วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554

รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ตอนที่ 2)



รวม 100 60
ประชากรทั้งหมดจำนวน 100 คน มีผู้ที่ใช้เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ จำนวน
60 คน เมื่อสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมจากตารางของเครซี่และมอร์แกน(Krejcie and Morgan) เท่ากับ 59 คน
61
2. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม ที่สร้างขึ้นตามลำดับขั้นตอน ดังนี้
2.1.1 ศึกษาเอกสาร ทฤษฎี วรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 สร้างแบบสอบถามให้ครอบคลุมตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบและเนื้อหา
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ รวมทั้งแนวทางในการพัฒนารูปแบบเว็บไซต์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ และตรวจสอบความเหมาะสมรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูล
ท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
2.1.3 นำแบบสอบถามที่สร้างเสร็จไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ตรวจสอบแบบสอบถาม
เนื้อหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) (วาโร เพ็งสวัสดิ์, 2545 : 91)
2.1.4 นำแบบสอบถามที่ได้จากการวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของผู้ทรงคุณวุฒิ
มาแก้ไขปรับปรุงเป็นฉบับที่มีความเที่ยงตรง แล้วนำไปให้นักศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจริงจำนวน
16 คน ทดลองตอบแบบสอบถาม เพื่อตรวจสอบความเชื่อถือได้ของเครื่องมือ แล้วนำมาวิเคราะห์
ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ของแบบสอบถามจากค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (α - Coeffient) ตาม
สูตรของครอนบาค (Cronbach 1974 : 161) ได้ค่า α = 0.96
2.1.5 ปรับปรุงคุณภาพของเครื่องมือให้มีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้แล้วนำไปใช้ใน
การเก็บข้อมูล
2.2 ลักษณะแบบสอบถามแบ่งเป็น 5 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ
อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพปัจจุบัน ความถี่ในการใช้เว็บไซต์ มีลักษณะเป็นแบบสอบถาม
ปลายปิด โดยมีคำถามในตอนนี้ 5 ข้อ
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อข้อมูลท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น เป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ
ตอนที่ 3 แบบสอบถามความเหมาะสมด้านเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งมีระดับที่ปรากฏในเว็บไซต์และระดับที่ควรมีให้เลือก 5 ระดับ เป็นแบบสอบถาม
แบบประมาณค่า 5 ระดับ
ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่ง
มีระดับความเหมาะสมและระดับที่ควรมีให้เลือก 5 ระดับ เป็นแบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ
ตอนที่ 5 แบบสอบถามแนวทางการปรับปรุงเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิด
62
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลตามขั้นตอนต่อไปนี้
3.1 ผู้วิจัยขอหนังสือจากบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ขอ
ความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถามจาก ผู้อำนวยการสำนักศิลปวัฒนธรรม ผู้อำนวยการศูนย์
ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ หัวหน้าโปรแกรมวิชาบรรณรักษศาสตร์
และสารสนเทศศาสตร์ และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ เพื่อ
ขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล
3.2 นำหนังสือและแบบสอบถามไปขอความอนุเคราะห์จากผู้อำนวยการสำ นัก
ศิลปวัฒนธรรม ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ
หัวหน้าโปรแกรมวิชาบรรณรักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล และทำการเก็บข้อมูล
ด้วยตนเอง
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อได้รับแบบสอบถามคืนมาแล้วผู้วิจัยดำเนินการดังนี้
4.1 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามที่ได้รับคืน
4.2 นำแบบสอบถามที่สมบูรณ์มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ดังนี้
4.2.1 แบบสอบถามตอนที่ 1 คำนวณค่าร้อยละจากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม
ทั้งหมดในส่วนที่เกี่ยวกับสถานภาพของประชากร
4.2.2 แบบสอบถามตอนที่ 2 หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคำตอบที่
เกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น ในส่วนที่เป็นแบบ
มาตราส่วนประมาณค่าโดยถือเกณฑ์ดังนี้
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าเท่ากับ 1 คะแนน
ไม่เห็นด้วย มีค่าเท่ากับ 2 คะแนน
ปานกลาง มีค่าเท่ากับ 3 คะแนน
เห็นด้วย มีค่าเท่ากับ 4 คะแนน
เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าเท่ากับ 5 คะแนน
63
ค่าเฉลี่ยที่ได้แล้วนำมาแปลความหมายตามเกณฑ์ของบุญชม ศรีสะอาด (2535 :113) ดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายความว่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายความว่า เห็นด้วย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50 หมายความว่า ปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50 หมายความว่า ไม่เห็นด้วย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 0.51 – 1.50 หมายความว่า ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
4.2.3 แบบสอบถามตอนที่ 3,4 หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
คำตอบที่เกี่ยวกับระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี ระดับความเหมาะสม และระดับความเป็นไปได้ ใน
ส่วนที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า โดยถือเกณฑ์ดังนี้
ระดับที่ปรากฏ / ควรมี / ความเหมาะสม / เป็นไปได้ น้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 1 คะแนน
ระดับที่ปรากฏ / ควรมี / ความเหมาะสม / เป็นไปได้ น้อย มีค่าเท่ากับ 2 คะแนน
ระดับที่ปรากฏ / ควรมี / ความเหมาะสม / เป็นไปได้ ปานกลาง มีค่าเท่ากับ 3 คะแนน
ระดับที่ปรากฏ / ควรมี / ความเหมาะสม / เป็นไปได้ มาก มีค่าเท่ากับ 4 คะแนน
ระดับที่ปรากฏ / ควรมี / ความเหมาะสม / เป็นไปได้ มากที่สุด มีค่าเท่ากับ 5 คะแนน
ค่าเฉลี่ยที่ได้แล้วนำมาแปลความหมายตามเกณฑ์ของบุญชม ศรีสะอาด (2535 :113) ดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายความว่า ระดับที่ปรากฏ/ ควรมี/ ความเหมาะสม/ เป็นไปได้ มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายความว่า ระดับที่ปรากฏ/ ควรมี/ ความเหมาะสม/เป็นไปได้ มาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50 หมายความว่า ระดับที่ปรากฏ/ ควรมี/ ความเหมาะสม/ เป็นไปได้ ปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50 หมายความว่า ระดับที่ปรากฏ/ ควรมี/ ความเหมาะสม/ เป็นไปได้ น้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 0.51 – 1.50 หมายความว่า ระดับที่ปรากฏ/ ควรมี/ ความเหมาะสม/ เป็นไปได้ น้อยที่สุด
4.2.4 เปรียบเทียบข้อมูลแบบสอบถามตอนที่ 3,4 เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่าง
ระหว่างระดับที่ปรากฏ ระดับความเหมาะสม และระดับที่ควรมี เพื่อการสำรวจความแตกต่างระหว่าง
ลักษณะที่ควรจะเป็นกับลักษณะที่เป็นอยู่ของความแตกต่างระหว่างสภาพปัจจุบันกับสภาพที่ต้องการ
(Kaufman & English, 1981 อ้างถึงใน สุดนิสา พูลศิริ, 2541 : 15)โดยใช้ค่าสถิติที (t-Test)
4.2.5 วิเคราะห์แบบสอบถามตอนที่ 4 ในลักษณะเดียวกันกับตอนที่ 3
4.2.6 สรุปความเหมาะสมและความเป็นไปได้จากค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของ
ผู้ทรงคุณวุฒิในรายการที่มีค่า X ≥ 3.51
4.2.7 วิเคราะห์แนวทางในการปรับปรุงเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัย
ราชภัฏจากการสรุปความคิดเห็นจากแบบสอบถามปลายเปิด
64
3. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 ค่าร้อยละ = x100
N
n
3.2 ค่าเฉลี่ย ( x ) = N
Σ fX
3.3 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = ( 1)
x2 ( x)2

Σ − Σ
n n
n f f
3.4 ค่าสถิติที (t-Test) Independent =
2
2
2
1
2
1
1 2
n
S
n
S
X X
+

(พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2538 : 145, 151, 172)
65
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยเรื่อง รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
รูปแบบและเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ และตรวจสอบความเหมาะสมและ
เป็นไปได้ของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแล้ววิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป นำเสนอผลการวิเคราะห์เป็น
8 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อลักษณะของข้อมูลท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
ตอนที่ 3 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จากกลุ่มตัวอย่าง
ตอนที่ 4 ความเหมาะสมของรูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จากกลุ่มตัวอย่าง
ตอนที่ 5 แนวทางปรับปรุงเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นตามความความเห็นของผู้ตอบ
แบบสอบถาม
ตอนที่ 6 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ตอนที่ 7 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ตอนที่ 8 สรุปรูปแบบที่เหมาะสมและเป็นไปได้ของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้บริหารและนักศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏ
กลุ่มรัตนโกสินทร์ ประจำปีการศึกษา 2549 เป็นผู้ที่ใช้เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จำนวน 60 คน ผลการวิเคราะห์ลักษณะข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามมีรายละเอียดดังนี้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามได้มาจากกลุ่มประชากรซึ่งใช้
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ จำนวน 60 คน ปรากฏดังตารางที่ 1
66
ตารางที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
สถานภาพ จำนวน (คน) ร้อยละ(%)
1. เพศ
ชาย 15 25.00
หญิง 45 75.00
2. อายุ
ต่ำกว่า 25 ปี 6 10.00
25 -35 ปี 31 51.70
36 – 45 ปี 13 21.70
46 – 55 ปี 5 8.30
56 ปี ขึ้นไป 5 8.30
3. ระดับการศึกษา
ปริญญาตรี 49 81.70
ปริญญาโท 9 15.00
ปริญญาเอก 2 3.30
4. สถานภาพ
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ 4 6.70
ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน 2 3.30
ผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม 2 3.30
อาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลท้องถิ่น 2 3.30
ผู้จัดทำเว็บไซต์ 3 5.00
นักศึกษาระดับปริญญาโท 47 78.40
5. การใช้เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
ใช้บ่อย 11 18.30
ใช้เป็นครั้งคราว 32 53.30
ใช้นานๆครั้ง 17 28.30
จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ
75.00 ผู้ตอบแบบสอบถามมีช่วงอายุระหว่าง 25 – 35 ปี มากที่สุด มีจำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ
67
51.70 รองลงมามีช่วงอายุระหว่าง 36 – 45 ปี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 21.70 ผู้ตอบ
แบบสอบถามมีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีมากที่สุด จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 81.70
รองลงมามีการศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 มีวุฒิปริญญาเอกเพียง
2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.30 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน
47 คน คิดเป็นร้อยละ 78.40 รองลงมา เป็นผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ
6.70 ผู้ตอบแบบสอบถามเคยใช้เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นครั้งคราว มากที่สุด
จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 53.30 รองลงมาเป็นใช้นานๆ ครั้ง จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ
28.30 ลำดับสุดท้ายเป็นใช้บ่อย จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 18.30
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อลักษณะของข้อมูลท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วยภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
ความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อข้อมูลท้องถิ่นได้มาจากการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อข้อมูลท้องถิ่นในเรื่อง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น ปรากฏผลดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 2 ความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อลักษณะของข้อมูลท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งทรัพยากร
ในท้องถิ่น x S.D. ระดับความคิดเห็น ลำดับที่
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้
ของชาวบ้านที่สั่งสมกันมาตั้งแต่
อดีตและพัฒนาสืบทอดจนถึง
ปัจจุบันที่มีความสำคัญต่อการ
ดำเนินชีวิตและผู้คนในท้องถิ่น
4.47 0.62 เห็นด้วย 1
2. สามารถนำความรู้มาพัฒนาท้องถิ่น
เพื่อปรับเปลี่ยนและใช้แก้ไขปัญหา
ต่างๆ ในท้องถิ่น
4.15 0.73 เห็นด้วย 5
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบ่งออกเป็น
- สาขาการเกษตร 3.92 0.74 เห็นด้วย 7
- สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม 3.90 0.77 เห็นด้วย 8
- สาขาการแพทย์แผนไทย 3.87 0.91 เห็นด้วย 9
68
ตารางที่ 2 (ต่อ)
ความคิดเห็นเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
x S.D. ระดับความคิดเห็น ลำดับที่
- สาขาการจัดทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
3.62 0.92 เห็นด้วย 11
- สาขาสวัสดิการสังคม 3.47 0.98 ปานกลาง 13
- สาขาศิลปกรรมพื้นฐาน 3.90 0.84 เห็นด้วย 8
- สาขาการจัดการองค์กร 3.55 0.96 เห็นด้วย 12
- สาขาวรรณกรรมพื้นฐาน 3.90 0.92 เห็นด้วย 8
- สาขาศาสนาและประเพณี 3.97 0.94 เห็นด้วย 6
- สาขาการศึกษา 3.68 0.89 เห็นด้วย 10
4. สังคมไทยมีภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่
มากที่แสดงความเป็นไทยและเป็น
เอกลักษณ์สำคัญที่ชี้ความเจริญ
ของสังคมไทย
4.27 0.78 เห็นด้วย 3
5. แหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นสามารถ
นำมาใช้ประโยชน์ในการเป็น
แหล่งการศึกษาของชุมชน
4.28 0.78 เห็นด้วย 2
6. แหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นมีทั้งที่
เป็นตัวบุคคล ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
รวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่ง
สามารถนำไปพัฒนาท้องถิ่นต่อไป
4.20 0.73 เห็นด้วย 4
7. แนวคิดทฤษฎีสื่อปฏิสัมพันธ์
วัฒนธรรมของชาตินั้นได้รวบรวม
ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี
ด้านต่างๆ ของท้องถิ่นไว้เป็นอย่างดี
4.15 0.76 เห็นด้วย 5
รวม 3.96 0.58 เห็นด้วย
.
69
จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยต่อลักษณะของข้อมูลท้องถิ่น ซึ่ง
ประกอบด้วย ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นในภาพรวม ( x =3.96) และเมื่อจำแนก
เป็นรายด้าน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยว่า “ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ของชาวบ้าน
พัฒนาสืบทอดจนถึงปัจจุบันที่มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตและผู้คนในท้องถิ่น” เป็นลำดับแรก
( x = 4.47) รองลงมาคือ “แหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการเป็นแหล่ง
การศึกษาของชุมชน” ( x = 4.28) และ “สังคมไทยมีภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่มากที่แสดงความเป็นไทย
และเป็นเอกลักษณ์สำคัญที่ชี้ความเจริญของสังคมไทย” ( x = 4.27) ส่วนการที่ “ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบ่ง
ออกเป็นสาขาสวัสดิการสังคม” ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยเป็นอันดับสุดท้าย ( x = 3.47) ซ ึ่งแสดงว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
ตอนที่ 3 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏจาก
ผู้ตอบแบบสอบถาม
ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ได้มาจากการเปรียบเทียบระดับความเหมาะสม
ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ปรากฏในเว็บไซต์กับระดับที่ควรมีปรากฏ
ในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาพรวม และด้านต่างๆ ปรากฏผลดังตาราง
ต่อไปนี้
ตารางที่ 3 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวม
ความเหมาะสมของเนื้อหา ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
สถานที่สำคัญ 3.76 0.82 มาก 4.45 0.65 มาก -6.18**
บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน 3.51 0.91 มาก 4.16 0.83 มาก -5.57**
วิถีชีวิต 3.63 0.92 มาก 4.38 0.78 มาก -6.50**
ภูมิปัญญา 3.54 0.94 มาก 4.32 0.77 มาก -5.86**
ของดีท้องถิ่น 3.76 0.79 มาก 4.35 0.73 มาก -5.61**
เอกสารสำคัญ 3.29 1.02 ปานกลาง 4.23 0.86 มาก -6.57**
ธรรมชาติวิทยา 3.36 0.96 ปานกลาง 4.29 0.74 มาก -7.74**
ข้อมูลจังหวัด 3.61 0.78 มาก 4.32 0.74 มาก -7.03**
70
ตารางที่ 3 (ต่อ)
ความเหมาะสมของเนื้อหา ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
ฐานข้อมูล 3.67 0.92 มาก 4.35 0.78 มาก -6.67**
เว็บไซต์แนะนำ 3.51 0.88 มาก 4.22 0.81 มาก -7.20**
ความเหมาะสมด้านเนื้อหา
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นใน
ระดับที่ปรากฏในเว็บไซต์
3.58 0.73 มาก 4.31 0.68 มาก -7.44**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 3 พบว่าความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูล
ท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวม ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.31) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ สถานที่สำคัญ ( x = 4.45) รองลงมา
ได้แก่ วิถีชีวิต ( x = 4.38) ของดีท้องถิ่น ( x = 4.35) และฐานข้อมูล ( x = 4.35) และรายการที่ควรมีใน
ลำดับสุดท้าย คือ บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ( x = 4.16)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.58) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ สถานที่สำคัญ ของดี
ท้องถิ่น ( x = 3.76) รองลงมา ได้แก่ ฐานข้อมูล ( x = 3.67) วิถีชีวิต ( x = 3.63) ข้อมูลจังหวัด ( x=
3.61) และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ เอกสารสำคัญ ( x = 3.29)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
71
ตารางที่ 4 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านสถานที่สำคัญ
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านสถานที่สำคัญ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
โบราณสถาน โบราณวัตถุ 3.60 0.96 มาก 4.40 0.74 มาก -6.759**
วัด 3.78 0.98 มาก 4.40 0.76 มาก -5.079**
แหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว
แผนที่ท่องเที่ยว ปฏิทินท่องเที่ยว
3.88 0.90 มาก 4.55 0.67 มากที่สุด -6.325**
รวม 3.76 0.82 มาก 4.45 0.65 มาก -7.126**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 4 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านสถานที่สำคัญ ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.45) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมากและมากที่สุด รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยว ข้อมูล
การท่องเที่ยว แผนที่ท่องเที่ยว ปฏิทินท่องเที่ยว ( x = 4.55) รองลงมา ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ
และวัด ( x = 4.40)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก( x = 3.76) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่า
ทุกรายการปรากฏในระดับมาก รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลการ
ท่องเที่ยว แผนที่ท่องเที่ยว ปฏิทินท่องเที่ยว ( x = 3.88) รองลงมา ได้แก่ วัด ( x = 3.78) และรายการที่
ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ( x = 3.60)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดย
ใช้ค่าสถิติที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าว
ควรมีในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
72
ตารางที่ 5 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านบุคคล
สำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
ผู้บริหารจังหวัดในอดีต ,ปัจจุบัน 3.43 1.13 ปานกลาง 4.07 0.95 มาก -4.382**
หัวหน้าส่วนราชการ 3.50 1.00 ปานกลาง 4.00 0.99 มาก -3.634**
ผู้ว่าราชการจังหวัด 3.62 0.99 มาก 4.10 0.99 มาก -3.514**
บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น 3.50 1.11 ปานกลาง 4.48 0.85 มาก -6.756**
รวม 3.51 0.91 มาก 4.16 0.83 มาก -5.421**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 5 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.16) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น
( x = 4.48) รองลงมา ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ( x = 4.10) ผู้บริหารจังหวัดในอดีต,ปัจจุบัน( x = 4.07)
และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ หัวหน้าส่วนราชการ ( x = 4.00)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.51) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด
( x = 3.62) รองลงมา ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น ( x = 3.50)
และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ ผู้บริหารจังหวัดในอดีต,ปัจจุบัน ( x = 3.43)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
73
ตารางที่ 6 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านวิถีชีวิต
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูล ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ท้องถิ่นด้านวิถีชีวิต x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
วิถีชาวบ้าน 3.73 1.13 มาก 4.47 0.87 มาก -5.225**
ประเพณีและวัฒนธรรม 3.87 0.95 มาก 4.50 0.79 มาก -5.229**
เทศกาลงานประเพณี 3.83 0.91 มาก 4.45 0.81 มาก -5.520**
ประเพณีพื้นบ้าน 3.80 1.01 มาก 4.45 0.85 มาก -4.773**
ความเชื่อ 3.48 1.13 ปานกลาง 4.27 0.95 มาก -4.908**
การละเล่นพื้นบ้าน 3.53 1.05 มาก 4.37 0.82 มาก -6.383**
ตำนานพื้นบ้าน 3.48 1.10 ปานกลาง 4.30 0.94 มาก -5.611**
นิทานชาวบ้าน 3.33 1.14 ปานกลาง 4.25 0.97 มาก -5.668**
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม 3.62 1.03 มาก 4.40 0.83 มาก -5.563**
รวม 3.63 0.92 มาก 4.38 0.78 มาก -6.400**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 6 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านวิถีชีวิต ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.38) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ประเพณีและวัฒนธรรม ( x = 4.50)
รองลงมา ได้แก่ วิถีชาวบ้าน ( x = 4.47) เทศกาลงานประเพณี ประเพณีพื้นบ้าน ( x = 4.45) และ
รายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ นิทานชาวบ้าน ( x = 4.25)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.63) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ประเพณีและ
วัฒนธรรม ( x = 3.87) รองลงมา ได้แก่ เทศกาลงานประเพณี ( x = 3.83) ประเพณีพื้นบ้าน ( x = 3.80)
และวิถีชาวบ้าน ( x = 3.73) และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ นิทานชาวบ้าน ( x = 3.33) ซึ่งอยู่
ในระดับปานกลาง
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าควรมีในเว็บไซต์ฐานข้อมูล
ท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
74
ตารางที่ 7 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านภูมิปัญญา
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านภูมิปัญญา x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
เกษตรกรรม พืช สัตว์ 3.55 1.06 มาก 4.27 0.86 มาก -4.490**
การแพทย์แผนไทย 3.47 1.03 ปานกลาง 4.32 0.81 มาก -5.739**
สมุนไพรบำบัด สมุนไพร
กับสุขภาพ 3.55 1.11 มาก 4.30 0.89 มาก -4.435**
ยาและสมุนไพรพื้นบ้าน 3.60 1.06 มาก 4.30 0.87 มาก -4.528**
ภาษาและวรรณกรรม 3.43 1.13 ปานกลาง 4.28 0.88 มาก -5.402**
ปรัชญา ศาสนา 3.35 1.18 ปานกลาง 4.35 0.86 มาก -5.673**
ประเพณี 3.80 0.95 มาก 4.42 0.79 มาก -4.319**
รวม 3.54 0.94 มาก 4.32 0.77 มาก -5.501**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 7 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านภูมิปัญญา ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.32) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ประเพณี ( x = 4.42) รองลงมา ได้แก่
ปรัชญา ศาสนา ( x = 4.35) การแพทย์แผนไทย ( x = 4.32) สมุนไพรบำบัด สมุนไพรกับสุขภาพ ยา
และสมุนไพรพื้นบ้าน ( x = 4.30) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ เกษตรกรรม พืช สัตว์ ( x=
4.27)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.54) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ประเพณี ( x = 3.80)
รองลงมา ได้แก่ ยาและสมุนไพรพื้นบ้าน ( x = 3.60) เกษตรกรรม พืช สัตว์ สมุนไพรบำบัด สมุนไพร
กับสุขภาพ ( x = 3.55) และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ ปรัชญา ศาสนา ( x = 3.35)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
75
ตารางที่ 8 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านของดีท้องถิ่น
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านของดีท้องถิ่น x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก 3.82 0.91 มาก 4.37 0.84 มาก -5.543**
โภชนาการ 3.55 1.03 มาก 4.22 0.90 มาก -4.764**
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย 4.12 0.87 มาก 4.47 0.75 มาก -3.017**
หัตถกรรมพื้นบ้าน 3.87 0.96 มาก 4.48 0.72 มาก -5.079**
อุตสาหกรรม 3.43 1.01 ปานกลาง 4.22 0.94 มาก -6.579**
รวม 3.76 0.79 มาก 4.35 0.73 มาก -6.054**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 8 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านของดีท้องถิ่น ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.35) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ หัตถกรรมพื้นบ้าน ( x = 4.48)
รองลงมา ได้แก่ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย ( x = 4.47) อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก
( x = 4.37) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ โภชนาการ อุตสาหกรรม ( x = 4.22)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.76) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ หนึ่งตำบลหนึ่ง
ผลิตภัณฑ์ของไทย ( x = 4.12) รองลงมา ได้แก่ หัตถกรรมพื้นบ้าน ( x = 3.87) อาหารพื้นบ้าน อาหาร
และของฝาก ( x = 3.82) โภชนาการ ( x = 3.55) รายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ อุตสาหกรรม
( x = 3.43)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
76
ตารางที่ 9 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านเอกสารสำคัญ
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านเอกสารสำคัญ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
เอกสารโบราณ 3.12 1.11 ปานกลาง 4.22 0.90 มาก -7.745**
ศิลปกรรมด้านต่างๆ ของท้องถิ่น 3.47 1.08 ปานกลาง 4.25 0.91 มาก -5.563**
รวม 3.29 1.02 ปานกลาง 4.23 0.86 มาก -6.894**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 9 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านเอกสารสำคัญ ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.23) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ศิลปกรรมด้านต่างๆ ของท้องถิ่น
( x = 4.25) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ เอกสารโบราณ ( x = 4.22)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.29) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีรายการปรากฏในระดับปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ศิลปกรรมด้านต่างๆ
ของท้องถิ่น ( x = 3.47) และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ เอกสารโบราณ ( x = 3.12)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
ตารางที่ 10 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านธรรมชาติวิทยา
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านธรรมชาติวิทยา x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.43 1.08 ปานกลาง 4.35 0.82 มาก -7.251**
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 3.28 1.03 ปานกลาง 4.23 0.77 มาก -7.368**
รวม 3.36 0.96 ปานกลาง 4.29 0.74 มาก -7.914**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
77
จากตารางที่ 10 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านธรรมชาติวิทยา ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.29) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
( x = 4.35) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ( x = 4.23)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.36) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีรายการปรากฏในระดับปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ( x = 3.43) และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
( x = 3.28)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
ตารางที่ 11 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านข้อมูลจังหวัด
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านข้อมูลจังหวัด x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด 3.83 0.91 มาก 4.40 0.74 มาก -5.563**
ต้นไม้ประจำจังหวัด 3.63 0.96 มาก 4.30 0.81 มาก -5.765**
เพลงประจำจังหวัด 3.57 0.96 มาก 4.35 0.82 มาก -6.858**
ตราและคำขวัญประจำจังหวัด 3.70 0.96 มาก 4.30 0.89 มาก -5.482**
แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด 3.67 0.93 มาก 4.35 0.82 มาก -6.062**
สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด 3.62 0.85 มาก 4.30 0.77 มาก -6.512**
ภาคเอกชน องค์กร ธุรกิจ มูลนิธิในจังหวัด 3.32 0.98 ปานกลาง 4.15 0.90 มาก -6.088**
ข้อมูลจำนวนประชากร 3.62 0.96 มาก 4.33 0.82 มาก -5.903**
ข้อมูล อำเภอ - ตำบล 3.65 0.88 มาก 4.32 0.91 มาก -5.149**
ข้อมูลแผนพัฒนา / แผนแม่บทท้องถิ่น
และชุมชน
3.45 0.98 ปานกลาง 4.35 0.86 มาก -6.621**
รวม 3.61 0.78 มาก 4.32 0.74 มาก -7.473**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
78
จากตารางที่ 11 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านข้อมูลจังหวัด ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.32) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ประวัติ สภาพทั่วไปของจังหวัด
( x = 4.40) รองลงมา ได้แก่ เพลงประจำจังหวัด แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด ข้อมูลแผนพัฒนา/
แผนแม่บทท้องถิ่นและชุมชน ( x = 4.35) ข้อมูลจำนวนประชากร ( x = 4.33) และรายการที่ควรมีใน
ลำดับสุดท้าย คือ ภาคเอกชน องค์กร ธุรกิจ มูลนิธิในจังหวัด ( x = 4.15)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.61) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ประวัติ สภาพ
โดยทั่วไปของจังหวัด ( x = 3.83) รองลงมา ได้แก่ ตราและคำขวัญประจำจังหวัด ( x = 3.70) แผนที่
ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด ( x = 3.67) ข้อมูลอำเภอ – ตำบล ( x = 3.65) และรายการที่ปรากฏในลำดับ
สุดท้าย คือ ภาคเอกชน องค์กร ธุรกิจ มูลนิธิในจังหวัด ( x = 3.32)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
ตารางที่ 12 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านฐานข้อมูล
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านฐานข้อมูล x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
ฐานข้อมูลจังหวัด 3.78 1.03 มาก 4.40 0.81 มาก -5.649**
ฐานข้อมูลในประเทศไทย 3.73 1.01 มาก 4.38 0.78 มาก -5.603**
ฐานข้อมูลหนังสือ 3.50 1.08 ปานกลาง 4.27 0.90 มาก -6.534**
รวม 3.67 0.92 มาก 4.35 0.78 มาก -6.701**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
79
จากตารางที่ 12 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านฐานข้อมูล ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.35) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ฐานข้อมูลจังหวัด ( x = 4.40)
รองลงมา ได้แก่ ฐานข้อมูลในประเทศไทย ( x = 4.38) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ
ฐานข้อมูลหนังสือ ( x = 4.27)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.67) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ฐานข้อมูลจังหวัด
( x = 3.78) รองลงมา ได้แก่ ฐานข้อมูลในประเทศไทย ( x = 3.73) และรายการที่ปรากฏในลำดับ
สุดท้าย คือ ฐานข้อมูลหนังสือ ( x = 3.50)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
ตารางที่ 13 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านเว็บไซต์แนะนำ
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ด้านเว็บไซต์แนะนำ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ 3.80 1.09 มาก 4.40 0.89 มาก -5.131**
อีเมล์หน่วยงานต่างๆ 3.58 1.03 มาก 4.28 0.88 มาก -5.974**
แนะนำอินเทอร์เน็ตตำบล 3.60 1.14 มาก 4.35 0.86 มาก -6.233**
Web Link กระทรวงต่างๆ 3.80 1.04 มาก 4.35 0.84 มาก -5.120**
กระดานถาม – ตอบ (Web board) 3.48 1.11 ปานกลาง 4.18 0.97 มาก -6.236**
สมุดเยี่ยม (Guest book) 3.35 1.01 ปานกลาง 4.03 1.07 มาก -6.201**
ห้องสนทนา (Chat room) 3.23 1.06 ปานกลาง 3.93 1.10 มาก -5.028**
Media VDO On Demand 3.20 1.18 ปานกลาง 4.22 0.88 มาก -6.986**
รวม 3.51 0.88 มาก 4.22 0.81 มาก -7.687**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
80
จากตารางที่ 13 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านเว็บไซต์แนะนำ ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.22) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ ( x = 4.40)
รองลงมา ได้แก่ แนะนำอินเทอร์เน็ตตำบล Web Link กระทรวงต่างๆ ( x = 4.35) อีเมล์หน่วยงาน
ต่างๆ ( x = 4.28) Media on Demand ( x = 4.22) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ ห้องสนทนา
(Chat room) ( x = 3.93)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.51) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมากและปานกลาง รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ เว็บไซต์หน่วยงาน
ต่างๆ Web Link กระทรวงต่างๆ ( x = 3.80) รองลงมา ได้แก่ แนะนำอินเทอร์เน็ตตำบล ( x = 3.60)
อีเมล์หน่วยงานต่างๆ ( x = 3.58) กระดานถาม-ตอบ (Web board) ( x = 3.48) และรายการที่ปรากฏใน
ลำดับสุดท้าย คือ Media VDO On Demand ( x = 3.20)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
จากตารางที่ 3-13 พบว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในด้านสถานที่
สำคัญ ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ด้านวิถีชีวิต ด้านภูมิปัญญา ด้านของดีท้องถิ่น ด้าน
เอกสารสำคัญ ด้านธรรมชาติวิทยา ด้านข้อมูลจังหวัด ด้านฐานข้อมูล และด้านเว็บไซต์แนะนำ ทุก
รายการควรมีปรากฏในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งสิ้น
ตอนที่ 4 ความเหมาะสมของรูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จากผู้ตอบแบบสอบถาม
ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ได้มาจากการเปรียบเทียบระดับความเหมาะสม
ของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ปรากฏในเว็บไซต์กับระดับที่ควรมี
ปรากฏในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาพรวม และด้านต่างๆ ปรากฏผลดัง
ตารางต่อไปนี้
81
ตารางที่ 14 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ค่าที(t)
ด้านเนื้อหา 3.73 0.65 มาก 4.18 0.46 มาก - 7.627**
ด้านรูปแบบการนำเสนอ 3.67 0.76 มาก 4.16 0.52 มาก - 7.313**
ด้านระบบการสื่อสาร 3.54 0.75 มาก 4.21 0.65 มาก - 7.976**
รวม 3.67 0.67 มาก 4.17 0.45 มาก - 6.034**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 14 พบว่าความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.17) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ด้านระบบการสื่อสาร ( x = 4.21)
รองลงมา ได้แก่ ด้านเนื้อหา ( x = 4.18) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ ด้านรูปแบบการ
นำเสนอ ( x = 4.16)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.67) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมาก รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ด้านเนื้อหา ( x = 3.73) รองลงมา
ได้แก่ ด้านรูปแบบการนำเสนอ ( x = 3.67) และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ ด้านระบบการ
สื่อสาร ( x = 3.54)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
82
ตารางที่ 15 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านเนื้อหา
รูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
มหาวิทยาลัยราชภัฏด้านเนื้อหา x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ค่าที(t)
เนื้อหามีความชัดเจน 3.88 0.74 มาก 4.25 0.66 มาก - 4.353**
เนื้อหาครบถ้วนสมบรูณ์ 3.60 0.83 มาก 4.19 0.64 มาก - 7.108**
เนื้อหาเข้าใจง่าย 3.78 0.74 มาก 4.14 0.64 มาก - 4.337**
เนื้อหามีความน่าสนใจ 3.73 0.80 มาก 4.14 0.72 มาก - 4.409**
เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ 3.77 0.85 มาก 4.14 0.55 มาก - 5.211**
เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า 3.67 0.77 มาก 4.07 0.70 มาก - 4.444**
เนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้ 3.65 0.76 มาก 4.32 0.69 มาก - 7.528**
รวม 3.73 0.65 มาก 4.18 0.46 มาก - 7.627**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 15 พบว่าความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านเนื้อหา ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.18) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ เนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้ (x = 4.32)
รองลงมา ได้แก่ เนื้อหามีความชัดเจน ( x = 4.25) เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ ( x = 4.19) เนื้อหาเข้าใจง่าย
เนื้อหามีความน่าสนใจ เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ ( x = 4.14) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย
คือ เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า ( x = 4.07)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.73) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมาก รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ เนื้อหามีความชัดเจน ( x = 3.88)
รองลงมา ได้แก่ เนื้อหาเข้าใจง่าย ( x = 3.78) เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ ( x = 3.77) เนื้อหามีความ
น่าสนใจ ( x = 3.73) และรายการที่ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ ( x = 3.60)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
83
ตารางที่ 16 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านรูปแบบการนำเสนอ
รูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
มหาวิทยาลัยราชภัฏด้านรูปแบบการนำเสนอ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ค่าที(t)
รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น 3.67 0.82 มาก 4.09 0.69 มาก - 4.719**
รูปแบบโดยรวมของ Homepage 3.68 0.91 มาก 4.12 0.63 มาก - 5.432**
ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบ
ของ Homepage 3.58 0.89 มาก 3.93 0.75 มาก
- 3.608**
ความเหมาะสมของสี ของ Homepage 3.62 0.92 มาก 4.00 0.71 มาก - 4.130**
ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage 3.77 0.87 มาก 4.04 0.65 มาก - 4.762**
ความเหมาะสมของรายการเมนูใน Homepage 3.65 0.86 มาก 4.23 0.63 มาก - 7.160**
ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage 3.75 0.86 มาก 4.33 0.79 มาก - 5.686**
รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น 3.73 0.84 มาก 4.25 0.61 มาก - 6.582**
ความเหมาะสมของสี ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น 3.65 0.84 มาก 4.02 0.74 มาก - 3.854**
ความเหมาะสมของตัวอักษรของการแสดง
ข้อมูลท้องถิ่น
3.63 0.90 มาก 4.14 0.83 มาก - 4.466**
ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดง
ข้อมูลท้องถิ่น
3.73 0.88 มาก 4.19 0.64 มาก - 5.181**
ความสะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น 3.67 0.91 มาก 4.47 0.68 มาก - 9.091**
ความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น 3.63 0.90 มาก 4.26 0.77 มาก - 6.364**
รวม 3.67 0.76 มาก 4.16 0.52 มาก - 7.313**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 16 พบว่าความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านรูปแบบการนำเสนอ ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.16) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ ความสะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น
( x = 4.47) รองลงมา ได้แก่ ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage ( x = 4.33) ความสะดวก
ในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น( x = 4.26) รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น( x = 4.25) และ
84
รายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage
( x = 3.93)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.67) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมาก รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ
Homepage ( x = 3.77) รองลงมา ได้แก่ ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage ( x = 3.75)
รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดงข้อมูล
ท้องถิ่น (x = 3.73) รูปแบบโดยรวมของ Homepage ( x = 3.68) และรายการที่ปรากฏในลำดับ
สุดท้าย คือ ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage ( x = 3.58)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
ตารางที่ 17 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านระบบ
การสื่อสาร
รูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏ ระดับที่ควรมี
มหาวิทยาลัยราชภัฏด้านระบบสื่อสาร x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ค่าที(t)
ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อเทียบ
กับเว็บไซต์อื่น
3.52 0.95 มาก 4.26 0.79 มาก - 7.255**
ความต่อเนื่องและชัดเจน 3.53 0.77 มาก 4.11 0.75 มาก - 5.979**
การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้าอื่นใน Web site
เดียวกัน
3.60 0.85 มาก 4.30 0.65 มาก - 8.642**
การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ 3.52 0.77 มาก 4.18 0.76 มาก - 6.735**
รวม 3.54 0.75 มาก 4.21 0.65 มาก - 7.976**
หมายเหตุ ** หมายถึง มีนัยสำคัญที่ระดับ .01
จากตารางที่ 17 พบว่าความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านระบบการสื่อสาร ดังนี้
ระดับที่ควรมี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.21) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่าทุก
รายการควรมีในระดับมาก รายการที่ควรมีในลำดับแรก ได้แก่ การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้าอื่นใน Web
site เดียวกัน ( x = 4.30) รองลงมา ได้แก่ ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น
85
( x = 4.26) การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ ( x = 4.18) และรายการที่ควรมีในลำดับสุดท้าย คือ
ความต่อเนื่องและชัดเจน ( x = 4.11)
ระดับที่ปรากฏ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.54) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการพบว่ามี
รายการปรากฏในระดับมาก รายการที่ปรากฏในลำดับแรก ได้แก่ การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้าอื่นใน
Web site เดียวกัน ( x = 3.60) รองลงมา ได้แก่ ความต่อเนื่องและชัดเจน( x = 3.53) และรายการที่
ปรากฏในลำดับสุดท้าย คือ ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น การเชื่อมโยง
ไปเว็บไซต์อื่นในระบบ ( x = 3.52)
เมื่อนำระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าสถิติ
ที พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่าทุกรายการดังกล่าวควรมีใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
จากตารางที่ 14 - 17 พบว่า รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในด้าน
เนื้อหา ด้านรูปแบบการนำเสนอ และด้านระบบการสื่อสาร ทุกรายการควรมีปรากฏในเว็บไซต์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งสิ้น
ตอนที่ 5 แนวทางการปรับปรุงเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามความ
คิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม สามารถสรุปเป็นรายข้อได้ดังนี้
1. ด้านเนื้อหา
1.1 ควรมีการนำเสนอเนื้อหาที่น่าสนใจ ครอบคลุมทุกเรื่อง และมีเนื้อหาในเชิงลึก
1.2 ควรมีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างต่อเนื่อง
1.3 ควรปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
1.4 ควรมีความความละเอียดครบถ้วน มีความชัดเจนเข้าใจง่าย
1.5 ควรมีการตรวจสอบตัวสะกด
1.6 ควรมีแหล่งข้อมูลอ้างอิง ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้
1.7 ควรมีการเพิ่มข้อมูลตลอดเวลาเพื่อให้เกิดความสนใจ
1.8 ควรมีความสมบูรณ์ถูกต้องตามหลักความเป็นจริง
1.9 ควรมีการสอดแทรกภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบสื่อประสมเพื่อ
เพิ่มความสนใจของผู้ใช้
1.10 ควรเพิ่มเนื้อหาสาระให้สอดคล้องกับท้องถิ่น
1.11 ควรเพิ่มข้อมูลด้านประวัติท้องถิ่น และรูปภาพในอดีต ให้มากขึ้น
1.12 ควรเน้นภาพรวมแผนยุทธศาสตร์ เน้นตัวบุคคล และนวัตกรรมใหม่ๆ
86
1.13 ควรเน้นการให้ข้อมูลเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสื่อปฏิสัมพันธ์วัฒนธรรมของชาติให้
มากขึ้น
2. ด้านรูปแบบ
2.1 ควรมีภาพประกอบ และภาพเคลื่อนไหวเพื่อดึงดูดความสนใจ
2.2 ควรมีรูปแบบที่สวยงาม มีสีสันที่น่าสนใจ
2.3 ควรมีรูปแบบที่ทันสมัย เข้าใจได้ง่าย และมีการปรับปรุงตลอดเวลา
2.4 ควรเปลี่ยนแปลงหน้าจอหลัก
2.5 ควรมีเครื่องมือช่วยค้น
2.6 ควรปรับปรุงรูปแบบให้เหมาะสมกับเนื้อหา และปรับเปลี่ยนรูปแบบให้ดึงดูด
ความสนใจในการเข้าชม
2.7 ควรมีการปรับปรุงรูปแบบของตัวอักษรที่ชัดเจน
2.8 ควร Update ข้อมูลอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
3. ด้านสภาพของเว็บไซต์
3.1 ควรปรับปรุงให้มีการเข้าถึงเว็บไซต์ และการเชื่อมโยงข้อมูลไปเว็บไซต์อื่นให้มี
ความสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
3.2 ควรมีการปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความเป็นปัจจุบันและมีความสมบูรณ์มากขึ้น
3.3 ควรปรับปรุงเว็บไซต์ให้น่าสนใจเพื่อจูงใจในการเข้าใช้
3.4 ควรมีการตรวจสอบ และปรับปรุงด้านเนื้อหาและรูปแบบให้เหมาะสมอยู่เสมอ
3.5 ควรเชื่อมโยงฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
3.6 ควรปรับเปลี่ยน Homepage และรายการเมนูต่างๆ เพื่อดึงดูดความสนใจ
ตอนที่ 6 ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จากผู้ทรงคุณวุฒิ
จากผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในตารางที่ 3-13 และแนวทาง
การปรับปรุงในตอนที่ 5 ผู้วิจัยได้นำผลการวิเคราะห์มาสรุปเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏแล้วนำไปเสนอผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินระดับความเหมาะสมและความเป็นไป
ได้พบว่าส่วนใหญ่มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในระดับมาก ดังแสดงในตารางที่ 18 -30 ยกเว้นบาง
รายการที่มีอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า x = 3.51 จะไม่นำเสนอในตาราง ปรากฏผลดัง ต่อไปนี้
87
ตารางที่ 18 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
โดยรวมในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
มหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวม x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
สถานที่สำคัญ 4.60 0.55 มากที่สุด 4.40 0.55 มาก
บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน 4.40 0.60 มาก 4.40 0.60 มาก
วิถีชีวิต 4.35 0.69 มาก 4.15 0.50 มาก
ภูมิปัญญา 4.40 0.83 มาก 4.13 0.69 มาก
ของดีท้องถิ่น 4.64 0.43 มากที่สุด 4.44 0.55 มาก
ข้อมูลจังหวัด 4.50 0.53 มาก 4.26 0.53 มาก
ฐานข้อมูล 4.80 0.45 มากที่สุด 3.87 0.96 มาก
เว็บไซต์แนะนำ 4.25 1.20 มาก 4.30 0.54 มาก
รวม 4.47 0.56 มาก 4.30 0.48 มาก
จากตารางที่ 18 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวมในรูปแบบที่
สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.30) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมาก รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก ได้แก่ ของดี
ท้องถิ่น( x = 4.44) รองลงมา ได้แก่ สถานที่สำคัญ บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ( x = 4.40)
เว็บไซต์แนะนำ ( x = 4.30) ข้อมูลจังหวัด ( x = 4.26) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย
คือ ฐานข้อมูล ( x = 3.87)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.47) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่
ฐานข้อมูล ( x = 4.80) รองลงมา ได้แก่ ของดีท้องถิ่น ( x = 4.64) สถานที่สำคัญ ( x = 4.60) ข้อมูล
จังหวัด ( x = 4.50) และรายการที่มีความเหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ เว็บไซต์แนะนำ ( x = 4.25)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
88
ตารางที่ 19 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านสถานที่สำคัญในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านสถานที่สำคัญ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
โบราณสถาน โบราณวัตถุ 4.60 0.55 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
วัด 4.40 0.89 มาก 4.40 0.55 มาก
แหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว
แผนท่องเที่ยว ปฏิทินท่องเที่ยว
4.80 0.45 มากที่สุด 4.20 0.84 มาก
รวม 4.60 0.55 มากที่สุด 4.40 0.55 มาก
จากตารางที่ 19 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ด้านสถานที่สำคัญในรูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.40) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ วัด ( x = 4.40) และรายการที่มีความเป็นไป
ได้ในลำดับสุดท้าย คือ แหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว แผนท่องเที่ยว ปฏิทินท่องเที่ยว (x = 4.20)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.60) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่ แหล่ง
ท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว แผนท่องเที่ยว ปฎิทินท่องเที่ยว ( x = 4.80) รองลงมา ได้แก่ โบราณสถาน
โบราณวัตถุ ( x = 4.60) และรายการที่มีความเหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ วัด ( x = 4.40)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
ตารางที่ 20 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้านในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ผู้บริหารจังหวัดในอดีต และปัจจุบัน 4.40 0.89 มาก 4.40 0.89 มาก
ผู้ว่าราชการจังหวัด 4.00 1.00 มาก 4.20 0.84 มาก
บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น 4.80 0.45 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
รวม 4.40 0.60 มาก 4.40 0.60 มาก
89
จากตารางที่ 20 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านบุคคลสำคัญและ
ปราชญ์ชาวบ้านในรูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.40) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ ผู้บริหารจังหวัดในอดีต และ
ปัจจุบัน ( x = 4.40) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ ผู้ว่าราชการจังหวัด (x = 4.20)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.40) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่
บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น ( x = 4.80) รองลงมา ได้แก่ ผู้บริหารจังหวัดในอดีต และ
ปัจจุบัน( x = 4.40) และรายการที่มีความเหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ ผู้ว่าราชการจังหวัด ( x = 4.00)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
ตารางที่ 21 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านวิถีชีวิตในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านวิถีชีวิต x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
วิถีชาวบ้าน 4.80 0.45 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
ประเพณีและวัฒนธรรม 4.20 1.79 มาก 4.20 0.84 มาก
ประเพณีพื้นฐาน 4.00 1.73 มาก 3.60 1.52 มาก
การละเล่นพื้นบ้าน 4.80 0.45 มากที่สุด 4.40 0.55 มาก
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม 4.00 1.73 มาก 4.20 0.84 มาก
รวม 4.36 0.83 มาก 4.20 0.51 มาก
จากตารางที่ 21 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้านวิถีชีวิตในรูปแบบ
ที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.20) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ วิถีชาวบ้าน ( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ การละเล่นพื้นบ้าน( x = 4.40) ประเพณีและวัฒนธรรม
90
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ( x = 4.20) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ ประเพณี
พื้นบ้าน( x = 3.60)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.36) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่
วิถีชาวบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน ( x = 4.80) รองลงมา ได้แก่ ประเพณีและวัฒนธรรม( x = 4.20) และ
รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ ประเพณีพื้นบ้าน เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ( x = 4.00)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
ตารางที่ 22 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านภูมิปัญญาในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านภูมิปัญญา x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
เกษตรกรรม พืช สัตว์ 4.60 0.55 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
สมุนไพรบำบัด สมุนไพรกับสุขภาพ 4.00 1.73 มาก 4.00 1.00 มาก
ประเพณี 3.80 1.79 มาก 3.60 1.67 มาก
รวม 4.13 1.24 มาก 4.07 0.86 มาก
จากตารางที่ 22 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้านภูมิปัญญาใน
รูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.07) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ เกษตรกรรม พืช สัตว์ ( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ สมุนไพรบำบัด สมุนไพรกับสุขภาพ
( x = 4.00) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ ประเพณี ( x = 3.60)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.13) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่
เกษตรกรรม พืช สัตว์ ( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ สมุนไพรบำบัด สมุนไพรกับสุขภาพ( x = 4.00)
และรายการที่มีความเหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ ประเพณี ( x = 3.80)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
91
ตารางที่ 23 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านของดีท้องถิ่นในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านของดีท้องถิ่น x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก 4.80 0.45 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
โภชนาการ 3.60 1.67 มาก 4.00 1.00 มาก
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย 5.00 0.00 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
หัตถกรรมพื้นบ้าน 5.00 0.00 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
รวม 4.60 0.52 มากที่สุด 4.45 0.57 มาก
จากตารางที่ 23 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้านของดีท้องถิ่นใน
รูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.45) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย หัตถกรรมพื้นบ้าน
( x = 4.60) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ โภชนาการ ( x = 4.00)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.60) และเมื่อวิเคราะห์เป็น
รายการพบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก
ได้แก่ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย และหัตถกรรมพื้นบ้าน( x = 5.00) รองลงมา ได้แก่ อาหาร
พื้นบ้าน อาหารและของฝาก ( x = 4.80) และรายการที่มีความเหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ
โภชนาการ ( x = 3.60)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
92
ตารางที่ 24 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้าน
ข้อมูลจังหวัดในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านข้อมูลจังหวัด x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด 5.00 0.00 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
ต้นไม้ประจำจังหวัด 4.60 0.89 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
เพลงประจำจังหวัด 4.80 0.45 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
ตราและคำขวัญประจำจังหวัด 4.80 0.45 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด 4.80 0.45 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด 4.80 0.45 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
ข้อมูลจำนวนประชากร 3.80 1.64 มาก 3.60 1.52 มาก
ข้อมูล อำเภอ - ตำบล 4.20 0.84 มาก 4.00 0.71 มาก
รวม 4.60 0.48 มากที่สุด 4.40 0.45 มาก
จากตารางที่ 24 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้านข้อมูลจังหวัดใน
รูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.40) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด ต้นไม้ประจำจังหวัด เพลงประจำจังหวัด ตราและคำ
ขวัญประจำจังหวัด แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด ( x = 4.60)
รองลงมา ได้แก่ ข้อมูล อำเภอ - ตำบล ( x = 4.00) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ
ข้อมูลจำนวนประชากร ( x = 3.60)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.60) และเมื่อวิเคราะห์เป็น
รายการพบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก
ได้แก่ ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด ( x = 5.00) รองลงมา ได้แก่ เพลงประจำจังหวัด ตราและ
คำขวัญประจำจังหวัด แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด ( x = 4.80)
ต้นไม้ประจำจังหวัด ( x = 4.60) ข้อมูล อำเภอ – ตำบล ( x = 4.20) และรายการที่มีความเหมาะสมใน
ลำดับสุดท้าย คือ ข้อมูลจำนวนประชากร ( x = 3.80)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
93
ตารางที่ 25 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านฐานข้อมูลในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านฐานข้อมูล x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ฐานข้อมูลจังหวัด 4.80 0.45 มากที่สุด 4.00 0.71 มาก
ฐานข้อมูลในประเทศไทย 4.80 0.45 มากที่สุด 3.80 1.10 มาก
ฐานข้อมูลหนังสือ 4.80 0.45 มากที่สุด 3.80 1.10 มาก
รวม 4.80 0.45 มากที่สุด 3.87 0.96 มาก
จากตารางที่ 25 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้านฐานข้อมูลใน
รูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 3.87) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมาก รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก ได้แก่
ฐานข้อมูลจังหวัด ( x = 4.00) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ ฐานข้อมูลใน
ประเทศไทย ฐานข้อมูลหนังสือ( x = 3.80)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.80) และเมื่อวิเคราะห์เป็น
รายการพบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ทุกรายการมีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่
ฐานข้อมูลจังหวัด ฐานข้อมูลในประเทศไทย และฐานข้อมูลหนังสือ ( x = 4.80)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
ตารางที่ 26 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านเว็บไซต์แนะนำในรูปแบบที่สร้าง
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ด้านเว็บไซต์แนะนำ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ 4.40 0.89 มาก 4.40 0.55 มาก
อีเมลล์หน่วยงานต่างๆ 4.40 0.89 มาก 4.40 0.55 มาก
แนะนำอินเตอร์เน็ตตำบล 4.00 1.73 มาก 4.20 0.84 มาก
Web Link กระทรวงต่างๆ 4.00 1.73 มาก 4.60 0.55 มากที่สุด
รวม 4.20 1.30 มาก 4.40 0.55 มาก
94
จากตารางที่ 26 เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้านเว็บไซต์แนะนำใน
รูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.40) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ Web Link กระทรวงต่างๆ ( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ อีเมล์หน่วยงาน
ต่างๆ ( x = 4.40) และรายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ แนะนำอินเทอร์เน็ตตำบล
( x = 4.20)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.20) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่ เว็บไซต์
หน่วยงานต่างๆ อีเมล์หน่วยงานต่างๆ ( x = 4.40) และรายการที่มีความเหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ
แนะนำอินเทอร์เน็ตตำบล Web Link กระทรวงต่างๆ( x = 4.00)
สรุปได้ว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
จากตารางที่ 18- 26 พบว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวม
และด้านสถานที่สำคัญ ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ด้านภูมิปัญญา ด้านของดีท้องถิ่น ด้าน
ข้อมูลจังหวัด ด้านฐานข้อมูล และด้านเว็บไซต์แนะนำ ตามรูปแบบที่กำหนด มีความเหมาะสมและ
เป็นไปได้ทุกรายการ
ตอนที่ 7 ความเหมาะสมของรูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จากผู้ทรงคุณวุฒิ
จากผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในตารางที่ 3-13 ผู้วิจัยได้
นำผลการวิเคราะห์มาสรุปรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏแล้วนำไปเสนอ
ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินระดับความเหมาะสมและความเป็นไปได้พบว่าส่วนใหญ่มีความเหมาะสม
และเป็นไปได้ในระดับมาก ดังแสดงในตารางที่ 18 -30 ยกเว้นบางรายการที่มีอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า
x = 3.51 จะไม่นำเสนอในตาราง ปรากฏผลดังต่อไปนี้
95
ตารางที่ 27 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
โดยรวมในรูปแบบที่สร้าง
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
มหาวิทยาลัยราชภัฏ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ด้านเนื้อหา 4.57 0.47 มากที่สุด 4.20 0.81 มาก
ด้านรูปแบบการนำเสนอ 4.32 0.85 มาก 4.25 0.83 มาก
ด้านระบบการสื่อสาร 4.25 0.83 มาก 4.10 0.89 มาก
รวม 4.38 0.73 มาก 4.21 0.79 มาก
จากตารางที่ 27 รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวมในรูปแบบที่
สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.21) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมาก รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก ได้แก่ ด้าน
รูปแบบการนำเสนอ ( x = 4.25) รองลงมา ได้แก่ ด้านเนื้อหา ( x = 4.20) และรายการที่มีความเป็นไป
ได้ในลำดับสุดท้าย คือ ด้านระบบการสื่อสาร ( x = 4.10)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.38) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่ ด้าน
เนื้อหา ( x = 4.57) รองลงมา ได้แก่ ด้านรูปแบบการนำเสนอ ( x = 4.32) และรายการที่มีความ
เหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ ด้านระบบการสื่อสาร ( x = 4.25)
สรุปได้ว่ารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
ตารางที่ 28 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านเนื้อหาในรูปแบบที่สร้าง
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ที่ปรากฏ ด้านเนื้อหา x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
เนื้อหามีความชัดเจน 4.60 0.55 มากที่สุด 4.60 0.55 มากที่สุด
เนื้อหาครบถ้วนสมบรูณ์ 4.60 0.89 มากที่สุด 4.20 0.84 มาก
เนื้อหาเข้าใจง่าย 4.60 0.89 มากที่สุด 4.00 1.00 มาก
96
ตารางที่ 28 (ต่อ)
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ที่ปรากฏ ด้านเนื้อหา x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
เนื้อหามีความน่าสนใจ 4.40 0.55 มาก 4.20 0.84 มาก
เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ 4.60 0.55 มากที่สุด 4.20 0.84 มาก
เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า 4.40 0.89 มาก 4.00 1.41 มาก
เนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้ 4.80 0.45 มากที่สุด 4.20 0.84 มาก
รวม 4.57 0.47 มากที่สุด 4.20 0.81 มาก
จากตารางที่ 28 รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านเนื้อหาในรูปแบบที่
สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.20) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก
ได้แก่ เนื้อหามีความชัดเจน ( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ เนื้อหามีความ
น่าสนใจ เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ เนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้ ( x = 4.20) และรายการที่มี
ความเป็นไปได้ในลำดับสุดท้าย คือ เนื้อหาเข้าใจง่าย เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า
( x = 4.00)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.57) และเมื่อวิเคราะห์เป็น
รายการพบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก
ได้แก่ เนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้ ( x = 4.80) รองลงมา ได้แก่ เนื้อหามีความชัดเจน เนื้อหา
ครบถ้วนสมบูรณ์ เนื้อหาเข้าใจง่าย เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ ( x = 4.60) และรายการที่มีความ
เหมาะสมในลำดับสุดท้าย คือ เนื้อหามีความน่าสนใจ เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า
( x = 4.40)
สรุปได้ว่ารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
97
ตารางที่ 29 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านรูปแบบการนำเสนอในรูปแบบที่สร้าง
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ที่ปรากฏ ด้านรูปแบบการนำเสนอ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น 4.20 0.84 มาก 4.40 0.89 มาก
รูปแบบโดยรวมของ Homepage 4.20 0.84 มาก 4.20 0.84 มาก
ความเหมาะสมของฉากหลัง
และภาพประกอบของ Homepage 4.60 0.89
มากที่สุด 4.40 0.89
มาก
ความเหมาะสมของสี ของ Homepage 4.40 0.89 มาก 4.40 0.89 มาก
ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage 4.40 0.89 มาก 4.40 0.89 มาก
ความเหมาะสมของรายการเมนูใน Homepage 4.20 0.84 มาก 4.20 0.84 มาก
ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน
Homepage
4.20 0.84 มาก 4.20 0.84 มาก
รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น 4.40 0.89 มาก 4.20 0.84 มาก
ความเหมาะสมของสี ของการแสดงข้อมูล
ท้องถิ่น
4.40 0.89 มาก 4.20 0.84 มาก
ความเหมาะสมของตัวอักษรของการแสดง
ข้อมูลท้องถิ่น
4.20 1.10 มาก 4.20 0.84 มาก
ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดง
ข้อมูลท้องถิ่น
4.20 0.84 มาก 4.40 0.89 มาก
ความสะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น 4.40 0.89 มาก 4.00 1.00 มาก
ความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น 4.40 0.89 มาก 4.00 1.00 มาก
รวม 4.32 0.85 มาก 4.25 0.83 มาก
จากตารางที่ 29 รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านรูปแบบการ
นำเสนอในรูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.25) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมาก รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก ได้แก่
รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage ความ
98
เหมาะสมของสี ของ Homepage ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage ความเหมาะสมของ
ของรายการเมนูในการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ( x = 4.40) รองลงมา ได้แก่ รูปแบบโดยรวมของ
Homepage ความเหมาะสมของรายการเมนูใน Homepage ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน
Homepage รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของสี ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
ความเหมาะสมของตัวอักษร ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ( x = 4.20) และรายการที่มีความเป็นไปได้
ในลำดับสุดท้าย คือ ความสะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น ความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูล
ท้องถิ่น ( x = 4.00)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.32) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากและมากที่สุด รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่
ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage ( x = 4.60) รองลงมา ได้แก่ ความ
เหมาะสมของสี ของ Homepage ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage รูปแบบโดยรวมของการ
แสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของสี ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความสะดวกในการเจาะค้น
ข้อมูลท้องถิ่น ความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น ( x = 4.40) และรายการที่มีความเหมาะสม
ในลำดับสุดท้าย คือ รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น รูปแบบโดยรวมของ Homepage ความเหมาะสม
ของรายการเมนูใน Homepage ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage ความเหมาะสมของ
ตัวอักษร ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
( x = 4.20)
สรุปได้ว่ารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
99
ตารางที่ 30 ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้านระบบการสื่อสารในรูปแบบที่สร้าง
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นที่ ระดับความเหมาะสม ระดับความเปน็ ไปได ้
ปรากฏ ในการให้บริการด้านสารสนเทศ
ในปัจจุบัน ด้านระบบการสื่อสาร
x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ
ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อ
เทียบกับเว็บไซต์อื่น
4.40 0.89 มาก 4.20 0.84 มาก
ความต่อเนื่องและชัดเจน 4.40 0.89 มาก 4.20 0.84 มาก
การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้าอื่นใน Web
site เดียวกัน
4.40 0.89 มาก 4.00 1.00 มาก
การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ 3.80 1.30 มาก 4.00 1.00 มาก
รวม 4.25 0.83 มาก 4.10 0.89 มาก
จากตารางที่ 30 รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านระบบการสื่อสาร
ในรูปแบบที่สร้าง พบว่า
ระดับความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.10) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่าทุกรายการมีความเป็นไปได้ในระดับมาก รายการที่มีความเป็นไปได้ในลำดับแรก ได้แก่ ความ
รวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น ความต่อเนื่องและชัดเจน ( x = 4.20) รองลงมา
ได้แก่ การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้าอื่นใน Web site เดียวกัน การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ
( x = 4.00)
ระดับความเหมาะสม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.25) และเมื่อวิเคราะห์เป็นรายการ
พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก รายการที่มีความเหมาะสมในลำดับแรก ได้แก่ ความรวดเร็วใน
การเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น ความต่อเนื่องและชัดเจน การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้า อื่น
ใน Web site เดียวกัน ( x = 4.40) รองลงมา ได้แก่ การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ ( x = 3.80)
สรุปได้ว่ารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏตามรูปแบบที่กำหนดมีความ
เหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
จากตารางที่ 27-30 พบว่ารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวม และด้าน
เนื้อหา ด้านรูปแบบการนำเสนอ และด้านระบบการสื่อสาร ตามรูปแบบที่กำหนด มีความเหมาะสมและ
เป็นไปได้ทุกรายการ
100
ตอนที่ 8 สรุปรูปแบบที่เหมาะสมและเป็นไปได้ของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
1. ด้านเนื้อหาที่เหมาะสมและเป็นไปได้ควรมีลักษณะ ดังนี้
1.1 ด้านสถานที่สำคัญ ประกอบด้วย โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัด แหล่ง
ท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว แผนที่ท่องเที่ยว และปฏิทินท่องเที่ยว
1.2 ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ประกอบด้วย ผู้บริหารจังหวัดในอดีต
และปัจจุบัน บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น และผู้ว่าราชการจังหวัด
1.3 ด้านวิถีชีวิต ประกอบด้วย วิถีชาวบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน ประเพณีและ
วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน และเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
1.4 ด้านภูมิปัญญา ประกอบด้วย เกษตรกรรม พืช สมุนไพรบำบัด สมุนไพร กับ
สุขภาพ และประเพณีต่างๆ
1.5 ด้านของดีท้องถิ่น ประกอบด้วย อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก หนึ่ง
ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย หัตถกรรมพื้นบ้าน และโภชนาการ
1.6 ด้านข้อมูลจังหวัด ประกอบด้วย ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด ต้นไม้
ประจำจังหวัด เพลงประจำจังหวัด ตราและคำขวัญประจำจังหวัด แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด
สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด ข้อมูลจำนวนประชากร ตลอดจนข้อมูล อำเภอ - ตำบล
1.7 ด้านฐานข้อมูล ประกอบด้วย ฐานข้อมูลจังหวัด ฐานข้อมูลในประเทศไทย
และฐานข้อมูลหนังสือ
1.8 ด้านเว็บไซต์แนะนำ ประกอบด้วย เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ อีเมล์หน่วยงาน
ต่างๆ แนะนำอินเทอร์เน็ตตำบล และWeb Link กระทรวงต่างๆ
2. ด้านรูปแบบที่เหมาะสมและเป็นไปได้ควรมีลักษณะ ดังนี้
2.1 ด้านเนื้อหา ประกอบด้วย เนื้อหามีความชัดเจน เนื้อหาควรครบถ้วนสมบูรณ์
เนื้อหาเข้าใจง่าย เนื้อหามีความน่าสนใจ เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจ
ในแต่ละหน้า และเนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้
2.2 ด้านรูปแบบการนำเสนอ ประกอบด้วย รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น ความ
เหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage ความเหมาะสมของสี ของ Homepage
ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดงข้อมูล
ท้องถิ่น รูปแบบโดยรวมของ Homepage ความเหมาะสมของรายการเมนูใน Homepage ความ
สะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสม
101
ของสี ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของตัวอักษร ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความ
สะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น และความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น
2.3 ด้านระบบการสื่อสาร ประกอบด้วย ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ ความ
ต่อเนื่องและชัดเจน การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้าอื่นใน Web site เดียวกัน และการเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่น
ในระบบ
102
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
การศึกษาวิจัยเรื่อง รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีวัตถุประสงค์ใน
การวิจัย ดังนี้
1. ศึกษาความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อลักษณะของข้อมูลท้องถิ่น
2. ศึกษารูปแบบและเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
3. ตรวจสอบความเหมาะสมและเป็นไปได้ของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักศิลปวัฒนธรรม
ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ อาจารย์ผู้สอนใน
สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลท้องถิ่น ผู้จัดทำเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มี
การจัดทำเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น นักศึกษาระดับปริญญาโทสาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาและ
สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ที่ใช้เว็บไซต์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ จำนวน 60 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ แบ่งออกเป็น 5 ตอน มีรายละเอียดดังนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อข้อมูลท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
ตอนที่ 3 แบบสอบถามความเหมาะสมด้านเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตอนที่ 5 แบบสอบถามแนวทางการปรับปรุงเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมโดยการแจกและรับคืนด้วยตนเอง ได้แบบสอบถามคืน 60 ชุด
103
นำแบบสอบถามที่ได้รับทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามและนำไป
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC version 12.0 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปผลได้ดังนี้
สรุปผลการวิจัย
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่
อายุระหว่าง 25 – 35 ปี จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 51.70 มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี
จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 81.70 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีสถานภาพเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท
จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 78.40 และส่วนใหญ่เคยใช้เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นเป็นครั้งคราว
จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 53.30
2. ความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อลักษณะข้อมูลท้องถิ่น
พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยกับลักษณะของข้อมูลท้องถิ่นโดยรวม ( x =3.96) และ
เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่ากลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับความคิดที่ว่า “ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้
ของชาวบ้านที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและพัฒนาสืบทอดจนถึงปัจจุบันที่มีความสำคัญต่อการดำเนิน
ชีวิตและผู้คนในท้องถิ่น” เป็นลำดับที่ 1 ( x = 4.47) รองลงมา คือ “สามารถนำแหล่งทรัพยากรใน
ท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ในการเป็นแหล่งการศึกษาและมีประโยชน์ต่อชุมชน” เป็นลำดับ 2 ( x = 4.28)
และเห็นด้วยกับความคิดที่ว่า “ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบ่งออกเป็นสาขาสวัสดิการสังคม” เป็นลำดับ
สุดท้าย ( x = 3.47)
3. ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พบว่าเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ปรากฏในเว็บไซต์
โดยรวม ด้านสถานที่สำคัญ ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ด้านวิถีชีวิต ด้านภูมิปัญญา ด้าน
ของดีท้องถิ่น ด้านเอกสารสำคัญ ด้านธรรมชาติวิทยา ด้านข้อมูลจังหวัด ด้านฐานข้อมูล และด้าน
เว็บไซต์แนะนำ ควรมีในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในระดับมากและมากที่สุด แต่
มีปรากฏจริงในระดับปานกลางและระดับมากเท่านั้น เมื่อนำความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับ
ระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่า
กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าทุกรายการควรมีในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่
ปรากฏ
104
4. ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พบว่ารูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ปรากฏในเว็บไซต์
โดยรวม และ ด้านเนื้อหา ด้านรูปแบบการนำเสนอ และด้านระบบสื่อสาร ควรมีในเว็บไซต์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในระดับมาก แต่มีปรากฏจริงในระดับมากเช่นเดียวกัน เมื่อนำ
ความคิดเห็นที่มีต่อระดับที่ควรมีกับระดับที่ปรากฏมาเปรียบเทียบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมี
นัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกรายการ แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างเห็นว่าควรมีในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏมากกว่าระดับที่ปรากฏ
5. รูปแบบของเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏที่พึงประสงค์
5.1 รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในด้านเนื้อหาที่พึงประสงค์
ควรมีลักษณะ ดังนี้
5.1.1 ด้านสถานที่สำคัญ ประกอบด้วย โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัด แหล่ง
ท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว แผนที่ท่องเที่ยว ปฏิทินท่องเที่ยว
5.1.2 ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ประกอบด้วย ผู้บริหารจังหวัดใน
อดีตและปัจจุบัน บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น และผู้ว่าราชการจังหวัด
5.1.3 ด้านวิถีชีวิต ประกอบด้วย วิถีชาวบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน ประเพณีและ
วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน และเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
5.1.4 ด้านภูมิปัญญา ประกอบด้วย เกษตรกรรม พืช สมุนไพรบำบัด สมุนไพร
กับสุขภาพ และประเพณี
5.1.5 ด้านของดีท้องถิ่น ประกอบด้วย อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก หนึ่งตำบล
หนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย หัตถกรรมพื้นบ้าน และโภชนาการ
5.1.6 ด้านข้อมูลจังหวัด ประกอบด้วย ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด ต้นไม้
ประจำจังหวัด เพลงประจำจังหวัด ตราและคำขวัญประจำจังหวัด แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด
สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด ข้อมูลจำนวนประชากร ตลอดจนข้อมูล อำเภอ - ตำบล
5.1.7 ด้านฐานข้อมูล ประกอบด้วย ฐานข้อมูลจังหวัด ฐานข้อมูลในประเทศไทย
และฐานข้อมูลหนังสือ
5.1.8 ด้านเว็บไซต์แนะนำ ประกอบด้วย เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ อีเมล์หน่วยงาน
ต่างๆ แนะนำอินเทอร์เน็ตตำบล Web Link กระทรวงต่างๆ
5.2 รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏในด้านรูปแบบที่พึงประสงค์
ควรมีลักษณะ ดังนี้
105
5.2.1 ด้านเนื้อหา ประกอบด้วย เนื้อหามีความชัดเจน เนื้อหาควรครบถ้วน
สมบูรณ์ เนื้อหาเข้าใจง่าย เนื้อหามีความน่าสนใจ เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ เนื้อหาเหมาะสม
กับเว็บเพจในแต่ละหน้า และเนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้
5.2.2 ด้านรูปแบบการนำเสนอ ประกอบด้วย รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น ความ
เหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage ความเหมาะสมของสี ของ Homepage
ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดงข้อมูล
ท้องถิ่น รูปแบบโดยรวมของ Homepage ความเหมาะสมของรายการเมนูใน Homepage ความ
สะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสม
ของสี ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของตัวอักษร ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความ
สะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น และความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น
5.2.3 ด้านระบบการสื่อสาร ประกอบด้วย ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ ความ
ต่อเนื่องและชัดเจน การเชื่อมโยงข้อมูลไปหน้า อื่นใน Web site เดียวกัน และการเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่น
ในระบบ
จากความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า รูปแบบที่พึงประสงค์ของเว็บไซต์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏดังกล่าว มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ทุกรายการ
อภิปรายผลการวิจัย
จากผลการวิจัยรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ สามารถนำมาอภิปราย
ผลการวิจัยได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นของภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
ความคิดเห็นของภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นส่วนใหญ่เห็นว่า
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ของชาวบ้านที่สั่งสมกันมาตั้งแต่อดีตและพัฒนาสืบทอดจนถึง
ปัจจุบันที่มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตและผู้คนในท้องถิ่น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ(อังกูล
สมคะเนย์, 2535 : 37) กล่าวว่าภูมิปัญญาชาวบ้านจำแนกได้เป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นเรื่องที่
เกี่ยวกับความคิด ความเชื่อ และหลักการที่เป็นพื้นฐานขององค์แห่งความรู้ที่เกิดจากการสั่งสม
ถ่ายทอดกันมา กลุ่มที่ 2 เป็นเรื่องของศิลปะ วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี กลุ่มที่ 3 เป็น
เรื่องของการประกอบอาชีพในแต่ละท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาให้เหมาะกับสมัย กลุ่มที่ 4 เป็นเรื่องของ
แนวความคิด หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ชาวบ้านนำมาใช้ในชุมชน ซึ่งเป็นอิทธิพลของ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
106
2. ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ความเหมาะสมของเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
โดยรวม และด้านสถานที่สำคัญ บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน วิถีชีวิต ภูมิปัญญา ของดีท้องถิ่น
เอกสารสำคัญ ธรรมชาติวิทยา ข้อมูลจังหวัด ฐานข้อมูล และเว็บไซต์แนะนำ ทุกด้านควรมีปรากฏใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในระดับมาก
3. ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวม
และด้านเนื้อหา ระบบการสื่อสาร และรูปแบบการนำเสนอ ทุกด้านควรมีปรากฏในเว็บไซต์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นในระดับมาก
4. ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของรูปแบบและเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏในรูปแบบที่สร้าง
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านเนื้อหาโดยรวม และ
ด้านสถานที่สำคัญ ด้านบุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ด้านวิถีชีวิต ด้านภูมิปัญญา ด้านของดี
ท้องถิ่น ด้านข้อมูลจังหวัด ด้านฐานข้อมูล และด้านเว็บไซต์แนะนำ มีความเหมาะสมและเป็นไป
ได้ในการมีปรากฏในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งสิ้น
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านรูปแบบโดยรวมและ
ด้านเนื้อหา ได้แก่ เนื้อหามีความชัดเจน เนื้อหาควรครบถ้วนสมบูรณ์ เนื้อหาเข้าใจง่าย เนื้อหามี
ความน่าสนใจ เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า เนื้อหามีการ
จัดหมวดหมู่ความรู้ มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการมีปรากฏในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ณรงค์วิทย์ สะโสดา (2545 : 163) ที่ได้ให้ความเห็นว่า
นิสิตให้ความสำคัญต่อหัวข้อการจัดลำดับเนื้อหามากกว่าด้านอื่นๆ และสอดคล้องกับจิตรา วิชาช่าง
(2544 : บทคัดย่อ) ที่พบว่าการออกแบบและพัฒนาเว็บเพจนั้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจะให้ความสำคัญกับ
เนื้อหาที่มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีความถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหา
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านรูปแบบการนำเสนอ
ได้แก่ รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage
ความเหมาะสมของสี ของ Homepage ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage ความเหมาะสม
ของรายการเมนูในการแสดงข้อมูลท้องถิ่น รูปแบบโดยรวมของ Homepage ความเหมาะสมของ
รายการเมนูใน Homepage ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage รูปแบบโดยรวมของการแสดง
ข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของสี ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ
การแสดงข้อมูลท้องถิ่น ความสะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น ความสะดวกในการเชื่อมโยง
107
ข้อมูลท้องถิ่น มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการมีปรากฏในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งสอดคล้องกับชนัญญา เกบไว้ (2548 : 82) พบว่าการออกแบบเว็บไซต์ที่ดีจึงควร
เลือกสีหรือโทนสีให้เหมาะสม
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏด้านระบบการสื่อสาร ได้แก่
ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ ความต่อเนื่องและชัดเจน การเชื่อมโยงข้อมูลไป page อื่นใน Web site
เดียวกัน การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการมีปรากฏใน
เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของกันยารัตน์ ดัดพันธ์
(2544 : 62, 64-65) ที่ได้ให้ความเห็นว่าในการออกแบบเว็บเพจให้น่าสนใจนั้น นอกจากจะพิจารณา
ความถูกต้องของเนื้อหาที่นำเสนอแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงรูปแบบและวิธีการนำเสนออีกด้วย ทั้งยัง
กล่าวอีกว่า ควรเลือกใช้แบบของตัวอักษรที่อ่านง่าย ไม่ควรเลือกใช้ตัวอักษรประดิษฐ์ แบบอักษรควร
กลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาที่นำเสนอและกลุ่มเป้าหมาย ไม่ควรใช้แบบตัวอักษรหลายแบบเกินไป
ไม่ควรนำเสนอภาพประกอบมากเกินไปจนดึงความสนใจจากจุดที่ผู้ผลิตต้องการนำเสนอ ในการ
เลือกใช้สีของพื้นหลังกับตัวอักษรควรเลือกใช้สีที่ไม่เป็นโทนเดียวกัน เพราะจะทำให้ผู้ใช้อ่านเนื้อหา
ที่นำเสนอได้ยาก
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
จากผลการวิจัยเรื่อง รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ผู้วิจัยมี
ข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. ข้อเสนอแนะทั่วไปสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
1.1 ด้านเนื้อหา ควรมีเนื้อหาเกี่ยวกับเอกสารสำคัญ ความเชื่อ ตำนานพื้นบ้าน นิทาน
ชาวบ้าน การแพทย์แผนไทย ภาษาและวรรณกรรม ปรัชญา ศาสนา อุตสาหกรรม เอกสารโบราณ
ศิลปกรรมด้านต่างๆ ของท้องถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ภาคเอกชน องค์กร ธุรกิจ มูลนิธิในจังหวัด ข้อมูลแผนพัฒนา แผนแม่บทท้องถิ่น, ชุมชน กระดาน
ถาม-ตอบ (Web board) สมุดเยี่ยม(Guest book) ห้องสนทนา และ Media VDO on Demand ซึ่งเนื้อหา
เหล่านี้ยังมีปรากฏน้อยจึงควรเพิ่มข้อมูลในด้านนี้ให้มากยิ่งขึ้น
1.2 ด้านรูปแบบ ควรมีภาพประกอบ และภาพเคลื่อนไหวเพื่อดึงดูดความสนใจ มี
รูปแบบที่สวยงาม มีสีสันที่น่าสนใจ มีรูปแบบที่ทันสมัย เข้าใจได้ง่าย และมีการปรับปรุงตลอดเวลา
ควรมีเครื่องมือช่วยค้น ควรปรับปรุงรูปแบบให้เหมาะสมกับเนื้อหา และปรับเปลี่ยนรูปแบบให้ดึงดูด
ความสนใจในการเข้าชม ควรมีการปรับปรุงรูปแบบของตัวอักษรที่ชัดเจน และควร Update ข้อมูล
อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
108
2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 การวิจัยครั้งต่อไป ผู้ทำการวิจัยควรศึกษาเพิ่มในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่ม
ล้านนา กลุ่มอีสาน-เหนือ กลุ่มอีสาน-ใต้ กลุ่มทวาราวดี กลุ่มทักษิณ กลุ่มพุทธชินราช และกลุ่ม
ศรีอยุธยาเพื่อให้ได้ข้อมูลในหลายๆ ด้านมาประกอบการพิจารณา เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2.2 ผู้จัดทำเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไป
ใช้ในการจัดทำเว็บไซต์ได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น
109
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กรมวิชาการ กองวิจัยทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการเรียนการ
สอนในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : กองวิจัยทางการศึกษา
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2540 ก.
_________. สรุปผลการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนาหลักสูตร และการจัดการเรียนการ
สอน. กรุงเทพมหานคร : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ,
2540 ข.
_________. รายงานการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนาหลักสูตร และการจัดการเรียนการ
สอน. กรุงเทพมหานคร : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ,
2542.
กันยารัตน์ ดัดพันธ์. “การออกแบบเวบเพจ,” บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศษสตร์ มข. 18(2) :
(พฤษภาคม, 2543). 61-68.
กิดานันท์ มลิทอง. สรรค์สร้างหน้าเว็บและกราฟิกบนเว็บ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2542.
_________. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ์,
2543.
กิตติ ภักดีวัฒนกุล. Netscape (All in one). กรุงเทพมหานคร : ไทยเจริญการพิมพ์, 2539.
_________. การสร้าง Web page ด้วย Office 97 ฉบับ Advance. กรุงเทพมหานคร : เคทีพี คอมพ์
แอนด์ คอนซิลท์, 2541.
_________. การสร้าง Web page แบบมืออาชีพด้วย HTML. กรุงเทพมหานคร : ไทยเจริญการพิมพ์,
2540.
กิตติ สูงสว่าง และสมชัย สกุลสุรินทร์. การสร้างเว็บเพจด้วย Microsoft FrontPage 98.
กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2542.
คณิต ศาตะมาน. เปิดโลกกรุ๊ฟแวร์. กรุงเทพมหานคร : โปรวิชั่น, 2541.
งามนิจ อาจอินทร์. การเขียนโปรแกรมบนเว็บ. กรุงเทพมหานคร : ดวงกมลสมัย, 2542.
จิตเกษม พัฒนศิริ. เริ่มสร้างโฮมเพจด้วย HTML. กรุงเทพมหานคร : วิตตี้ กรุ๊ป, 2539.
110
จิตรา วิชาช่าง. การออกแบบและพัฒนาเว็บเพจเพื่อการส่งเสริมสมุนไพรไทย. วิทยานิพนธ์เกษตร
ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.
ชนัญญา เกบไว้. การวิเคราะห์เว็บไซต์สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยราชภัฏ, วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2548.
ชุน เทียนทินกฤต. “เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า.” ใน เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การศึกษาค้นคว้า. หน้า 9-40. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
2542.
ณรงค์วิทย์ สะโสดา. การประเมินการเลือกใช้สารสนเทศจากเวิล์ดไวด์เว็บของนิสิตระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2545.
ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์. คู่มือการสร้าง Web Site : ตามประสบการณ์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2542.
ดวงพร เกี๋ยงคำ และวงศ์ประชา จันทร์สมวงศ์. คู่มือการสร้างเว็บไซต์ด้วยตนเอง ฉบับสมบูรณ์.
กรุงเทพมหานคร : โปรวิชั่น, 2546.
ต้น ตัณฑ์สุทธิวงศ์, สุพจน์ ปุณณชัยยะ และสุวัฒน์ ปุณณชัยยะ. รอบรู้ Internet และ World Wide
Web. กรุงเทพมหานคร : โปรวิชั่น, 2539.
ทรงศักดิ์ ลิ้มบรรจงมณี. คัมภีร์ออกแบบเว็บไซต์อย่างมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น,
2542.
ทัศนีย์ ทองไชย. สภาพและแนวทางการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้จัดการเรียนการสอนวิชาสังคม
ศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2542.
ธวัช ปุณโณธก. “ภูมิปัญญาชาวบ้าน : ทัศนะของอาจารย์ปรีชา พิณทอง,” ใน ทิศทางหมู่บ้านไทย.
หน้า 40. กรุงเทพมหานคร : เจริญการพิมพ์, 2531.
ธวัชชัย ศรีสุเทพ. คัมภีร์ WEB DESIGN. กรุงเทพมหานคร :โปรวิชั่น, 2544.
นันทา วิทวุฒิศักดิ์. “ภูมิสังคม : บูรณาการเพื่อเพิ่มและตอบสนองความต้องการในชุมชนสู่แผ่นดิน”
ใน เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “สารสนเทศท้องถิ่นกับการพัฒนาการศึกษา วันที่
24-25 กรกฎาคม 2546, หน้า 103 - 123. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2546.
111
นิทัศน์ อิทธิพงษ์. การพัฒนาหลักการออกแบบเว็บเพจการศึกษาตามรูปแบบเว็บไซต์ยอดนิยมของ
ไทย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
นิภาพร ยิ้มสร้อย. การออกแบบเว็บเพจเพื่อการประชาสัมพันธ์กองบัญชาการศึกษา. วิทยานิพนธ์
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545.
บัวศรี ศรีสูง. “คำกล่าวนำการสัมมนา.” ใน รายงานการสัมมนาเรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการ
ดำเนินงานด้านวัฒนธรรมและการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนา
ชนบท, 2534. ณ หอประชุมเล็กศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26-28
มีนาคม พ.ศ. 2534.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. มหาสารคาม: ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม, 2535.
เบญจวรรณ หมั่นเจริญ และพุทธิชา ขุนหอม. เรียนรู้การสร้างเว็บไซต์แบบง่ายๆ ในสไตล์
NETobjects Fusion 5. กรุงเทพฯ : เอส.พี.ซี. บุ๊คส์, 2543.
ประกอบ ใจมั่น. การพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น สำหรับมหาวิทยาลัย
ราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2547.
ประเวศ วะสี. “การศึกษาชาติกับภูมิปัญญาท้องถิ่น,” ใน เอกสารประกอบการสัมมนาภูมิปัญญากับ
การดำเนินงานด้านวัฒนธรรม และการพัฒนาชนบท สถาบันพัฒนาชนบท. หน้า 82.
กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาชนบท, 2534.
ปราณี พุ่มบางป่า. การวิเคราะห์เนื้อหาเว็บไซต์วาไรตี้ในด้านสังคมประกิต. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร
มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 6.
กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า. “การทำเว็บไซต์ให้น่าสนใจ.” ไมโครคอมพิวเตอร์. 18, 184. (พฤศจิกายน
2543.) : 166-168.
มาลินี สวยค้าข้าว. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการเรียนการสอนสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2538.
รัตนะ บัวสนธิ์. การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
กรณีศึกษาชุมชนแห่งหนึ่งในภาคกลางตอนล่าง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2535.
112
รุ่ง แก้วแดง. การนำภูมิปัญญาไทยเข้าระบบสู่การศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2541.
วาโร เพ็งสวัสดิ์. การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น, 2546.
วิชัย ตันศิริ. เครือข่ายการเรียนรู้กับการศึกษาตลอดชีวิต. การศึกษาแห่งชาติ. 27, 4 (เมษายน –
พฤษภาคม 2536) : 5.
วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์. เรียนอินเตอร์เน็ตผ่าน World Wide Web อย่างง่าย. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ด
ยูเคชั่น, 2539
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. ข้อแนะนำในการพัฒนาเว็บไซต์. [online].
Available : 4Hhttp://www.nectec.or.th/courseware/internet/web-tech/0014.html 2545.
“ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น.” เดลินิวส์. (10 มกราคม 2544) : 10.
สมนึก คีรีโต. “เครือข่ายใยแมงมุม”. วารสารห้องสมุด, 39(4) ( ตุลาคม - ธันวาคม 2538) : 23-38.
สมนึก คีรีโต, สุรศักดิ์ สงวนพงษ์, และสมชาย นำ ประเสริฐชัย. เปิดโลกอินเทอร์เน็ต.
กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2538.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท., 2534.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. โครงสร้างและระบบการบริหารวัฒนธรรมในส่วน
ภูมิภาค. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2536.
_________. แนวทางส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนัก
นายกรัฐมนตรี, 2541.
_________. ครูภูมิปัญญาไทยรุ่นที่ 1 ภาคกลางและภาคตะวันออก. กรุงเทพมหานคร : สกศ., 2544.
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. การสัมมนากรรมการบริหารสภาวัฒนธรรม
กรุงเทพมหานคร. ณ หอประชุมเล็ก ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร
, 2542. อ้างถึงใน สุดารัตน์ ชาญเลขา. รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันราชภัฏกับ
ชุมชนเพื่อพัฒนาด้านวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
อุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
_________. โครงสร้างและระบบการบริหารวัฒนธรรมในส่วนภูมิภาค กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน
คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2536.
สำเนียง สร้อยนาคพงษ์. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนในโรงเรียน. สาร
พัฒนาหลักสูตร. 11 (กุมภาพันธ์ – มีนาคม 2535) : 25-26.
สิทธิชัย ประสานวงศ์. สร้างสรรค์งานเว็บด้วย Macromedia Dreamweaver MX. กรุงเทพฯ :
ซอฟท์เฟรส, 2546
113
5Hสุดนิสา พูลศิริ. 6Hสภาพการทำการประเมินความต้องการจำเป็นทางการศึกษาและการใช้ผลใน
กระทรวงศึกษาธิการ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2541.
สุดารัตน์ ชาญเลขา. รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันราชภัฏกับชุมชนเพื่อพัฒนาด้าน
วัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2545.
สุรเดช พรประภา. เรียนลัดอินเตอร์เน็ต ใน 24 ชั่วโมง. กรุงเทพมหานคร : ไซมอน แอนด์ ชูสเตอร์
อินโดไชน่า, 2541.
เสน่ห์ จามาริก. “การแสวงหาภูมิปัญญาไทยเพื่อการพัฒนา,” วารสารชุมชนพัฒนา. 1,2 (2539) : 6-7.
__________. “แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย : บทวิเคราะห์เบื้องต้น.” การศึกษาแห่งชาติ. 23(3)
(พฤษภาคม 2532.) : 20-32.
เสรี พงศ์พิศ. คืนสู่รากเหง้า. กรุงเทพมหานคร : เทียนวรรณ, 2529.
อเนก นาคะบุตร. “ข่าวสารข้อมูลกับความยั่ยืนของการพัฒนา”. ใน คนกับดิน น้ำ ป่า : จุดเปลี่ยน
แห่งความคิด, หน้า 25. กรุงเทพมหานคร : สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, 2536.
อังกูล สมคะเนย์. สภาพและปัญหาการนำภูมิปัญญาชาวบ้านมาพัฒนาหลักสูตรในโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัด สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.
อาภรณ์ ลบแย้ม. การวิเคราะห์รูปแบบและเนื้อหาของเว็บไซต์ภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดแนวแอคฃั่นและ
แนวตลกบนอินเตอร์เน็ต. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2543.
เอกวิทย์ ณ ถลาง. ภูมิปัญญาชาวบ้าน 4 ภูมิภาค : วิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้านไทย.
นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.
ภาษาอังกฤษ
Brent, F. Davies. “Re-engineering School Leadership, ” International Journal of Education
Management. 10(2) (February 1996. ) : 11-16.
Cronbach, Lee J. Essentials of Psychological Testing. 3 rd ed. New york : Harper And Brother,
1974.
Deborah, Lynne Wiley. “The organizational politics of the World Wide Web.” Internet Reference
Services Quarterly 2(1998) : 24.
114
Esrock, Stuart L. and Leichty, Greg B. “Corporate World Wide Web pages : Servicing the news
media and other public,” Journal of Mass Communication Quarterly. 76(3)
(Autumn 1999) : 456-467.
Gassaway, Stella and Mok, Clement. Killer Web design : NetObjects FUSION. Indianapolis, IN :
Hayden Books, 1997.
Kaufman, R and English, F.W. Need Assessment : Concept and Application. 2 nd ed.
Englewood Cliffs NJ : Education Technology Publication, 1981.
Marry, Haggard. Surrival Guide Website Development : เคล็ดลับการสร้างและบริหารเว็บไซต์.
กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย, 2543.
McMillan, Sally J. “The microscope and the moving target : The challenge of applying content
analysis to the World Wide Web,” Journal of Mass Coummunication Quarterly.
77(1) (Spring 2000) : 80-98s
Waltz, K. The internet international directory. CA. : Ziff-Davis, 1995.
115
ภาคผนวก ก
รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย
116
รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย
1. รองศาสตราจารย์จุมพจน์ วนิชกุล
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรายุทธ์ เศรษฐขจร
ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คณบดีบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
3. ดร. สุดารัตน์ ชาญเลขา
รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
4. ดร. ทวิช บุญธิรัศมี
ประธานกรรมการหลักสูตรยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
5. อาจารย์ทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
117
ภาคผนวก ข
แบบสอบถาม
118
แบบสอบถามสำหรับการวิจัย
เรื่อง รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
คำชี้แจงเกี่ยวกับแบบสอบถาม
แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อพัฒนารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่พึงประสงค์ และ
ตรวจสอบความเหมาะสมรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยแบบสอบถามแบ่ง
ออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อข้อมูลท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น
ตอนที่ 3 ความเหมาะสมด้านเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตอนที่ 4 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตอนที่ 5 แนวทางในการปรับปรุงเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คำชี้แจง โปรดกาเครื่องหมาย �� ลงใน �� หน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงของท่านและ
เติมข้อความลงในช่องว่างที่เว้นไว้
1. เพศ
�� ชาย �� หญิง
2. อายุ
�� ต่ำกว่า 25 ปี �� 25 – 35 ปี
�� 36 – 45 ปี �� 46 – 55 ปี
�� 56 ปี ขึ้นไป
3. ระดับการศึกษา
�� ต่ำกว่าปริญญาตรี �� ปริญญาตรี
�� ปริญญาโท �� ปริญญาเอก
�� สูงกว่าปริญญาเอก �� อื่นๆ (โปรดระบุ)……………..
4. สถานภาพปัจจุบัน
�� ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ
�� ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
�� ผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
�� อาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลท้องถิ่น
�� ผู้จัดทำเว็บไซต์
�� นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขา..........................................
�� อื่นๆ (โปรดระบุ)………………………………….…….…
5. ท่านเคยใช้เว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นหรือไม่
�� ใช้บ่อย �� ใช้เป็นครั้งคราว
�� ใช้นานๆ ครั้ง �� ไม่เคยใช้
119
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นทั่วไปที่มีต่อข้อมูลท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่ง
ทรัพยากรในท้องถิ่น
คำชี้แจง โปรดพิจารณาเนื้อหาสาระเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นว่าท่าน
เห็นด้วยหรือไม่โดยใส่เครื่องหมาย ��ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน
5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง
4 หมายถึง เห็นด้วย
3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย
1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ความคิดเห็นเกยี่ วกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ระดับความคิดเห็น
และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น 5 4 3 2 1
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ของชาวบ้านที่สั่งสมกันมา
ตั้งแต่อดีตและพัฒนาสืบทอดจนถึงปัจจุบันที่มีความสำคัญต่อ
การดำเนินชีวิตและผู้คนในท้องถิ่น
2. สามารถนำความรู้มาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อปรับเปลี่ยนและใช้
แก้ไขปัญหาต่างๆ ในท้องถิ่นได้
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบ่งออกเป็น
- สาขาเกษตรกรรม
- สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม
- สาขาการแพทย์แผนไทย
- สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- สาขาสวัสดิการสังคม
- สาขาศิลปกรรมพื้นบ้าน
- สาขาการจัดการองค์กร
- สาขาวรรณกรรมพื้นบ้าน
- สาขาศาสนาและประเพณี
- สาขาการศึกษา
3. สังคมไทยเป็นสังคมที่เก่าแก่สังคมหนึ่งจึงมีภูมิปัญญาท้องถิ่น
อยู่มาก ภูมิปัญญาเหล่านี้นอกจากจะแสดงความเป็นไทย
ทั่วไปที่เป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งแล้ว ยังเป็นเครื่องชี้
ความเจริญของสังคมไทยซึ่งเป็นที่มาในประวัติศาสตร์ด้วย
4. สามารถนำแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ในการ
เป็นแหล่งการศึกษาและมีประโยชน์ต่อชุมชน
120
ความคิดเห็นทวั่ ไปเกยี่ วกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ระดับความคิดเห็น
และแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น 5 4 3 2 1
5. ประเภทของแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นมีหลากหลายประเภท
ทั้งที่เป็นตัวบุคคล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งต่างๆ ที่มนุษย์
ได้สร้างขึ้น รวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งสามารถนำไป
พัฒนาท้องถิ่นต่อไป
6. แนวคิดทฤษฎีสื่อปฏิสัมพันธ์วัฒนธรรมของชาตินั้นได้
รวบรวมศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีด้านต่างๆ ของ
ท้องถิ่นไว้เป็นอย่างดี
สื่อปฏิสัมพันธ์วัฒนธรรมของชาติ
* สื่อปฏิสัมพันธ์วัฒนธรรมของชาติตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หมายถึง
สถานที่สำคัญ (site) ประกอบด้วย แหล่งโบราณคดี สถานที่สำคัญทางศาสนา สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
แหล่งท่องเที่ยว แหล่งที่มาแห่งการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมและแหล่งธรรมชาติ บุคคลากรสำคัญและ
ปราชญ์ชาวบ้าน (important figures and philosophers) ประกอบด้วย พระมหากษัตริย์ เจ้าผู้ครองนคร วีรบุรุษ
บุคคลสำคัญด้านวัฒนธรรม ผู้นำทางศาสนา ผู้นำท้องถิ่น และปราชญ์ชาวบ้าน วิถีชีวิต (way of life)
ประกอบด้วย ประเพณีท้องถิ่น พิธีกรรม ความเชื่อ การละเล่นพื้นบ้าน ตำนานและนิทานและกลุ่มชาติพันธ์
ภูมิปัญญา (wisdom) ประกอบด้วย ภูมิปัญญาด้านการเกษตร ด้านสุขภาพอนามัยและด้านเทคโนโลยีพื้นบ้าน
ของดีท้องถิ่น (Local products) ประกอบด้วยอาหาร (อาหารคาว อาหารหวาน ผัก ผลไม้ การถนอมอาหาร)
เครื่องนุ่งห่ม เครื่องประดับ และหัตถกรรม เอกสารสำคัญ (manuscripts) ประกอบด้วย เอกสารสำคัญ สมุดไทย
สมุดข่อย หนังสือบุด พับสา จารึกใบลาน และภาพเขียนสี ธรรมชาติวิทยา (natural history) ประกอบด้วย ซาก
ใบไม้และพืชที่ทับถมกัน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก แมลง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน ปลา สัตว์ทะเล แร่
ธาตุ หิน ป่าไม้ น้ำมันและก๊าซ ธรรมชาติ สมุนไพร พืชพื้นบ้านและพืชเศรษฐกิจ
121
ตอนที่ 3 ความเหมาะสมด้านเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
คำชี้แจง โปรดพิจารณาเนื้อหาสาระที่ปรากฏในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏและ
ใส่เครื่องหมาย ��ลงในช่องที่ท่านเห็นว่ามีเนื้อหาของฐานข้อมูลท้องถิ่นปรากฏในเว็บไซต์และใส่
เครื่องหมาย��ลงในช่องที่ท่านเห็นว่าควรมีเนื้อหาของฐานข้อมูลท้องถิ่นอยู่ในเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น
5 หมายถึง มีปรากฏในเว็บไซต์มากที่สุด 5 หมายถึง ควรมีเนื้อหามากที่สุด
4 หมายถึง มีปรากฏในเว็บไซต์มาก 4 หมายถึง ควรมีเนื้อหามาก
3 หมายถึง มีปรากฏในเว็บไซต์ปานกลาง 3 หมายถึง ควรมีเนื้อหาปานกลาง
2 หมายถึง มีปรากฏในเว็บไซต์น้อย 2 หมายถึง ควรมีเนื้อหาน้อย
1 หมายถึง มีปรากฏในเว็บไซต์น้อยที่สุด 1 หมายถึง ควรมีเนื้อหาน้อยที่สุด
เนื้อหาของฐานข้อมูลทอ้ งถิ่น ระดับที่ปรากฏในเว็บไซต์ ระดับที่ควรมี
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1. สถานที่สำคัญ ประกอบด้วย
- โบราณสถาน โบราณวัตถุ
- วัด
- แหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว แผนที่ท่องเที่ยว
ปฏิทินท่องเที่ยว
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
2. บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ประกอบด้วย
- ผู้บริหารจังหวัดในอดีต, ปัจจุบัน
- หัวหน้าส่วนราชการ
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
3. วิถีชีวิต ประกอบด้วย
- วิถีชาวบ้าน
- ประเพณีและวัฒนธรรม
- เทศกาลงานประเพณี
- ประเพณีพื้นบ้าน
- ความเชื่อ
122
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏในเว็บไซต์ ระดับที่ควรมี
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
- การละเล่นพื้นบ้าน
- ตำนานพื้นบ้าน
- นิทานชาวบ้าน
- เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
4. ภูมิปัญญา ประกอบด้วย
- เกษตรกรรม พืช สัตว์
- การแพทย์แผนไทย
- สมุนไพรบำบัด สมุนไพรกับสุขภาพ
- ยาและสมุนไพรพื้นบ้าน
- ภาษาและวรรณกรรม
- ปรัชญา ศาสนา
- ประเพณี
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
5. ของดีท้องถิ่น ประกอบด้วย
- อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก
- โภชนาการ
- หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย
- หัตถกรรมพื้นบ้าน
- อุตสาหกรรม
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
6. เอกสารสำคัญ ประกอบด้วย
- เอกสารโบราณ
- ศิลปกรรมด้านต่างๆ ของท้องถิ่น
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
7. ธรรมชาติวิทยา ประกอบด้วย
- ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
123
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ระดับที่ปรากฏในเว็บไซต์ ระดับที่ควรมี
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
8. ข้อมูลจังหวัด ประกอบด้วย
- ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด
- ต้นไม้ประจำจังหวัด
- เพลงประจำจังหวัด
- ตราและคำขวัญประจำจังหวัด
- แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด
- สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด
- ภาคเอกชน องค์กร ธุรกิจ มูลนิธิในจังหวัด
- ข้อมูลจำนวนประชากร
- ข้อมูล อำเภอ – ตำบล
- ข้อมูลแผนพัฒนา / แผนแม่บทท้องถิ่น, ชุมชน
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
9. ฐานข้อมูล ประกอบด้วย
- ฐานข้อมูลจังหวัด
- ฐานข้อมูลในประเทศไทย
- ฐานข้อมูลหนังสือ
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
10. เว็บไซต์แนะนำ ประกอบด้วย
- เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ
- อีเมล์หน่วยงานต่างๆ
- แนะนำอินเตอร์เน็ตตำบล
- Web Link กระทรวงต่างๆ
- กระดานถาม-ตอบ (Web board)
- สมุดเยี่ยม (Guest book)
- ห้องสนทนา (chartroom)
- Media VDO On Demand
- อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………….
………………….………………………….....
124
ตอนที่ 4 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
คำชี้แจง โปรดพิจารณารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นในมหาวิทยาลัยราชภัฏของท่าน และใส่
เครื่องหมาย �� ลงในช่องที่ตรงกับสภาพปัจจุบันหรือท่านเห็นว่าเหมาะสม
5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 5 หมายถึง ควรมีมากที่สุด
4 หมายถึง เหมาะสมมาก 4 หมายถึง ควรมีมาก
3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 3 หมายถึง ควรมีปานกลาง
2 หมายถึง เหมาะสมน้อย 2 หมายถึง ควรมีน้อย
1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด 1 หมายถึง ควรมีน้อยที่สุด
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ระดับความเหมาะสม ระดับที่ควรมี
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1. ด้านเนื้อหา
- เนื้อหามีความชัดเจน
- เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์
- เนื้อหาเข้าใจง่าย
- เนื้อหามีความน่าสนใจ
- เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์
- เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า
- เนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้
2. รูปแบบการนำเสนอ
- รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น
- รูปแบบโดยรวมของ Homepage
- ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage
- ความเหมาะสมของสี และตัวอักษรของ Homepage
- ความเหมาะสมของรายการเมนูใน Homepage
- ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage
- รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
- ความเหมาะสมของสี และตัวอักษร ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
- ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
- ความสะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น
- ความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น
3. ระบบการสื่อสาร
- ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อเทียบกับเว็บไซต์
- ความต่อเนื่องและชัดเจน
- การเชื่อมโยงข้อมูลไป page อื่นใน Web site เดียวกัน
- การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ
125
ตอนที่ 5 เพื่อให้เว็บไซต์ฐานฐานข้อมูลท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีประสิทธิภาพสูงสุด ควรมี
การปรับปรุง ดังนี้
1) ด้านเนื้อหา
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
2) ด้านรูปแบบ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
3) ด้านสภาพของเว็บไซต์
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
126
ภาคผนวก ค
รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบรูปแบบ
127
รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบรูปแบบ
1. รองศาสตราจารย์จุมพจน์ วนิชกุล
ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนา จารุพันธุเศรษฐ์
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์
รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
4. ดร. สุดารัตน์ ชาญเลขา
รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
5. ดร. ทวิช บุญธิรัศมี
ประธานกรรมการหลักสูตรสังคมศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
128
ภาคผนวก ง
แบบสอบถามเพื่อตรวจสอบรูปแบบ
129
แบบให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณารูปแบบ
เรื่อง รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
คำชี้แจง โปรดพิจารณารูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏที่สร้างขึ้นว่ามีความเหมาะสม
และเป็นไปได้เพียงใด โดยใส่เครื่องหมาย ��ลงในช่องที่ท่านเห็นว่าเนื้อหาของฐานข้อมูลท้องถิ่น
มีความเหมาะสม และใส่เครื่องหมาย ��ลงในช่องที่ท่านเห็นว่าเนื้อหาของฐานข้อมูลท้องถิ่นมีความ
เป็นไปได้
5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 5 หมายถึง มีความเป็นไปได้มากที่สุด
4 หมายถึง เหมาะสมมาก 4 หมายถึง มีความเป็นไปได้มาก
3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 3 หมายถึง มีความเป็นไปได้ปานกลาง
2 หมายถึง เหมาะสมน้อย 2 หมายถึง มีความเป็นไปได้น้อย
1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด 1 หมายถึง มีความเป็นไปได้น้อยที่สุด
ตอนที่ 1 ความเหมาะสมด้านเนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เนื้อหาของฐานข้อมูลทอ้ งถิ่น ความเหมาะสม ความเป็นไปได 
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1. สถานที่สำคัญ ประกอบด้วย
- โบราณสถาน โบราณวัตถุ
- วัด
- แหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลการท่องเที่ยว แผนที่ท่องเที่ยว
ปฏิทินท่องเที่ยว
2. บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ประกอบด้วย
- ผู้บริหารจังหวัดในอดีต, ปัจจุบัน
- หัวหน้าส่วนราชการ
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- บุคคลสำคัญในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น
3. วิถีชีวิต ประกอบด้วย
- วิถีชาวบ้าน
- ประเพณีและวัฒนธรรม
- เทศกาลงานประเพณี
- ประเพณีพื้นบ้าน
- ความเชื่อ
130
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสม ความเป็นไปได 
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
- การละเล่นพื้นบ้าน
- ตำนานพื้นบ้าน
- นิทานชาวบ้าน
- เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
4. ภูมิปัญญา ประกอบด้วย
- เกษตรกรรม พืช สัตว์
- การแพทย์แผนไทย
- สมุนไพรบำบัด สมุนไพรกับสุขภาพ
- ยาและสมุนไพรพื้นบ้าน
- ภาษาและวรรณกรรม
- ปรัชญา ศาสนา
- ประเพณี
5. ของดีท้องถิ่น ประกอบด้วย
- อาหารพื้นบ้าน อาหารและของฝาก
- โภชนาการ
- หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของไทย
- หัตถกรรมพื้นบ้าน
- อุตสาหกรรม
6. เอกสารสำคัญ ประกอบด้วย
- เอกสารโบราณ
- ศิลปกรรมด้านต่างๆ ของท้องถิ่น
7. ธรรมชาติวิทยา ประกอบด้วย
- ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
8. ข้อมูลจังหวัด ประกอบด้วย
- ประวัติ สภาพโดยทั่วไปของจังหวัด
- ต้นไม้ประจำจังหวัด
- เพลงประจำจังหวัด
- ตราและคำขวัญประจำจังหวัด
- แผนที่ ที่ตั้ง และขนาดจังหวัด
131
เนื้อหาเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่น ความเหมาะสม ความเป็นไปได 
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
- สำนักงาน และหน่วยงานในจังหวัด
- ภาคเอกชน องค์กร ธุรกิจ มูลนิธิในจังหวัด
- ข้อมูลจำนวนประชากร
- ข้อมูล อำเภอ – ตำบล
- ข้อมูลแผนพัฒนา / แผนแม่บทท้องถิ่น, ชุมชน
9. ฐานข้อมูล ประกอบด้วย
- ฐานข้อมูลจังหวัด
- ฐานข้อมูลในประเทศไทย
- ฐานข้อมูลหนังสือ
10. เว็บไซต์แนะนำ ประกอบด้วย
- เว็บไซต์หน่วยงานต่างๆ
- อีเมล์หน่วยงานต่างๆ
- แนะนำอินเตอร์เน็ตตำบล
- Web Link กระทรวงต่างๆ
- กระดานถาม-ตอบ (Web board)
- สมุดเยี่ยม (Guest book)
- ห้องสนทนา (chartroom)
- Media VDO On Demand
132
ตอนที่ 2 ความเหมาะสมของรูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ความเหมาะสม ความเป็นไปได 
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
1. ด้านเนื้อหา
- เนื้อหามีความชัดเจน
- เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์
- เนื้อหาเข้าใจง่าย
- เนื้อหามีความน่าสนใจ
- เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์
- เนื้อหาเหมาะสมกับเว็บเพจในแต่ละหน้า
- เนื้อหามีการจัดหมวดหมู่ความรู้
2. รูปแบบการนำเสนอ
- รูปแบบของเครื่องมือช่วยค้น
- รูปแบบโดยรวมของ Homepage
- ความเหมาะสมของฉากหลัง และภาพประกอบของ Homepage
- ความเหมาะสมของสี ของ Homepage
- ความเหมาะสมของตัวอักษร ของ Homepage
- ความเหมาะสมของรายการเมนูใน Homepage
- ความสะดวก และง่ายต่อการใช้งาน Homepage
- รูปแบบโดยรวมของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
- ความเหมาะสมของสี ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
- ความเหมาะสมของตัวอักษร ของการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
- ความเหมาะสมของรายการเมนูในการแสดงข้อมูลท้องถิ่น
- ความสะดวกในการเจาะค้นข้อมูลท้องถิ่น
- ความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น
3. ระบบการสื่อสาร
- ความรวดเร็วในการเข้าถึงเว็บไซต์ เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น
- ความต่อเนื่องและชัดเจน
- การเชื่อมโยงข้อมูลไป page อื่นใน Web site เดียวกัน
- การเชื่อมโยงไปเว็บไซต์อื่นในระบบ
133
ภาคผนวก จ
ประวัติผู้วิจัย
134
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ- สกุล : นางสาวอภิญญา สงเคราะห์สุข
วัน เดือน ปีเกิด : วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2520
สถานที่เกิด : กรุงเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา : สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนสาธิตประถม
วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนสาธิตมัธยม
วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
เอกการจัดการทั่วไป สาขาการบัญชี จากสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา
ปัจจุบัน : เจ้าหน้าที่งานเลขานุการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ตอนที่ 1)
รูปแบบเว็บไซต์ฐานข้อมูลท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น