
นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม…..…….
จัดให้มีการเลือกตั้งประธานและกรรมการ
นักเรียน…………………………………….
ดำเนินการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ของนักเรียน………………………...………
การประเมินผลการบริหารงานการปกครอง
นักเรียนเพื่อการปรับปรุงพัฒนาอยู่เสมอ……
ด้านการบริหารงานบริการ
การรวบรวมและจัดทำระเบียบแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับงานบริการสำหรับครูและนักเรียน…
มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกด้าน
สาธารณูปโภคอย่างทั่วถึง…………………..
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
193
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
อำนวยความสะดวกแก่คร ู และนักเรียนให้
ได้รับบริการน้ำดื่มน้ำใช้ในโรงเรียน……..
โรงเรียนอำนวยความสะดวกให้นักเรียนได้
รับการบริการด้านโภชนาการในโรงเรียน...
มีการจัดให้บริการด้านสุขภาพอนามัยแก่
นักเรียนอย่างทั่วถึง……………...………...
มีการจัดบริการห้องสมุดอย่างเหมาะสม…..
มีการจัดบริการโสตทัศนอุปกรณ์ เพื่อการ
เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ………..
มีการจัดการประชาสัมพันธ์สื่อสาร
คมนาคมให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึง……..…
มีการจัดบริการแนะแนวให้แก่นักเรียนใน
เรื่องส่วนตัวอาชีพ การศึกษาต่ออย่างทั่วถึง
มีการจัดกิจกรรมสหกรณ์ในสถานศึกษา
มีการประเมินผลการบริหารงานบริการและ
นำผลไปพัฒนางานอยู่เสมอ………………
ด้านบริหารงานโรงเรียนกับชุมชน
สร้างและเผยแพร่เกียรติประวัติทางด้าน
วิชาการ ทางด้านจริยธรรม คุณธรรม……..
ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ของโรงเรียน ใช้ชุมชนเป็นแหล่ง
ฝึกประสบการณ์แก่นักเรียน………………
ให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน ด้านบริการ
ข่าวสาร ความรู้ด้านเทคโนโลยีและวัสดุ
ครุภัณฑ์…………………..……………….
ให้โอกาสแก่ชุมชนเข้ามาพักผ่อนหย่อนใจ
และออกกำลังกายในโรงเรียน……….……
…..
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…….
….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
194
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
46
47
48
49
50
51
52
เป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา
ท้องถิ่น………………………………
มีการนำผลการวิเคราะห์ การประเมินผล
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับ
ชุมชนในการปรับปรุงงานด้านนี้……………
ด้านการบริหารงานอาคาร สถานที่
โรงเรียนจัดทำแผนแม่บทเกี่ยวกับการจัด
บรรยากาศบริเวณโรงเรียนและการจัด
บรรยากาศห้องเรียน……………………….
มีการใช้ประโยชน์อาคารเรียนอาคาร
ประกอบอย่างเหมาะสม..…………………..
มีการรักษาความสะอาดห้องน้ำ-ห้องส้วม
ตามสุขลักษณะ……………………………..
มีปรับปรุงอาคารเรียน ห้องเรียน ห้อง
ประกอบให้เพียงพอและเหมาะสมกับการ
เรียนการสอน……………………………….
มีการให้บริการสถานที่เหมาะสมกับการจัด
การเรียนการสอน…………………………..
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
……
…....
…....
…....
…...
…...
……
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
105
106
107
108
109
110
111
“ ขอขอบคุณที่ท่านกรุณาตอบครบทุกข้อ ”
195
ฉบับที่ 2
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง
วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม
คำอธิบาย
1. แบบสอบถามฉบับนี้สำหรับครูผู้ปฏิบัติการสอนเป็นผู้ตอบ คือ
1.1 ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ทำหน้าที่ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน
1.2 หัวหน้าหมวดวิชา
1.3 ครูผู้ปฏิบัติการสอน
2. แบบสอบถามฉบับนี้มี 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปและสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียน จำนวน 50 ข้อ
ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษา จำนวน 52 ข้อ
3. แบบสอบถามฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องวัฒนธรรมโรงเรียน ที่ส่งผลต่อ
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม
ฉะนั้นการตอบแบบสอบถามจะไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของท่าน แต่จะเป็นแนวทางในการ
บริหารโรงเรียนมากยิ่งขึ้น จึงใคร่ขอความกรุณาจากท่านได้โปรดตอบแบบสอบถามตามสภาพที่
เป็นจริงทุกข้อ
ขอขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ที่ท่านกรุณาให้ความอนุเคราะห์ในการตอบแบบ
สอบถามครบสมบูรณ์ทุกข้อ
นางมาลี ควรคนึง
นักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
196
ตอนที่ 1
ข้อมูลทั่วไปและสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย / ลงใน หน้าข้อความตามความเป็นจริงของท่าน
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ช่องนี้ สำหรับผู้วิจัย
1 เพศ
ชาย หญิง
2. อายุ………………..ปี
3. ระดับการศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
4. ประสบการณ์การทำงาน…………………..ปี
5. การอบรมหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง
เคย ไม่เคย
6. ขนาดของโรงเรียนที่ท่านปฏิบัติงาน
ขนาดเล็ก (มีนักเรียนตั้งแต่ 1 – 499 คน)
ขนาดกลาง (มีนักเรียนตั้งแต่ 500 – 1,499 คน)
ขนาดใหญ่ (มีนักเรียนตั้งแต่ 1,500 คนขึ้นไป)
1 2 3
4
5
6
7
8
9
197
ตอนที่ 2
ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียน
วัฒนธรรมโรงเรียน หมายถึง แบบแผน การประพฤติปฏิบัติ ค่านิยม ความเชื่อที่เกี่ยว
ข้องกับการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยสิ่งดังต่อไปนี้ คือ 1. เป้าหมายของ
โรงเรียน 2. การมอบอำนาจ 3. การตัดสินใจ 4. ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน 5. ความ
ไว้วางใจ 6. ความมีคุณภาพ 7. การยอมรับนับถือ 8. ความเอื้ออาทร 9. ความซื่อสัตย์สุจริต
10. ความหลากหลายของบุคลากร
คำชี้แจง
2. โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องระดับการปฏิบัติอันเป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับ
วัฒนธรรมโรงเรียนตามความเห็นของท่านว่าในแต่ละข้อความมีการปฏิบัติในสิ่งนั้นปรากฎมากน้อย
เพียงใดในโรงเรียนของท่าน
3. ระดับการปฏิบัติของโรงเรียน จัดเป็น 5 ระดับ ดังนี้ คือ
5 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นมากที่สุด
4 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นมาก
3 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นปานกลาง
2 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นน้อย
1 หมายถึง โรงเรียนมีการปฏิบัติสิ่งนั้นน้อยที่สุด
198
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เป้าหมายของโรงเรียน
มีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ครูนักเรียน
และผู้ปกครองทราบถึงเป้าหมายของ
โรงเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
และประเมินผลร่วมกัน ……………………
ครูตระหนักและเห็นคุณค่าความสำคัญใน
เป้าหมายของโรงเรียน……………..........…
ในการตัดสินใจเรื่องใดๆ ในโรงเรียนมุ่งเน้น
ให้เป็นไปตามเป้าหมายของโรงเรียน............
โรงเรียนคำนึงถึงการตัดสินใจที่มีผลต่อ
เป้าหมายของโรงเรียน ………..................
มี ก า ร ศึ กษา ข้ อมู ล ก่อนกา ร กำ หนด
เป้าหมาย …………………………..….......
การมอบอำนาจ
โรงเรียนมอบอำนาจในการตัดสินใจในการ
ปฏิบัติงานแก่ครูที่รับผิดชอบงานแต่ละงาน
โรงเรียนเปิดโอกาสให้ครูทุกคนในโรงเรียน
มีสิทธิเท่าเทียมกันในการรับรู้ข่าวสารข้อมูล
ของโรงเรียน…………………………….…
มีการมอบหมายงานให้ครูรับผิดชอบเพิ่มขึ้น
เป็นการมอบอำนาจในการตัดสินใจภายใน
ขอบเขตของค่านิยมของโรงเรียน………….
มีการกระจายอำนาจในโรงเรียนทำให้ครูมี
การร่วมมือมากขึ้น........................................
โรงเรียนมอบหมายงานตามความรู้ความ
สามารถของบุคลากร……………………
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
......
…..
…….
…….
…….
.........
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
......
…..
…..
…..
…..
…..
…..
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
199
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
การตัดสินใจ
ผู้บริหารสนับสนุนให้ครูมีความคิดริเริ่ม
และมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น…..
การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ในโรงเรียนโดย
คำนึงถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติมาก
ที่สุด………………………………………...
ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่รู้
สถานการณ์และปัญหาเป็นอย่างดีโดยไม่
จำเป็นต้องเป็นหัวหน้าเท่านั้น…………..….
ผู้บริหารตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ
เป็นตัวชี้วัด…………………………….…
ให้โอกาสบุคลากรในโรงเรียน ได้มีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจ…………………….………
ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน
ครูทุกคนเห็นความสำคัญของคำว่า“เรา”
และมีความรู้สึกว่า โรงเรียนเป็นของเรา
ทุกคน………………………………………
ครูทุกคนมีส่วนร่วม และเป็นเจ้าของ
รับผิดชอบงานของโรงเรียน……………….
ครูทุกคนมีความผูกพันที่จะช่วยเหลือและ
พัฒนาซึ่งกันและกัน………………...…..….
ครูร่วมมือพัฒนาโรงเรียนร่วมกัน………..…
ครูมีความเสียสละอุทิศเวลาให้กับงาน……..
ความไว้วางใจ
โรงเรียนให้ครูทุกคนมีโอกาสเลือกทำงาน
ตามความต้องการ และครูจะทำงานให้ได้ดี
ที่สุดเพื่อโรงเรียน………………………..…
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
200
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
โรงเรียนไว้วางใจว่าครูจะสามารถตัดสินใจ
ได้อย่างดี…………………………………...
มีบรรยากาศความไว้วางใจสูงในโรงเรียน….
บุคลากรมีการยอมรับซึ่งกันและกันตาม
บทบาทภาระหน้าที่………….………...
บุคลากรมีความเชื่อมั่นและรู้จักอบอุ่น
ยอมรับในคุณค่าของกันและกัน….………...
ความมีคุณภาพ
โรงเรียนมีความคาดหวังให้ครูปฏิบัติงาน
อย่างมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน………..
โรงเรียนให้ความสำคัญกับวิสัยทัศน์ของ
โรงเรียน…………..………………………..
โรงเรียนเชื่อมั่นว่าครูสามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ………………….…….
โรงเรียนใช้เทคนิคและสร้างแรงจูงใจ
กระตุ้นบุคลากรให้ทำงานอย่างมีคุณภาพสูง..
บุคลากรทุกคนมีการพัฒนาวิสัยทัศน์ของ
ตนเองเสมอ………………………………...
การยอมรับนับถือ
โรงเรียนเปิดโอกาสและให้การยอมรับความ
คิดเห็นที่ดีของครูและนักเรียน…………...…
โรงเรียนให้การยอมรับในความสำเร็จและ
ผลงานของครูและนักเรียน………………...
โรงเรียนส่งเสริมให้บุคลากรทำงานเต็มตาม
ศักยภาพ……………………………………
ผู้บริหารให้การยกย่องส่งเสริมผู้ใต้บังคับ
บัญชาอย่างต่อเนื่อง…………….………….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
….…
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
….
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
201
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
บุคลากรยกย่องให้เกียรติซึ่งกันและกัน……..
ความเอื้ออาทร
โรงเรียนมีระบบเอาใจใส่ดูแลและเอื้ออาทร
ในความเป็นอยู่ของทุกคนในโรงเรียน..…...
โรงเรียนเอาใจใส่คณะครูในการปฏิบัติงาน
สนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่……..
โรงเรียนให้ความเอาใจใส่บุคลากรใน
หน่วยงานย่อยอย่างเสมอภาค………………
ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรพัฒนาวิธีการ
ปฏิบัติงาน……..……………………………
ผู้บริหารมีความสามารถในการสร้างความ
ภูมิใจของบุคลากรสูง……………………….
ความซื่อสัตย์สุจริต
บุคลากรแสดงออกซึ่งความเชื่อมั่นในความ
ซื่อสัตย์สุจริตทั้งคำพูดและปฏิบัติจริง………
โรงเรียนเห็นคุณค่าในความซื่อสัตย์ของ
บุคลากรโดยการชมเชยหรือให้รางวัล ..……
โรงเรียนกำหนดความคาดหวังของครูและ
นักเรียนให้มีมาตรฐานเป็นไปในแนวทาง
เดียวกัน…………………………………….
โรงเรียนเห็นคุณค่าในความมานะพยายาม
ของครูที่ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ………..
โรงเรียนยึดมั่นแนวทางจริยธรรมเป็นหลัก
ในการปฏิบัติต่อบุคลากรทุกคน……………
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
……
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
202
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
46
47
48
49
50
ความหลากหลายของบุคลากร
โรงเรียนให้ความสำคัญในความแตกต่าง
เรื่อง ปรัชญาความเชื่อและบุคลิกภาพของครู
แต่ละคน……………………………………
โรงเรียนให้ความสำคัญในวิธีสอนที่แตกต่าง
กันของครูแต่ละคน…………………………
โรงเรียนให้ความสำคัญแก่ครูแต่ละคนให้
รู้จักยืดหยุ่นในการจัดการเรียนการสอนโดย
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พัฒนาตามศักยภาพของนักเรียน…………....
โรงเรียนเชื่อมโยงความแตกต่างกันของ
รูปแบบและวิธีการสอนของครูแต่ละคนนำ
ไปสู่เป้าหมายและค่านิยมร่วมของโรงเรียน..
โรงเรียนมีความสามารถหล่อหลอม ให้ความ
แตกต่างระหว่างบุคคลให้มีความสอดคล้อง
กันได้อย่างดี……………………………….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
55
56
57
58
59
203
ตอนที่ 3
ข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา
บทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา หมายถึง การปฏิบัติงานในการ
บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามที่กรมสามัญศึกษากำหนด ซึ่งประกอบด้วย 7 ด้าน ดังนี้คือ 1.
ด้านการบริหารทั่วไป 2. ด้านการบริหารงานวิชาการ 3. ด้านการบริหารงานธุรการ 4. ด้านการ
บริหารงานปกครองนักเรียน 5. ด้านการบริหารงานบริการ 6. ด้านการบริหารงานโรงเรียนกับ
ชุมชน 7. ด้านการบริหารงานอาคารสถานที่
คำชี้แจง
1. โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องระดับการปฏิบัติตามความเห็นของท่าน
เพียงช่องเดียว
3. ระดับการปฏิบัติจริงของโรงเรียน จัดเป็น 5 ระดับ ดังนี้ คือ
5 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นมากที่สุด
4 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นมาก
3 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นปานกลาง
2 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นน้อย
1 หมายถึง ผู้บริหารมีการปฏิบัติจริงในสิ่งนั้นน้อยที่สุด
204
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
ด้านการบริหารทั่วไป
มีการกำหนดนโยบายเป้าหมายและวิสัยทัศน์
ของโรงเรียนเป็นไปอย่างชัดเจน……..……..
มีการจัดแผนภูมิการบริหารโรงเรียน ฝ่าย
หมวดวิชาได้อย่างชัดเจน…………………...
มีการใช้ระบบสารสนเทศของโรงเรียนใน
การบริหารและพัฒนางานด้านต่าง ๆ……….
มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพ
ของบุคลากรในการปฏิบัติงาน……………
มีการควบคุมตรวจสอบรับ-จ่ายเงิน และ
ประเมินผลการใช้เงินตามแผน…………….
จัดให้มีเอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์
โรงเรียน…………………………………….
มีการประเมินผลการบริหารงานของโรงเรียน
เพื่อนำผลไปพัฒนาอยู่เสมอ………………..
ด้านการบริหารงานวิชาการ
มีการวางแผนงานวิชาการเพื่อนำไปสู่การ
ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน……………………...
มีการรวบรวมจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับงานวิชาการอย่างครบถ้วน………..
มีการจัดแผนการเรียนที่นักเรียนสามารถ
เลือกได้ตามความถนัด ความสามารถ ความ
สนใจได้อย่างเหมาะสม…………………….
มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา และส่งเสริม
การเรียนการสอนอย่างทั่วถึง………………
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
205
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นการพัฒนาครูและ
กระบวนการ……………..………………….
การจัดหาจัดทำและบำรุงรักษาสื่อการเรียน
การสอนเพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้ทันที….
มีการพัฒนาและส่งเสริมการเรียนโดยหา
รูปแบบและวิธีสอนแบบต่างๆให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้แบบบูรณาการเสมอ…………….
มีการสร้างและปรับปรุงเครื่องมือ ประเมินผล
การเรียนในรายวิชาต่าง ๆ และดำเนินการ
เกี่ยวกับหลักฐานการวัดผล และประเมินผล
การเรียน…………………………………...
มีการจัดทำทะเบียนนักเรียนทุกระดับชั้นได้
ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน…………………….
มีการจัดการประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิชาการเพื่อนำผลไปพัฒนาอยู่เสมอ………...
ด้านการบริหารงานธุรการ
มีการทำแผนเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ
งานธุรการและดำเนินการอย่างชัดเจน……...
มีการกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบและจัด
บุคลากรให้ปฏิบัติงานธุรการได้อย่างตรงตาม
ความสามารถของบุคลากรและลักษณะงาน...
มีการจัดระบบงานสารบรรณที่ถูกต้องเพื่อ
สะดวกในการค้นหาและให้บริการ…………
มีการจัดทำหลักฐานการเงินและบัญชีการเก็บ
รักษาเงินและเอกสารการเงินอย่างปลอดภัย
และเป็นปัจจุบัน……………………………
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
206
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
มีการจัดทำหลักฐานการจัดซื้อจัดจ้าง จัดทำ
บัญชีพัสดุ ทะเบียนครุภัณฑ์ถูกต้อง เป็น
ปัจจุบัน……………………………………..
มีการจัดทำทะเบียนสถิติประวัติข้าราชการครู
และลูกจ้างประจำให้เป็นปัจจุบันและ
สามารถสืบค้นได้ทันที……………………..
มีการประเมินผลการบริหารงานด้านธุรการ
เพื่อนำผลไปพัฒนาอยู่เสมอ………………..
ด้านการบริหารงานปกครองนักเรียน
จัดทำแผนและนำไปสู่การปฏิบัติงานอย่าง
ชัดเจนตามแผน…………………………….
รวบรวมและจัดทำระเบียบข้อบังคับ
เกี่ยวกับระเบียบวินัยที่เกี่ยวข้องกับงาน
ปกครองนักเรียน……………………………
การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้
นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม…..…….
จัดให้มีการเลือกตั้งประธานและกรรมการ
นักเรียน…………………………………….
มีการดำเนินการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่
เหมาะสมของนักเรียน………………………
การประเมินผลการบริหารงานการปกครอง
นักเรียนเพื่อการปรับปรุงพัฒนาอยู่เสมอ……
ด้านการบริหารงานบริการ
การรวบรวมและจัดทำระเบียบแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับงานบริการสำหรับครูและนักเรียน…
มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกด้าน
สาธารณูปโภคอย่างทั่วถึง…………………..
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
207
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
โรงเรียนอำนวยความสะดวกแก่ครูและ
นักเรียนให้ได้รับบริการน้ำดื่มน้ำใช้ใน
โรงเรียน…………………………………
โรงเรียนอำนวยความสะดวกให้นักเรียนได้
รับการบริการด้านโภชนาการในโรงเรียน...
มีการจัดให้บริการด้านสุขภาพอนามัยแก่
นักเรียนอย่างทั่วถึง……………...………...
มีการจัดบริการห้องสมุดอย่างเหมาะสม…..
มีการจัดบริการโสตทัศนอุปกรณ์ เพื่อการ
เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ………..
มีการจัดการประชาสัมพันธ์สื่อสารและ
คมนาคมให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึง……..…
มีการจัดบริการแนะแนวให้แก่นักเรียนใน
เรื่องส่วนตัวอาชีพ การศึกษาต่ออย่างทั่วถึง
มีการจัดกิจกรรมสหกรณ์ในสถานศึกษา
ศึกษา……………………………………...
มีการประเมินผลการบริหารงานบริการและ
นำผลไปพัฒนางานอยู่เสมอ………………
ด้านบริหารงานโรงเรียนกับชุมชน
สร้างและเผยแพร่เกียรติประวัติทางด้าน
วิชาการ ทางด้านจริยธรรม คุณธรรม……..
ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ของโรงเรียน ใช้ชุมชนเป็นแหล่ง
ฝึกประสบการณ์แก่นักเรียน………………
ให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน ด้านบริการ
ข่าวสาร ความรู้ด้านเทคโนโลยีและวัสดุ
ครุภัณฑ์…………………..……………….
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
….…
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
208
ข้อ ระดับการปฏิบัติ
ที่
โรงเรียนของท่านเป็นเช่นนี้
อยู่ในระดับใด มากที่
สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
ช่องนี้
สำหรับ
ผู้วิจัย
45
46
47
48
49
50
51
52
ให้โอกาสแก่ชุมชนเข้ามาพักผ่อนหย่อนใจ
และออกกำลังกายในโรงเรียน……….……..
เป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
และให้ความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนา
ท้องถิ่น……………………………………...
มีการนำผลการวิเคราะห์ การประเมินผล
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับ
ชุมชนในการปรับปรุงงานด้านนี้……………
ด้านการบริหารงานอาคาร สถานที่
โรงเรียนจัดทำแผนแม่บทเกี่ยวกับการจัด
บรรยากาศบริเวณโรงเรียนและการจัด
บรรยากาศห้องเรียน……………………….
มีการใช้ประโยชน์อาคารเรียนอาคาร
ประกอบอย่างเหมาะสม..…………………..
มีการรักษาความสะอาดห้องน้ำ-ห้องส้วม
ตามสุขลักษณะ……………………………..
มีการปรับปรุงอาคารเรียน ห้องเรียน ห้อง
ประกอบให้เพียงพอและเหมาะสมกับการ
เรียนการสอน……………………………….
มีการให้บริการสถานที่เหมาะสมกับการจัด
การเรียนการสอน…………………………..
….
…...
…...
…...
…...
…...
…...
…...
….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
……
…....
…....
…....
…...
…...
……
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
104
105
106
107
108
109
110
111
“ ขอขอบคุณที่ท่านกรุณาตอบครบทุกข้อ ”
209
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ - ชื่อสกุล นางมาลี ควรคนึง
ที่อยู่ปัจจุบัน 10/7 หมู่ 4 ตำบลยายชา อำเภอสามพราน
จังหวัดนครปฐม 73110 โทรศัพท์ 01 - 8509545
สถานที่ทำงาน โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน
จังหวัดนครปฐม 73210 โทรศัพท์ 034 - 311383
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2512 มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนันต์สุนทรศึกษา จังหวัดนครปฐม
พ.ศ. 2516 ประกาศนียบัตรวิชาการชั้นสูง วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2525 ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2545 ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
กรุงเทพมหานคร
ประวัติการทำงาน
พ.ศ. 2517 ครูตรี โรงเรียนสวนอนันต์ กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2528 อาจารย์ 2 ระดับ 6 โรงเรียนสวนอนันต์ กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2539 ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี
จังหวัดปทุมธานี
พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา จังหวัดนครปฐม

วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร (ตอนที่ 1)
วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร (ตอนที่ 2)
วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริงของผู้บริหาร (ตอนที่ 3)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น