วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ศึกษาสภาพและปัญหาการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 2)



มีการกำกับ ติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้
บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรง
เรียนที่กำหนดไว้
มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน ครอบคลุมงาน/
โครงการของโรงเรียน
มีการดำเนินงานสำเร็จได้ตามกำหนดเวลาที่ระบุในแผน
มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การ
ดำเนินงานบรรลุผลสำเร็จตามแผน
ครูผู้สอนมีการรายงานเป็นระยะว่าได้ปฏิบัติอย่างไร เป็นไป
ตามแผนมากน้อยเพียงใด
3.81
4.40
3.90
4.00
3.41
.82
.72
.69
.72
1.01
มาก
มาก
มาก
มาก
ปานกลาง
รวม 3.91 .62 มาก
จากตารางที่ 11 พบว่า การดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม
สามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวม
อยู่ในระดับ"มาก" ( X = 3.91) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้อมีการดำเนินการอยู่ในระดับ"มาก"ยกเว้น
ด้านครูผู้สอนมีการรายงานเป็นระยะว่าได้ปฏิบัติอย่างไร เป็นไปตามแผนมากน้อยเพียงใดอยู่ในระดับ
"ปานกลาง" ( X = 3.41)
64
ตารางที่ 12 แสดงผลการศึกษาสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 5 :
การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดบั การดาํ เนนิ การ
ขั้นตอนที่ 5 การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีการกำหนดบุคลากรให้ดำเนินการ ตรวจสอบและทบทวน
อย่างครบถ้วนและชัดเจน
มีการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยบุคลากร
ภายในโรงเรียน
มีการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาจากหน่วย
งานต้นสังกัด
ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามี
ส่วนร่วมในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
มีการสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ครู ผู้รับผิดชอบ
งาน/โครงการ ผู้บริหาร เป็นต้น เกี่ยวกับแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา
3.71
3.77
3.64
3.28
3.57
.78
.79
.92
.99
.95
มาก
มาก
มาก
ปานกลาง
มาก
รวม 3.59 .74 มาก
จากตารางที่ 12 พบว่า การดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม
สามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ด้านการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับ"มาก"
( X = 3.59) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายละเอียด มีสภาพ
การดำเนินการอยู่ในระดับ"มาก" ยกเว้นด้านการให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้อง
เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับ"ปานกลาง" ( X = 3.28)
65
ตารางที่ 13 แสดงผลการศึกษาสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 6 :
การประเมินคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดบั การดาํ เนนิ การ
ขั้นตอนที่ 6 การประเมินคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีเครื่องมือ ระบบการวัด ประเมินการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์
ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มีการจัดระบบการประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่างครอบคลุม
มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการประเมิน
ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าใจเกณฑ์การประเมินของผู้เรียน
มีการจัดให้ผู้เรียนชั้น ม.3 และม.6 ได้รับการประเมินผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาแกนร่วม
3.85
3.85
3.82
3.53
4.00
.82
.79
1.03
.95
.99
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
รวม 3.81 .72 มาก
จากตารางที่ 13 พบว่า การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยม
ศึกษา ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ"มาก" ( X = 3.81) และเมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ด้านการจัดให้ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 และมัธยมศึกษาปีที่6 ได้รับการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาแกนร่วมมากเป็นอันดับ 1
( X = 4.00) รองลงมา คือ มีเครื่องมือ ระบบการวัดและประเมินการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมีการจัดระบบการประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่าง
ครอบคลุมมากเป็นอันดับ 2 ( X = 3.85) และผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าใจเกณฑ์การประเมินของผู้เรียน
น้อยกว่าอันดับอื่น ๆ ( X = 3.53)
66
ตารางที่ 14 แสดงผลการศึกษาสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 7 :
การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดบั การดาํ เนนิ การ
ขั้นตอนที่ 7 การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีการรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพตามแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนและแผนปฏิบัติงานใน
รอบปีการศึกษา แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน
ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชนรับทราบ
มีการติดตามผล และรับข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงาน
คุณภาพการศึกษาประจำปี ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
มีผลการพัฒนาคุณภาพของตนบรรลุตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
มีการเขียนรายงาน แสดงหลักฐาน ข้อมูล และผลสัมฤทธิ์
ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษา
มีการรายงานนำเสนอด้วยรูปแบบที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย และ
จัดเก็บไว้ในระบบสารสนเทศ
3.77
3.49
3.67
3.91
3.51
1.07
.97
.79
.91
.90
มาก
ปานกลาง
มาก
มาก
มาก
รวม 3.67 .78 มาก
จากตารางที่ 14 พบว่า การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน การรายงาน
คุณภาพการศึกษาประจำปีโดยภาพรวมอยู่ในระดับ"มาก"( X = 3.67) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
ทุกข้ออยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ด้านการดำเนินการอยู่ในระดับ "มาก" มีการเขียน
รายงาน แสดงหลักฐาน ข้อมูล และผลสัมฤทธิ์ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษามากกว่าอันดับอื่น ๆ
( X = 3.91) ยกเว้นมีการติดตามผล และรับข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี
ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนอยู่ใน
ระดับ"ปานกลาง" ( X = 3.49)
67
ตารางที่ 15 แสดงผลการศึกษาสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 8 :
การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดบั การดาํ เนนิ การ
ขั้นตอนที่ 8 การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปีมาส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานของระบบประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปีมาประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงานของ
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
มีการนำผลจากการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
มาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขเพื่อ
กำหนดยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนิน
งานในรอบปีที่ผ่านมา
ทุกฝ่ายร่วมกันประเมินทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดทำ
แผนพัฒนาโรงเรียน
3.63
3.64
3.72
3.73
3.79
.94
.89
.92
.93
.92
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
รวม 3.70 .83 มาก
จากตารางที่ 15 พบว่า การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับ
"มาก" ( X = 3.70) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ด้าน
ทุกฝ่ายร่วมกันประเมินทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียนมากเป็นอันดับที่ 1( X =
3.79) รองลงมาคือ ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ใน
การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมามากเป็นอันดับที่ 2 ( X = 3.73)และมีการนำ
ข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา ประจำปีมาส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานของระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนน้อยกว่าอันดับอื่น ๆ ( X = 3.63)
68
4.3 ผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร
ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ใน
กรุงเทพมหานคร ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน โดยภาพรวมและรายขั้นตอน รวมทุกข้อ
ปรากฏผลดังแสดงไว้ในตารางที่ 16 ถึง ตารางที่ 24
ตารางที่ 16 แสดงผลการศึกษาปัญหาดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร เป็นรายขั้นตอนและรวมทุกข้อ
ข้อที่ การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
8 ขั้นตอน X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
6
7
8
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
การพัฒนามาตรฐานการศึกษา
การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา
การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี
การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
2.19
2.02
2.16
2.08
2.32
2.18
2.24
2.27
.67
.77
.71
.67
.77
.85
.82
.88
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
รวม 2.18 .67 น้อย
จากตารางที่ 16 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ตามระบบการประกัน
คุณภาพภายใน 8 ขั้นตอน ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร
โดยภาพรวมอยู่ในระดับ "น้อย" ( X = 2.18) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับน้อย เมื่อ
พิจารณาในรายละเอียด มีปัญหาด้านการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษามากเป็นอันดับที่ 1
( X = 2.32) รองลงมาคือ การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มีปัญหามากเป็นอันดับที่ 2
( X = 2.27) และการพัฒนามาตรฐานการศึกษามีปัญหาน้อยกว่าอันดับอื่นๆ ( X = 2.02)
69
ตารางที่ 17 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 1 : การจัด
ระบบบริหารและสารสนเทศ โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 1 การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
มีการกำหนดโครงสร้างและระบบการบริหารที่สอดคล้อง
กับภารกิจของโรงเรียน
มีการกำหนดอำนาจหน้าที่ และขอบข่ายงานของบุคลากร
แต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจน
มีระบบการบริหารโดยใช้แบบโรงเรียนเป็นฐาน(SBM)
มีการจัดวางระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อใช้ในการวาง
แผนและการตัดสินใจ
มีการจัดระบบสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา
มีการจัดระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน
มีการจัดระบบสารสนเทศการบริหารวิชาการ
มีการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
มีการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการรายงาน
1.95
1.95
2.35
2.36
2.22
2.27
2.16
2.20
2.33
.77
.79
.94
.94
.83
.85
.87
.88
.93
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
รวม 2.19 .67 น้อย
จากตารางที่ 17 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานครด้านการจัดระบบบริหารและสารสนเทศโดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับ"น้อย"( X = 2.19) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจาณาในรายละเอียด
ปัญหาด้านการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการรายงานและมีการจัดวางระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อใช้
ในการวางแผน และการตัดสินใจมากเป็นอันดับที่ 1 ( X = 2.36) รองลงมาคือ ปัญหาด้านการกำหนด
โครงสร้าง และระบบการบริหารที่สอดคล้องกับภารกิจของโรงเรียนเป็นอันดับที่ 2 ( X = 2.35) และ
มีการกำหนดอำนาจหน้าที่ และขอบข่ายงานของบุคลากรแต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจนมีปัญหาน้อยกว่า
อันดับอื่น ๆ ( X = 1.95)
70
ตารางที่ 18 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 2 :
การพัฒนามาตรฐานการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนามาตรฐานการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
6
มีการแจ้งให้บุคลากรทุกคนรับทราบและเข้าใจในการตัดสิน
ใจครั้งสำคัญ ๆ ทุกครั้งอย่างสม่ำเสมอ
มีการพัฒนาทักษะ และความสามารถของบุคลากรให้
สอดคล้องกับหน้าที่และตำแหน่ง
มีการปลูกฝังความภาคภูมิใจ และความเป็นเจ้าของสถาน
ศึกษาที่ต้องร่วมรับผิดชอบต่อผู้เรียน และความรับผิดชอบ
ต่อสังคมแก่บุคลากร
มีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน ปฏิบัติได้และได้รับการยอมรับจากทุก
คนในโรงเรียน
มีการจัดโครงสร้างพื้นฐาน และสนับสนุนกระบวนการ
เรียนรู้ในโรงเรียน
มีระบบการบริหารและระบบการทำงานที่มุ่งคุณภาพที่จะทำ
ให้ก้าวสู่เป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาที่
กำหนดไว้
2.00
1.96
2.01
2.01
2.04
2.12
.87
.81
.95
.97
.94
.93
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
รวม 2.02 .77 น้อย
จากตารางที่ 18 พบว่า การพัฒนามาตรฐานการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ"น้อย" ( X =
2.02) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ด้านระบบ
การบริหารและระบบการทำงานที่มุ่งคุณภาพที่จะทำให้ก้าวสู่เป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานการ
ศึกษาที่กำหนดไว้มีปัญหามากเป็นอันดับที่ 1 ( X = 2.12) รองลงมาคือ มีการจัดโครงสร้างพื้นฐาน
และสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียน มีปัญหามากเป็นอันดับที่ 2 ( X = 2.04) และมีการพัฒนา
ทักษะ และความสามารถของบุคลากรให้สอดคล้องกับหน้าที่และตำแหน่งมีปัญหาน้อยกว่าอันดับ
อื่นๆ ( X = 1.96)
71
ตารางที่ 19 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 3 : การจัด
ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
6
7
การจัดองค์ประกอบต่าง ๆในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนมีความชัดเจนสอดคล้องกันอย่างสมเหตุสมผล
มีระบบการสนับสนุนภายใน ผู้บริหาร บุคลากรทุกฝ่าย
ในโรงเรียน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเห็นชอบกับแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
บุคลากรทุกคนให้ความสนับสนุนและร่วมมือในการนำ
แผนสู่การปฏิบัติ
มีการกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และตัวบ่งชี้ในแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่สังเกตและวัดได้ใน
เชิงปริมาณ
มีการใช้ยุทธศาสตร์ และเทคนิควิธีต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวน
การเรียนการสอน การวัดและการประเมิน ตลอดจนการ
บริหารจัดการ ตั้งอยู่บนรากฐานทางทฤษฎีหรือหลักวิชาที่
ถูกต้อง และมีผลการวิจัยเชิงประจักษ์ สนับสนุน
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมีการกำหนดรูป
แบบ และวิธีการพัฒนาบุคลากรและสามารถปฏิบัติภารกิจ
ตามแผนอย่างได้ผลดี
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนระบุแหล่งวิทยา
การภายนอกที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลือ สนับสนุนทาง
วิชาการ
2.07
1.96
2.09
2.03
2.31
2.16
2.39
.78
.81
.91
.83
.96
.83
.84
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
72
ตารางที่ 19 (ต่อ) แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 3 : การจัด
ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
8
9
ผู้ปกครอง และชุมชนมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมและรับบท
บาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียน
มีการประสานสัมพันธ์และระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ
เช่น หน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน สถาบันและมูลนิธิ
ต่างๆ นำมาสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
2.24
2.21
.97
.93
น้อย
น้อย
รวม 2.16 .71 น้อย
จากตารางที่ 19 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานครโดยภาพรวมอยู่ในระดับ"น้อย"( X = 2.16) และเมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ด้านแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียนระบุแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลือ สนับสนุนทางวิชาการ
มีปัญหามากเป็นอันที่ 1 ( X = 2.39) รองลงมาคือ มีการใช้ยุทธศาสตร์ และเทคนิควิธีต่าง ๆ ที่ใช้ใน
กระบวนการเรียนการสอน การวัดและการประเมิน ตลอดจนการบริหารจัดการ ตั้งอยู่บนรากฐาน
ทางทฤษฎีหรือหลักวิชาที่ถูกต้อง และมีผลการวิจัยเชิงประจักษ์ สนับสนุนประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผล มีปัญหามากเป็นอันดับที่ 2 ( X = 2.31) และ มีระบบการสนับสนุนภายใน ผู้บริหาร
บุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเห็นชอบกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนมีปัญหาน้อยกว่าอันดับอื่น ๆ ( X = 1.96)
73
ตารางที่ 20 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 4 :
การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีการกำกับ ติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่
กำหนดไว้
มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน ครอบคลุมงาน/
โครงการของโรงเรียน
มีการดำเนินงานสำเร็จได้ตามกำหนดเวลาที่ระบุในแผน
มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนิน
งานบรรลุผลสำเร็จตามแผน
ครูผู้สอนมีการรายงานเป็นระยะว่าได้ปฏิบัติอย่างไร เป็นไป
ตามแผนมากน้อยเพียงใด
2.23
1.77
1.99
2.00
2.43
.88
.80
.73
.76
1.02
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
รวม 2.08 .67 น้อย
จากตารางที่ 20 พบว่าปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน การดำเนิน
งานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ"น้อย"( X = 2.08) และเมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อทุกข้ออยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาในรายละเอียดปัญหาด้านครูผู้สอนมีการรายงานเป็นระยะ
ว่าได้ปฏิบัติอย่างไร เป็นไปตามแผนมากน้อยเพียงใดมากเป็นอันดับที่ 1 ( X = 2.43) รองลงมาคือ มี
การกำกับ ติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนที่กำหนดไว้ มีปัญหามากอันดับที่ 2( X = 2.23) และมีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
ที่ชัดเจน ครอบคลุมงาน/โครงการของโรงเรียน มีปัญหาน้อยกว่าอันดับอื่น ๆ( X = 1.77)
74
ตารางที่ 21 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 5 :
การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีการกำหนดบุคลากรให้ดำเนินการ ตรวจสอบและทบทวน
อย่างครบถ้วนและชัดเจน
มีการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยบุคลากร
ภายในโรงเรียน
มีการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาจากหน่วย
งานต้นสังกัด
ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามี
ส่วนร่วมในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
มีการสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ครู ผู้รับผิดชอบ
งาน/โครงการ ผู้บริหาร เป็นต้น เกี่ยวกับแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา
2.24
2.28
2.27
2.50
2.35
.87
.91
.92
.96
.90
น้อย
น้อย
น้อย
ปานกลาง
น้อย
รวม 2.32 .77 น้อย
จากตารางที่ 21 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดย
ภาพรวมอยู่ในระดับ"น้อย"( X = 2.32) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ มีปัญหาการดำเนินงานอยู่ใน
ระดับ"น้อย"ทุกข้อ ยกเว้นข้อให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมใน
การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับ"ปานกลาง"( X = 2.50)
75
ตารางที่ 22 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 6 :
การประเมินคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 6 การประเมินคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีเครื่องมือระบบการวัดและประเมินการเรียนรู้และผล
สัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
มีการจัดระบบการประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่างครอบคลุม
มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการประเมิน
ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าใจเกณฑ์การประเมินของผู้เรียน
มีการจัดให้ผู้เรียนชั้น ม.3 และม.6 ได้รับการประเมินผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาแกนร่วม
2.27
2.15
2.18
2.39
1.92
.97
.91
1.05
1.04
.97
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
รวม 2.18 0.85 น้อย
จากตารางที่ 22 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยม
ศึกษา ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ"น้อย"( X = 2.18) และเมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปัญหาด้านผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าใจ
เกณฑ์การประเมินของผู้เรียนมากเป็นอันดับที่ 1( X = 2.39) รองลงมาคือ มีเครื่องมือ ระบบการวัด
และประเมินการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมี
ปัญหาอันดับที่ 2 ( X = 2.27) และมีการจัดให้ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 และมัธยมศึกษาปีที่6 ได้รับ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาแกนร่วม มีปัญหาน้อยกว่าอันดับอื่น ๆ( X = 1.92)
76
ตารางที่ 23 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 7 :
การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 7 การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีการรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพตามแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และแผนปฏิบัติ
งานในรอบปีการศึกษา แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน
รับทราบ
มีการติดตามผล และรับข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณ
ภาพการศึกษาประจำปี ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
มีผลการพัฒนาคุณภาพของตนบรรลุตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
มีการเขียนรายงาน แสดงหลักฐาน ข้อมูล และผลสัมฤทธิ์
ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษา
มีการรายงานนำเสนอด้วยรูปแบบที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย
และจัดเก็บไว้ในระบบสารสนเทศ
2.17
2.31
2.22
2.20
2.33
1.00
.94
.88
.94
1.01
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
2.23 .82 น้อย
จากตารางที่ 23 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ด้านการรายงานคุณภาพ
การศึกษาประจำปีโดยภาพรวมอยู่ในระดับ"น้อย" (= 2.23) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับ
น้อย เมื่อพิจารณาในรายละเอียด มีปัญหาด้านการรายงานนำเสนอด้วยรูปแบบที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย
และจัดเก็บไว้ในระบบสารสนเทศมากเป็นอันดับที่ 1 ( X = 2.33) รองลงมาคือด้านการติดตามผล
และรับข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนมีปัญหามากเป็นอันดับที่ 2 ( X = 2.31) และ
การรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และแผน
ปฏิบัติงานในรอบปีการศึกษา แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และสาธารณชนรับทราบมีปัญหาน้อยกว่าอันดับอื่น ๆ ( X = 2.17)
77
ตารางที่ 24 แสดงผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ขั้นตอนที่ 8 :
การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมและรายข้อ
ข้อที่ ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับปัญหา
ขั้นตอนที่ 8 การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา X SD. การแปลความ
1
2
3
4
5
มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปีมาส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานของระบบประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปีมาประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงานของ
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
มีการนำผลจากการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
มาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขเพื่อ
กำหนดยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนิน
งานในรอบปีที่ผ่านมา
ทุกฝ่ายร่วมกันประเมินทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดทำ
แผนพัฒนาโรงเรียน
2.35
2.30
2.26
2.26
2.23
1.00
.93
.93
.97
.95
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
น้อย
รวม 2.27 .88 น้อย
จากตารางที่ 24 พบว่า ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ
"น้อย" ( X = 2.27) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาในรายระบเอียดด้าน
การนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา ประจำปีมาส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงาน
ของระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนมีปัญหามากเป็นอันดับที่ 1 ( X = 2.35) รองลงมา
คือ การนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา ประจำปีมาประเมินประสิทธิภาพใน
การดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนมีปัญหามากเป็นอันดับที่ 2 ( X =
2.30) และทุกฝ่ายร่วมกันประเมินทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียนมีปัญหาน้อย
กว่าอันดับอื่น ๆ ( X = 2.23)
78
4.4 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ได้ผลการวิเคราะห์ดังตารางที่ 25
ตารางที่ 25 การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความคิดเห็นที่มีต่อสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพ
ภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
สภาพการดำเนินงาน
แหล่งความแปรปรวน SS Df MS F Sig.
1. การจัดระบบบริหาร
และสารสนเทศ
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
3.90
39.03
42.93
2
98
100
1.95
.59
4.90 .00*
2. การพัฒนามาตรฐาน
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
2.79
40.44
43.23
2
98
100
1.39
.41
3.37 .03*
3. การจัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
4.12
36.93
41.05
2
98
100
2.06
.37
5.47 .00*
4. การดำเนินงานตามแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
2.12
37.01
39.13
2
98
100
1.06
.37
2.80 .06
5. การตรวจสอบและ
ทบทวนคุณภาพ
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
3.73
61.06
64.79
2
98
100
1.86
.52
3.57 .03*
6. การประเมินคุณภาพ
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
3.01
49.37
52.38
2
98
100
1.50
.50
2.98 .06
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
79
ตารางที่ 25 (ต่อ)การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความคิดเห็นที่มีต่อสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพ
ภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
สภาพการดำเนินงาน
แหล่งความแปรปรวน SS Df MS F Sig.
7. การรายงานคุณภาพ
การศึกษาประจำปี
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
6.91
54.27
61.18
2
98
100
3.45
.55
6.24 .00*
8. การผดุงระบบ
การประกันคุณภาพ
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
4.51
65.13
69.64
2
98
100
2.25
.66
3.39 .03*
รวมทุกด้าน ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
3.61
33.35
36.96
2
98
100
1.80
.34
5.30 .00*
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 25 พบว่า โรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่
(Scheffe') ได้ผลดังตารางที่ 26
80
ตารางที่ 26 ผลการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ของสภาพการดำเนินงานประกัน
คุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาด
โรงเรียน
สภาพการดำเนินงาน ขนาดโรงเรียน ค่าเฉลี่ย กลางและเล็ก ใหญ่ ใหญ่พิเศษ
1. การจัดระบบบริหารและ
สารสนเทศ
กลางและเล็ก
ใหญ่
ใหญ่พิเศษ
3.52
3.73
4.01
-
-
-
-
.19
.19*
.44*
.44
-
2. การพัฒนามาตรฐาน
การศึกษา
กลางและเล็ก
ใหญ่
ใหญ่พิเศษ
3.86
3.92
4.23
-
-
-
-
-
-
.07*
.07*
.07
3. การจัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ใหญ่
กลางและเล็ก
ใหญ่พิเศษ
3.68
3.70
4.10
-
-
-
-
-
1.00*
.99
.99*
-
5. การตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพการศึกษา
กลางและเล็ก
ใหญ่
ใหญ่พิเศษ
3.43
3.43
3.82
-
-
-
-
-
-
.10*
.10*
.10
7. การรายงานคุณภาพ
การศึกษาประจำปี
กลางและเล็ก
ใหญ่
ใหญ่พิเศษ
3.34
3.54
3.97
-
-
-
-
.08
.08*
.54*
.54
-
8. การผดุงระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษา
กลางและเล็ก
ใหญ่
ใหญ่พิเศษ
3.41
3.62
3.93
-
-
-
-
.30
.30*
.60*
.60
-
รวมทุกด้าน กลางและเล็ก
ใหญ่
ใหญ่พิเศษ
3.60
3.67
4.02
-
-
-
-
.06
.06*
.89*
.89
-
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
81
จากตารางที่ 26 พบว่า ผลการทำสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระห่างคู่ของสภาพการดำเนิน
งานประกันคุณภาพภายใน ในภาพรวมทุกขนาดโรงเรียนมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก และคู่ที่มี
ความแตกต่างกัน คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =4.02) กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก( X =3.60)
และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =4.02) กับโรงเรียนขนาดใหญ่ ( X =3.67) โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
มีการดำเนินงานมากกว่าทั้ง 2 คู่ เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ขั้นตอนที่ 1 การจัดระบบบริหารและ
สารสนเทศ คู่ที่มีความแตกต่างกัน คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =4.01) กับโรงเรียนขนาดกลาง
และเล็ก( X =3.52) โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานมากกว่า และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
( X =4.01) กับโรงเรียนขนาดใหญ่( X =3.73) โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานมากกว่า
เช่นกัน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนามาตรฐานการศึกษา คู่ที่มีความแตกต่างกันคือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
( X =4.23) กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก( X =3.86) และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =4.23) กับ
โรงเรียนขนาดใหญ่( X =3.92) โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานมากกว่าทั้ง 2 คู่ ขั้นตอนที่ 3
การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา คู่ที่มีความแตกต่างกัน คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =4.10)
กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก( X =3.70) จะเห็นได้ว่าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานที่
มากกว่า และโรงเรียนขนาดใหญ( X =3.68) กบั โรงเรยี นขนาดใหญพ่ เิ ศษ( X =4.10) โรงเรยี นขนาด
ใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานมากกว่าเช่นเดียวกัน ขั้นตอนที่ 5 การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ
การศึกษา คู่ที่มีความแตกต่าง คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =3.82) กับโรงเรียนขนาดใหญ่
( X =3.43) และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =3.82) กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก( X =3.43) ซึ่ง
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานที่มากกว่าทั้ง 2 คู่ ขั้นตอนที่ 7 การรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปี คู่ที่มีความแตกต่าง คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =3.97) กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก
( X =3.34) และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =3.97)กับโรงเรียนขนาดใหญ่( X =3.54) เป็นที่น่า
สังเกตว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานที่ค่อนข้างสูงกว่าทั้ง 2 ขนาดโรงเรียน ขั้นตอนที่ 8
การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา คู่ที่มีความแตกต่าง คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
( X =3.93) กับโรงเรียนขนาดใหญ่( X =3.67) และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =3.93) กับโรงเรียน
ขนาดกลางและเล็ก( X =3.41) โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการดำเนินงานมากกว่าทั้ง 2 คู่
82
4.5 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ได้ผลการวิเคราะห์ดังตารางที่ 27
ตารางที่ 27 การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความคิดเห็นที่มีต่อปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพ
ภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ปัญหาการดำเนินงาน
แหล่งความแปรปรวน SS df MS F Sig.
1. การจัดระบบบริหาร
และสารสนเทศ
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
2.42
43.72
46.14
2
68
100
1.21
.44
2.72 .07
2. การพัฒนามาตรฐาน
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
2.04
58.12
60.16
2
68
100
3.02
.59
1.72 .18
3. การจัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
2.30
48.20
50.50
2
68
100
1.13
.49
2.34 .10
4. การดำเนินงานตามแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
2.13
43.57
45.70
2
68
100
1.06
.44
2.40 .09
5. การตรวจสอบและ
ทบทวนคุณภาพ
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
5.41
54.00
59.41
2
68
100
2.70
.66
4.91 .00*
6. การประเมินคุณภาพ
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
4.94
67.42
72.36
2
68
100
2.47
.68
3.59 .03*
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
83
ตารางที่ 27(ต่อ)การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความคิดเห็นที่มีต่อปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพ
ภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ปัญหาการดำเนินงาน
แหล่งความแปรปรวน SS Df MS F Sig.
7. การรายงานคุณภาพ
การศึกษาประจำปี
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
7.22
60.90
68.12
2
68
100
3.61
.62
5.81 .00*
8. การผดุงระบบ
การประกันคุณภาพ
การศึกษา
ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
4.40
74.71
79.11
2
68
100
2.20
.76
2.88 .06
รวมทุกด้าน ภายในกลุ่ม
ระหว่างกลุ่ม
รวมทั้งหมด
3.27
42.88
46.15
2
68
100
1.63
.43
3.73 .02*
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 27 พบว่า โรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่
(Scheffe') ได้ผลดังตารางที่ 28
84
ตารางที่ 28 ผลการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ของปัญหาการดำเนินงานประกัน
คุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาด
โรงเรียน
สภาพการดำเนินงาน ขนาดโรงเรียน ค่าเฉลี่ย กลางและเล็ก ใหญ่ ใหญ่พิเศษ
5. การตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพการศึกษา
ใหญ่พิเศษ
กลางและเล็ก
ใหญ่
2.05
2.45
2.56
-
-
-
-
.82*
.82
.11
.11*
-
6. การประเมินคุณภาพ
การศึกษา
ใหญ่พิเศษ
กลางและเล็ก
ใหญ่
1.96
2.14
2.46
-
-
-
-
-
-
.05
.05*
.05*
7. การรายงานคุณภาพ
การศึกษาประจำปี
ใหญ่พิเศษ
ใหญ่
กลางและเล็ก
1.94
2.36
2.59
-
-
-
-
.52
.52*
.10
.10*
-
รวมทุกด้าน ใหญ่พิเศษ
กลางและเล็ก
ใหญ่
1.97
2.30
2.35
-
-
-
-
-
-
.07
.07*
.07*
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 28 พบว่า ผลการทำสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ของปัญหาการ
ดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ในภาพรวมทุกขนาดโรงเรียนมีปัญหาอยู่ในระดับน้อย และคู่ที่มี
ความแตกต่าง คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =1.97) กับโรงเรียนขนาดใหญ่( X =2.35) โรงเรียน
ขนาดใหญ่มีปัญหาการดำเนินงานที่มากกว่า และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =1.97) กับโรงเรียน
ขนาดกลางและเล็ก( X =2.30) โรงเรียนขนาดกลางและเล็กมีปัญหาการดำเนินงานมากกว่า เมื่อ
พิจารณาในรายละเอียด ขั้นตอนที่ 5 การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา คู่ที่มีความแตกต่าง
กันคือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =2.05) กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก( X =2.45) โรงเรียนขนาด
ใหญ่มีปัญหาการดำเนินงานมากกว่า และโรงเรียนขนาดใหญ่( X =2.56) กับโรงเรียนขนาดกลางและ
เล็ก( X =2.45) โรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาการดำเนินงานมากกว่า ขั้นตอนที่ 6 การประเมินคุณภาพ
การศึกษา คู่ที่มีความแตกต่าง คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ( X =1.96) กับโรงเรียนขนาดใหญ่
85
( X =2.46) โรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาการดำเนินงานมากกว่า และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
( X =1.96) กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก( X =2.14) โรงเรียนขนาดกลางและเล็กมีปัญหาการดำเนิน
งานมากกว่า ขั้นตอนที่ 7 การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีคู่ที่มีความแตกต่าง คือ โรงเรียนขนาด
ใหญ่พิเศษ( X =1.94) กับโรงเรียนขนาดใหญ( X =2.36) โรงเรียนขนาดใหญ่มีปัญหาการดำเนินงาน
มากกว่า และระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ( X =2.36) กบั โรงเรยี นขนาดกลางและเลก็ ( X =2.59)
โรงเรียนขนาดกลางและเล็กมีปัญหาการดำเนินงานมากกว่า
4.6 ผลการศึกษาข้อเสนอแนะสภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร
จำแนกได้ 6 ข้อใหญ่ได้ดังนี้
ตารางที่ 29 ข้อเสนอแนะในการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน
ข้อเสนอแนะ จำนวน
(n=101)
ร้อยละ
1. ครู-อาจารย์ทำงานประจำของโรงเรียนอยู่แล้วจึงรู้สึกว่าการดำเนินงาน
ประกันคุณภาพภายในเป็นภาระเพิ่มเติม
2. ครู – อาจารย์ในโรงเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกัน
คุณภาพการศึกษาและทิศทางการประเมินยังไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
3. ครู-อาจารย์ส่วนหนึ่งไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการประกันคุณภาพ
การศึกษา จึงไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมการประกันคุณภาพ
4. งบประมาณไม่เพียงพอ จึงมีข้อจำกัดในการพัฒนาบุคลากรและการจัด
สิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
5. กรมสามัญและสำนักงานทดสอบและประเมินมาตรฐานการศึกษา ควร
ร่วมมือกันในการจัดทำมาตรฐานต่าง ๆ ให้สอดคล้องกัน เพื่อโรงเรียน
จะได้จัดทำมาตรฐานต่าง ๆ ให้เหมือนกัน
6. ผู้ที่จะมาประเมินจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
ภายใน
58
49
46
38
26
19
57.42
48.51
45.54
37.62
25.74
28.81
86
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ในบทนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการสรุปผลการวิจัย
อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้
5.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
5.2 วิธีดำเนินการวิจัย
5.3 สรุปผลการวิจัย
5.4 อภิปรายผล
5.5 ข้อเสนอแนะ
5.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1) เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม
สามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร
2) เพื่อศึกษาปัญหาการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม
สามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร
3) เพื่อเปรียบเทียบสภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยม
ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร โดยเปรียบเทียบระหว่างขนาดของโรงเรียน แบ่ง
ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ โรงเรียนขนาดใหญ่ และโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก
5.2 วิธีดำเนินการวิจัย
5.2.1 ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นผู้บริหารโรงเรียนจากโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 116 โรงเรียน ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยศึกษาเกี่ยวกับประชากร
ประชากรตอบแบบสอบถามรวมทั้งสิ้น 101 คน คิดเป็นร้อยละ 87.06
88
5.2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
ความเที่ยงตรง และทดลองใช้ กับผู้บริหารโรงเรียน ในโรงเรียนมัธยมศึกษาส่วนกลาง จำนวน 30
คน เพื่อหาความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่า ของ ครอนบาค(Cronbach) ได้ค่า
สัมประสิทธิ์ความเที่ยง เท่ากับ 0.98 เครื่องมือวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ
แบบสอบถาม (2) สภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน และข้อเสนอแนะใน
การดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
5.2.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองและทางไปรษณีย์ ได้ข้อมูลแบบสอบถามกลับ
คืนมาจำนวน 101 ชุด คิดเป็นร้อยละ 87.06
5.2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS(Statistical Package
for Social/For Windows) ได้ดำเนินการวิเคราะห์ค่าสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นระหว่างขนาดโรงเรียน ที่มีต่อสภาพและ
ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(One Way
ANOVA) ในการวิคราะห์ข้อมูล และนำเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบคำบรรยาย
5.3 สรุปผลการวิจัย
5.3.1 ผลการศึกษาสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยม
ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร เมื่อพิจารณาการดำเนินงานตามระบบประกัน
คุณภาพภายใน ทั้ง 8 ขั้นตอน พบว่า ส่วนมากมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก
รายละเอียดของสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน รายขั้นตอนในแต่ละขั้นตอน
เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
1) การพัฒนามาตรฐานการศึกษา มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ
พิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก คือ (1) มีการปลูกฝังความภาคภูมิใจและ
ความเป็นเจ้าของสถานศึกษาที่ต้องร่วมรับผิดชอบต่อผู้เรียนและความรับผิดชอบต่อสังคมแก่บุคลากร
(2) มีระบบการบริหารและระบบการทำงานที่มุ่งเน้นคุณภาพที่จะทำให้ก้าวสู่เป้าหมายในการพัฒนา
89
มาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้ ส่วนเรื่องที่มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก อันดับสุดท้าย คือ มี
การพัฒนาทักษะและความสามารถของบุคลากรให้สอดคล้องกับหน้าที่ และตำแหน่ง
2) การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่องพบว่า มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน ครอบคลุมงาน/
โครงการของโรงเรียนมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมากกว่าอันดับอื่น ๆ ส่วนเรื่องที่มีการดำเนิน
งานอยู่ในระดับปานกลาง คือ ครูผู้สอนมีการรายงานเป็นระยะว่าได้ปฏิบัติอย่างไรเป็นไปตามแผนมาก
น้อยเพียงใด
3) การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในมีการกำหนดเป้าหมาย วัตถุ
ประสงค์ และตัวบ่งชี้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่สังเกตและวัดได้ในเชิงปริมาณ
มากกว่าอันดับอื่น ๆ เรื่องที่มีการดำเนินงานในระดับปานกลาง คือ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนระบุแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลือ สนับสนุนทางวิชาการ
4) การประเมินคุณภาพการศึกษา มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ
พิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก คือ (1) มีการจัดให้ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่6 ได้รับการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาแกนร่วม (2) มีเครื่องมือ
ระบบการวัดและประเมินการเรียนรู้และผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้น
พื้นฐานและมีการจัดระบบการประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่างครอบคลุม อันดับสุดท้าย คือ ผู้เรียน
และผู้ปกครองเข้าใจเกณฑ์การประเมินของผู้เรียน
5) การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก คือ (1)มีการกำหนดอำนาจหน้าที่
และขอบข่ายงานของบุคลากรแต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจน (2) มีการกำหนดโครงสร้างและระบบ
การบริหารที่สอดคล้องกับภารกิจของโรงเรียน อันดับสุดท้าย คือ มีการจัดระบบสารสนเทศเพื่อ
การรายงาน
6) การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก คือ (1) ทุกฝ่ายร่วมกัน
ประเมินทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียน (2) ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ
และแนวทางแก้ไขเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่าน
มา อันดับสุดท้าย คือ มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา ประจำปีมาส่งเสริม
พัฒนาการดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
90
7) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก มีการเขียนรายงาน แสดงหลักฐาน
ข้อมูล และผลสัมฤทธิ์ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษามากที่สุด ส่วนเรื่องที่มีการดำเนินงานอยู่ใน
ระดับปานกลาง คือ มีการติดตามผล และรับข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี
ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
8) การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา มีการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีการดำเนินการอยู่ในระดับมาก มีการตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพการศึกษาโดยบุคลากรภายในโรงเรียนมากที่สุด ส่วนเรื่องที่มีการดำเนินงานอยู่ในระดับ
ปานกลาง คือ การให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจ
สอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
5.3.2 ผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยม
ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร เมื่อพิจารณาปัญหาการดำเนินงานตาม
ระบบประกันคุณภาพภายใน ทั้ง 8 ขั้นตอน พบว่า ส่วนมากมีการดำเนินงานอยู่ในระดับน้อย
รายละเอียดของปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน รายขั้นตอนในแต่ละขั้นตอน
เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
1) การตรวจสอบคุณภาพการศึกษา มีปัญหาการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย
เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีการสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ครู ผู้รับผิดชอบงาน/
โครงการ ผู้บริหาร เป็นต้น เกี่ยวกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษามีปัญหามากที่สุด ส่วนเรื่องที่มี
การดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง คือ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามี
ส่วนร่วมในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
2) การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มีปัญหาการดำเนินงานในภาพรวมอยู่
ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีปัญหา คือ (1) การนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับ
รายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีมาส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในโรงเรียน (2) การนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา ประจำปีมาประเมิน
ประสิทธิภาพในการดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน อันดับสุดท้ายคือ
ทุกฝ่ายร่วมกันประเมินทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียน
91
3) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี มีปัญหาการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ใน
ระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีปัญหา คือ (1) มีปัญหาด้านการรายงานนำเสนอด้วย
รูปแบบที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย และจัดเก็บไว้ในระบบสารสนเทศ (2) มีการติดตามผล และรับ
ข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ส่วนที่มีปัญหาน้อยอันดับสุดท้าย คือ การ
รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และแผน
ปฏิบัติงานในรอบปีการศึกษา แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และสาธารณชนรับทราบ
4) การประเมินคุณภาพการศึกษา มีปัญหาการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย
เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีปัญหา (1) ปัญหาด้านผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าใจเกณฑ์การประเมิน
ของผู้เรียน (2) มีเครื่องมือ ระบบการวัด และประเมินการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่สอดคล้อง
กับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีปัญหาอันดับสุดท้าย คือ มีการจัดให้ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
และมัธยมศึกษาปีที่6 ได้รับการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาแกนร่วม
5) การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ มีปัญหาการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับ
น้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีปัญหา (1) ปัญหาด้านการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการรายงาน
และมีการจัดวางระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน และการตัดสินใจ (2) ปัญหาด้าน
การกำหนดโครงสร้าง และระบบการบริหารที่สอดคล้องกับภารกิจของโรงเรียน อันดับสุดท้าย คือ มี
ปัญหาด้านการกำหนดอำนาจหน้าที่ และขอบข่ายงานของบุคลากรแต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจน
6) การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีปัญหาการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ใน
ระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีปัญหา (1) ปัญหาด้านแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนระบุแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลือ สนับสนุนทางวิชาการ (2) ปัญหา
ด้านการใช้ยุทธศาสตร์ และเทคนิควิธีต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการเรียนการสอน การวัดและ
การประเมิน ตลอดจนการบริหารจัดการ ตั้งอยู่บนรากฐานทางทฤษฎีหรือหลักวิชาที่ถูกต้อง และมีผล
การวิจัยเชิงประจักษ์สนับสนุนประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อันดับสุดท้ายคือ มีปัญหาด้าน
ระบบการสนับสนุนภายใน ผู้บริหาร บุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเห็นชอบ
กับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
92
7) การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีปัญหาการดำเนินงานในภาพ
รวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีปัญหา (1) ปัญหาด้านครูผู้สอนมีการรายงาน
เป็นระยะว่าได้ปฏิบัติอย่างไร เป็นไปตามแผนมากน้อยเพียงใด (2) ปัญหาด้านการกำกับ ติดตาม
การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่
กำหนดไว้ อันดับสุดท้ายคือ ปัญหาด้านการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน ครอบคลุมงาน/
โครงการของโรงเรียน
8) การพัฒนามาตรฐานการศึกษา มีปัญหาการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับ
น้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายเรื่อง พบว่า มีปัญหา (1) ปัญหาด้านระบบการบริหารและระบบการทำงานที่
มุ่งคุณภาพที่จะทำให้ก้าวสู่เป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้ (2) ปัญหาด้าน
การจัดโครงสร้างพื้นฐาน และสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียน อันดับสุดท้าย คือ ปัญหา
ด้านการพัฒนาทักษะ และความสามารถของบุคลากรให้สอดคล้องกับหน้าที่และตำแหน่ง
5.3.3 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นสภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรง
เรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
5.3.4 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรง
เรียน
5.4 อภิปรายผล
จากการศึกษาวิเคราะห์สภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยม
ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ได้ผลดังนี้
สภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา ตามระบบการประกัน
คุณภาพภายในทั้ง 8 ขั้นตอนนั้น โดยภาพรวมมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก ซึ่งแตกต่างจากผลงาน
วิจัยของเพ็ญศิริ ทานให้ (2544) ที่พบว่าการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยในสังกัด
สถาบันพระบรมราชชนก เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสภาพการดำเนินการประกันโดยภาพ
รวมมีการดำเนินการอยู่ในระดับปานกลาง และอาภรณ์ พลเยี่ยม (2542) ที่พบว่า การดำเนินการตาม
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยขอนแก่น รวมทุกด้านมีการ
ดำเนินการอยู่ในระดับปานกลาง และมีลักษณะคล้ายคลึงกับผลงานวิจัยของ ฉัตรชัย ต๊ะปินตา (2544)
93
ที่พบว่า การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ใน
เขตการศึกษา 6 มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนได้ให้ความสำคัญใน
การดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้มีการพัฒนาตนเองอย่างทั่วถึง
ตลอดจนมีการให้ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้ครูมีจิตสำนึกและมีความรู้สึกที่ดีต่อการประกันคุณภาพ
การศึกษา ซึ่งเป็นแนวโน้มที่จะทำให้การประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประสบความสำเร็จได้
ส่วนปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ตามระบบการประกันคุณภาพภายในทั้ง 8 ขั้นตอน
โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย แตกต่างจากผลงานวิจัยของ เพ็ญศิริ ทานให้(2544) ที่พบว่า ปัญหา
การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง รวมถึงผลงานวิจัยของอาภรณ์ พลเยี่ยม
(2542) และทำเนียบ มหาพรม(2543) ที่พบว่า สภาพปัญหาการดำเนินการอยู่ในระดับปานกลางเช่น
เดียวกัน และสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ เจริญไชย ไชยวงศ์ (2539) ได้ศึกษาการนำเกณฑ์มาตรฐาน
โรงเรียนประถมศึกษา ไปใช้ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา อำเภอแม่แตง จังหวัด
เชียงใหม่ พบว่า มีปัญหาและอุปสรรคอยู่ในระดับน้อย และมีลักษณะคล้ายคลึงกับผลงานวิจัยของ
สุระศักดิ์ ศรีปาน(2542) ที่พบว่า ปัญหาและอุปสรรคของการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนอาชีว
ศึกษาเอกชน มีปัญหาและอุปสรรคอยู่ในระดับน้อย แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนสามารถจัดการประกัน
คุณภาพภายในได้ดี สามารถตอบสนองนโยบายตามแนวการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในได้
มีการกระตุ้น และให้แนวทางที่ชัดเจนในการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน และมีการกำกับติดตาม
ให้ข้อเสนอแนะที่ถูกต้อง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
1. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ จากผลการวิจัยวิเคราะห์ได้ว่า โรงเรียนส่วนใหญ่มี
ระบบบริหารและสารสนเทศที่มีคุณภาพ ข้อมูลและสารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นเครื่องชี้นำใน
การบริหาร และการดำเนินงานทางการศึกษาได้ แต่นั่นหมายถึงข้อมูล และสารสนเทศเหล่านั้นจะต้อง
มีคุณภาพทั้งในด้านความถูกต้อง เชื่อถือได้ มีความเป็นปัจจุบัน สามารถตอบสนองผู้ใช้ได้ทันต่อ
เหตุการณ์
2. การพัฒนามาตรฐานการศึกษา จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า โรงเรียนส่วนใหญ่ได้มี
การเตรียมการร่วมกับคณะทำงานในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนอย่างต่อ
เนื่อง รวมทั้งมีการเตรียมการจัดทำเครื่องมือตามเกณฑ์โดยทำงานร่วมกันเป็นทีม ซึ่งสถาบันส่งเสริม
การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
(2542 : 53) ได้กล่าวไว้ว่า "การประกันคุณภาพภายในเป็นเรื่องของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
มิได้เป็นเรื่องของคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ และมิใช่เป็นการดำเนินงานแบบต่าง
คนต่างทำ แต่เป็นเรื่องที่ทุกคนจะต้องทำงานร่วมกันอย่างต่อเนื่องและมีความเชื่อมโยงระหว่างภารกิจ
94
ต่าง ๆ ของสถานศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาที่ต้องการ โดยจะต้องร่วมกัน
กำหนดเป้าหมาย วางแผนการทำงาน ออกแบบการประเมินตนเอง แล้วช่วยกันทำและพัฒนาปรับปรุง
ก็จะทำให้การประกันคุณภาพภายในมีความต่อเนื่อง และยั่งยืน"
3. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากผลการวิจัยวิเคราะห์ได้ว่า ในด้าน แผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนระบุแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนทางวิชาการ
มีสภาพการดำเนินการอยู่ในระดับปานกลาง โรงเรียนจึงควรให้ผู้ปกครอง ชุมชน เข้ามามีบทบาท
ในการร่วมคิดร่วมปฏิบัติงานกับโรงเรียนมากขึ้น สร้างความตระหนักให้แก่ผู้ปกครอง และชุมชนใน
การเป็นเจ้าของโรงเรียนร่วมกัน เพื่อให้โรงเรียนได้รับความร่วมมือและได้รับความช่วยเหลือในกิจการ
ต่าง ๆ ของโรงเรียน
4. การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในภาพรวมมีสภาพการดำเนินงานอยู่ใน
ระดับมาก และมีปัญหาหารดำเนินงานอยู่ในระดับน้อย แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนได้มีการกำกับ ติดตาม
การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่
กำหนดไว้ และมีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุผลสำเร็จตาม
แผน และมีการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา อยู่ในระดับมากเป็นอันดับสุดท้าย แสดงให้
เห็นว่า โรงเรียนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการทำความเข้าใจกับบุคลากรเพื่อให้ตระหนักถึง
ความสำคัญของการแก้ปัญหาของโรงเรียนร่วมกัน ซึ่งหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา เขต
การศึกษา 6 (2543 : 11) ที่ระบุว่า "ผู้บริหารสถานศึกษาต้องวางแผนในการดำเนินการสร้างความรู้
ความเข้าใจ ความตระหนักและโน้มน้าวจูงใจให้ครู และบุคลากรยอมรับและผูกพันที่จะร่วมมือร่วมใจ
ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้ประสบความสำเร็จ" เมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อ พบว่า ด้านครูผู้สอน มีการรายงานเป็นระยะว่าได้ปฏิบัติอย่างไร เป็นไปตามแผนมากน้อย
เพียงใด มีสภาพการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง อาจจะเป็นเพราะว่า ครูผู้สอนไม่มีเวลาที่จะทำ
การรายงาน เนื่องจากครูต้องสอนตลอดวัน และต้องรับผิดชอบงานพิเศษที่ผู้บริหารโรงเรียนมอบหมาย
อีกด้วย สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปรัชญา เวสารัชช์ สุจิตศิลารักษ์ และสุภางค์ จันทวานิช และคณะ
(อ้างใน สุรพันธ์ สืบฟัก 2533) พบว่า ปริมาณความรับผิดชอบของครูมีมากเกินไป นอกเหนือจาก
หน้าที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว ครตู อ้ งมหี นา้ ที่ รบั ผดิ ชอบงานอนื่ ๆ ทั้งภายใน และ
ภายนอกโรงเรียน ทำให้ครูไม่มีเวลาปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเต็มที่ จากสาเหตุดังกล่าวผู้
วิจัยมีความเห็นว่า น่าจะเป็นปัจจัยที่ทำให้ครูเกิดความท้อแท้ ถดถอย ทำให้ขาดความรับผิด
ชอบ ไม่มีความตระหนักในหน้าที่ของตนเอง เป็นการถอนตัวเชิงจิตวิทยา นั่นคือ แสดงอาการเฉื่อยชา
ไม่ยินดียินร้าย ไม่กระตือรือล้น
95
5. การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา พบว่า ในสภาพการดำเนินงาน โรงเรียนมี
การให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพการศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง น่าจะเป็นเพราะขาดการประชาสัมพันธ์ ขาดการเผยแพร่ความ
รู้ความเข้าใจแก่บุคคลดังกล่าว จึงทำให้มีข้อจำกัดในการนำทรัพยากรบุคลในพื้นที่ตั้งของโรงเรียนมามี
ส่วนร่วมในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระบบ
ประกันคุณภาพภายใน เพราะระบบประกันคุณภาพการศึกษาเน้นนโยบายหลักในการกระจายอำนาจ
การจัดการศึกษาโดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในทุกกระบวน
การ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประกันคุณภาพภายในระดับโรงเรียน โรงเรียนจะต้องจัดทำด้วยความร่วม
มือของทุกคนในชุมชน และในด้านปัญหาด้านให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามา
มีส่วนร่วมในการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษามีปัญหาอยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกับ
สภาพการดำเนินงานซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ สัญชาติ ตาลชัย (2542)
ที่ได้ทำการศึกษาปัญหาการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา ซึ่งการวิจัยพบว่า
งานด้านโรงเรียนกับชุมชนมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกัน แสดงให้เห็นว่า การนำผู้ทรง
คุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ให้
เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนควรเพิ่มระดับการดำเนินงานให้
มากขึ้น เพื่อให้บุคคลเหล่านี้ได้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนร่วมกัน สอด
คล้องกับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญ
ศึกษา (2542 : 50) ได้กำหนดบทบาทของผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ไว้ว่า คณะกรรมการสถาน
ศึกษา มีบทบาทในด้านการให้คำปรึกษา การให้การสนับสนุน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ดำเนินงาน และรับทราบผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
6. การประเมินคุณภาพการศึกษา จากผลการวิจัยวิเคราะห์ได้ว่า ความเชื่อมโยงระหว่าง
โรงเรียนกับผู้ปกครอง มีการดำเนินงานอยู่ในระดับสูง ในการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
ผู้ปกครอง และชุมชนเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ดังนั้น
การที่ผู้บริหารใช้ยุทธศาสตร์ในการติดต่อประสานงาน โน้มน้าวจูงใจ ให้ผู้ปกครองและชุมชน เข้ามามี
ส่วนร่วมเป็นเจ้าของโรงเรียน เชื่อว่าความสำเร็จจากการดำเนินงานดังกล่าว จะช่วยให้การรักษา
มาตรฐาน และคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เป็นไปอย่างต่อเนื่องและเกิดผลดีต่อคุณภาพของ
โรงเรียนอย่างแท้จริง
96
7. การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี จากผลงานวิจัยวิเคราะห์ได้ว่า สภาพการดำเนินงาน
ด้านการติดตามผล และรับข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ได้แก่ นักเรียน
ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน อยู่ในระดับปานกลาง
อาจเกิดจากการจัดการยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เพราะขาดงบประมาณดำเนินการ ซึ่งสอดคล้อง
กับการศึกษาของ เจริญไชย ไชยวงศ์ (2539) ที่พบว่า ความเหมาะสมของงบประมาณที่สนับสนุน
การดำเนินการ สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดคือการขาดแคลนงบประมาณสนับสนุนงานและโครงการ
และขาดการประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษาได้รับทราบนโยบาย วัตถุประสงค์ และ
เป้าหมายของการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา จึงทำให้การติดตาม และรับข้อมูลย้อนกลับ
กระทำได้ไม่ต่อเนื่อง
8. การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา จากผลการวิจัยวิเคราะห์ได้ว่า โรงเรียนส่วน
ใหญ่มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง
ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัดที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน รวมถึงนำผลจากการตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพการศึกษามาส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
ซึ่งแตกต่างจากผลงานวิจัยของ ฉัตรชัย ต๊ะปินตา(2544) ที่พบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่มีการวางแผนใน
การรักษามาตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนภายหลังการประเมินน้อย
5.5 ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะสำหรับกรมสามัญศึกษา
1. การประกันคุณภาพภายใน จะต้องมีกฎเกณฑ์มาตรฐานที่แน่นอน โดยกรมสามัญศึกษา
ควรจะกำหนดเกณฑ์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันไม่ควรให้แต่ละโรงเรียนเป็นผู้กำหนดตัวบ่งชี้ในแต่ละ
มาตรฐาน
2. กรมสามัญศึกษาควรจะสนับสนุนด้านงบประมาณในด้านการดำเนินการประกันคุณภาพ
ภายใน แก่สถานศึกษาหลังจากได้รับการประเมินคุณภาพภายในแล้ว เพราะในการประเมินส่วนใหญ่
ดูที่เอกสารซึ่งสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายและไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร
3. การตรวจสอบการประกันคุณภาพภายใน ควรมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะสำหรับผู้บริหาร
1. ผู้บริหารควรพัฒนาครู-อาจารย์ในโรงเรียน ให้ทุกคนตระหนักและเป็นส่วนหนึ่งของระบบ
การประกันคุณภาพภายในที่จะต้องกระทำอย่างต่อเนื่องเป็นปกติ
97
2. ในการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนควรมีการพัฒนาบุคลากรในระดับ
โรงเรียน ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการโรงเรียน ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อให้การดำเนินงานประสบ
ความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
3. ผู้บริหารควรให้บุคลากรทุกระดับ เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการประกันคุณภาพ
ภายใน กำหนดแนวปฏิบัติขั้นตอน รวมทั้งการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัย
ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับระบบการดำเนินงานประกันคุณภาพภายนอกของโรงเรียนมัธยม
ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา หรือหน่วยงานทางการศึกษาอื่น เพื่อจะได้หาแนวทางในการปรับปรุง
แก้ไขให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ต่อไป
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. เส้นทางสู่ความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา : แนวทางการดำเนินงานการปฏิรูป
การศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภา. 2542.
เข็มทอง ศิริแสงเลิศ. การวิเคราะห์ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญดุษฏีบัณฑิต ภาควิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2540.
จุฑา เทียนไทย และจินตนา ชาญชัยศิลป์. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง.
กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2544.
จุไรรัตน์ สุดรุ่ง. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
สังกัดกรมสามัญศึกษา :กรณีศึกษาโรงเรียนที่ได้รับรางวัลพระราชทานในกรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. 2539.
เจริญชัย ไชยวงศ์. การนำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนประถมศึกษาไปใช้ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการ
ประถมศึกษา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2539.
ฉัตรชัย ต๊ะปินตา. การเตรียมโรงเรียนเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรมสามัญศึกษา ในเขตการศึกษา 6. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์. 2544.
ทำเนียบ มหาพรหม. การติดตามการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอุดรธาน.ี วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหา
บัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2543.
นันทนา ศิริทรัพย์. การประกันคุณภาพการศึกษา, ในเอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา. จัดโดยสำนักมาตรฐานอุดมศึกษา ทบวงมหาวิยาลัย ณ
โรงแรมผึ้งหวาน จังหวัดกาญจนบุรี วันที่ 15-17 กันยายน 2543.
บุญทิพย์ สุริยวงศ์. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9002
ของโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา. . 2544(อัดสำเนา)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และปฐมวัย. 26 พฤศจิกายน 2544. 2544.
ประคอง กรรณสูตร. สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. ปทุมธานี : ศูนย์หนังสือ ดร.ศรีสง่า . 2538.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สำนัก
ทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. 2540.
เพ็ญศิริ ทานให้. การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก
เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น. 2544.
วรภัทร์ ภู่เจริญ. แนวทางการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี. 2541.
วันชัย ศิริชนะ. การพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับสถาบันอุดม
ศึกษาในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาอุดมศึกษา บัณฑิต
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2537.
สงบ ลักษณะ. การแสวงหาแนวคิดแนวปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาผ่านทางระบบประกัน.
(ม.ป.ท). 2538.
สถาบันส่งเสริมการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
แห่งชาติ. แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา : เพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก.
กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี. 2543.
สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์. การประกันคุณภาพการศึกษา : พลังและความหวัง.. 2542.(อัดสำเนา)
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. การประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://WWW.moe.go.th/main2/article14.htm#A.0 2542.
สามัญศึกษา,กรม. กลยุทธ์ ISO 9000 กับการประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ; หน่วยศึกษานิเทศก์
กรมสามัญศึกษา, 2541 : 5-6
. แนวทางการดำเนินงานการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ : คุรุสภา
ลาดพร้าว. 2542.
สุระศักดิ์ ศรีปาน. ศึกษาสภาพการจัดการอาชีวศึกษา โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ตามแนวดำเนินการเพื่อ
การประกันคุณภาพ ประเภทช่างอุตสาหกรรม เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญา
ครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร.ี 2542.
สุรพันธ์ สืบฟัก. การรับรู้ของผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องต่อบทบาทของครูประถมศึกษา จังหวัดลำปาง.
วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2533.
สุวิมล ว่องวาณิช. คู่มือการประเมินผลภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา:การออกแบบ
การประเมินผลภายใน. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2543ก.
.รายงานการวิจัยและพัฒนาระบบการประเมินผลภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนัก
งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ 2543ข.
สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. แนวทางการพัฒนาโรงเรียนเพื่อเตรียมรับการประกันคุณภาพการศึกษา. วารสาร
วิชาการ ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2544 : 34-36
สัมฤทธิ์ วิรัตน์ตนะ. การประเมินมาตรฐานคุณภาพการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา
เขตการศึกษา 12. วารสารการวิจัยทางการศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2537 : 24(1)
สัญชาติ ตาลชัย. ศึกาาปัญหาการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม
สามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ . มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. 2540.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา : เพื่อพร้อม
รับการประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ:สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.
2543.
วิชาการ, กรม.ลำดับที่ 1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา : กรอบและแนว
การดำเนินงาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานทดสอบทางการศึกษา. 2544.
.ลำดับที่ 2 .แนวทางการจัดทำระบบสารสนเทศสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานทดสอบทาง
การศึกษา. 2544.
.ลำดับที่ 3 .แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานทดสอบทาง
การศึกษา. 2544.
.ลำดับที่ 4..แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนัก
งานทดสอบทางการศึกษา. 2544.
.ลำดับที่ 5. แนวทางการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ :
สำนักงานทดสอบทางการศึกษา. 2544.
.ลำดับที่ 6. แนวทางการรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนัก
งานทดสอบทางการศึกษา. 2544.
.ลำดับที่ 7. แนวทางการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยเขตพื้น
ที่การศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานทดสอบทางการศึกษา. 2544.
สำนักนโยบายและแผนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม, สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 .2542.
หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา. เอกสารชุดการประกันคุณภาพการศึกษา กรมสามัญศึกษาเล่ม2 :
แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา กรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. 2542
หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6. รายงานการวิจัยเรื่องสภาพการดำเนินงานการ
ประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา. ลพบุรี : ประเสริฐการพิมพ์. 2543.
อาภรณ์ พลเยี่ยม. การศึกษาการดำเนินการตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2542.
อุทุมพร จามรนาม. การประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : ฟันนี่พับบลิชชิ่ง. 2543.
Bergguist, W.H. Quality Through Access with Quality : the New Imperative for Higher
Education. San Franciseo : Jossey-Bass. 1995.
Brooks, Elizabetha. Quality Assurance and Improvement Planning and the Education of Special
for Students.Disertation Abstracts International, 60(04) : 946 ; October 1999.
Cuttance, P.Quality Assurance and Quality Management. Evaluation News & Comment. February.
1993 : 18-23
Department of Education and Science. Higher Education : A New Framework. London : HMSO.
1991.
Egloff, John Francis. Suggested Personnel Functions and Service of an Intermediate School
District as Perceived by Constitute K-12 District Administrators, Dissertation Abstracts
International. 1982.
Newton, J. An Evaluation of the Impact of Extenal Quality Monitoring on a Higher Education
Cokkege (1993-98). Assessment & Evaluation in Higher Education. Febrary . 1999 :215-235
Nailor, Partricia Cook. Developing School Counselors as Change Agents for School of
Tommorow. Dissertation Abstracts International, Johnson Wales University, 2000 (DAI-A
CD-Rom. No AAT 9941907)
Pattiricia , Broad Foot. Approach to Quality Assurance and Control in Other Countries. Paper
Presented at the Annual Meeting of the American Education Research Association, April.
1994.
Stufflebeam, D.L. The Evaluation Center. [Online]. Available : http://www.wmich.edu/evalctr.. 1998.
ภาคผนวก ก. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องระบบหลักเกณฑ์และ
วิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานและปฐมวัย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
กฎหมายแม่บททางการศึกษาฉบับแรกของประเทศไทย ที่บัญญัติมีหลายมาตราในส่วนที่เกี่ยวข้อง
กับการประกันคุณภาพการศึกษา สรุปประเด็นสำคัญได้ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ 2542)
"มาตรฐานการศึกษา" หมายความว่า ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์ และ
มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่งและเป็นหลักเกณฑ์ในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม
และกำกับดูแล การตรวจตราและการประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา
"การประกันคุณภาพภายใน" หมายความว่าการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา จากสถานศึกษาภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือหน่วยงานต้นสังกัด
ที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษานั้น
"การประกันคุณภาพภายนอก" หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มี
การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ที่กล่าวในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ในหมวดที่ 6 จำนวน 5 มาตรา คือ มาตรา 47 - 51 ดังนี้
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก
ระดับ ประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอกระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้อง
ดำเนินอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ
เปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรับรองการประกัน
คุณภาพภายนอก
มาตรา 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษามีฐานะเป็นองค์กร
มหาชน ทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา
เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการและแนวการจัด
การศึกษาในแต่ละระดับที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปีนับตั้งแต่
การประเมินครั้งสุดท้ายและเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
มาตรา 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้อง
กับสถานศึกษา ตลอดจนให้บุคลากร คณะกรรมการของสถานศึกษารวมทั้งผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาให้ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนที่พิจารณาเห็นว่าเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติภารกิจของสถาน
ศึกษา ตามคำร้องขอของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคล หรือหน่วย
งานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรองรับที่ทำการประเมินคุณภาพ คุณภาพภายนอกของสถานศึกษานั้น
มาตรา 51 ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้มาตรฐานที่กำหนดให้สำนัก
งานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาจัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงการแก้ไขต่อหน่วยงาน
ต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด หากมิได้ดำเนินการดังกล่าวให้สำนัก
งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา รายงานต่อคณะ-กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือ
คณะกรรมการอุดมศึกษาเพื่อดำเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไข
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้พัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อใช้เป็นกรอบในการประเมินคุณภาพภายนอก และเป็นแนวทางให้หน่วยงานและสถานศึกษามุ่ง
พัฒนาการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานต่างๆ เพิ่มขึ้น เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2543)
มาตรฐานและตัวบ่งชี้การศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
1. มาตรฐานการศึกษาด้านผู้เรียน
(1) ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
(2) ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์
คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์
(3) ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
(4) ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองรักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
(5) ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี
ต่ออาชีพสุจริต
(6) ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
(7) ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา
2. มาตรฐานด้านกระบวนการ
(1) สถานศึกษามีการจัดองค์กร / โครงสร้าง และการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุ
เป้าหมายการศึกษา
(2) สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์และร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
(3) สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม และการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3. มาตรฐานด้านปัจจัย
(1) ผู้บริหารมีภาวะผู้นำและมีความสามารถในการบริหารจัดการ
(2) ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
(3) ครูมีวุฒิ / ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ และมีครูเพียงพอ
(4) สถานศึกษามีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้
แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลประกอบการวิจัย
เรื่อง ศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
ในกรุงเทพมหานคร
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้ แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 สภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
ขอความกรุณาจากท่าน โปรดตอบแบบสอบถามทุกข้อ และตรงตามความเป็นจริง คำตอบทั้งหมดจะใช้
ประโยชน์ในการวิจัยเท่านั้น ดังนั้น ผลการวิจัยจึงไม่มีผลกระทบกระเทือนต่อท่าน จึงขอให้ตอบด้วยความสบายใจ
ตามความเป็นจริง โดยคำตอบจะไม่มีถูกหรือผิด
ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคงได้รับความกรุณาจากท่านด้วยดี ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดกาเครื่องหมาย / ลงใน ( ) หน้าข้อความซึ่งตรงกับความเป็นจริงเกี่ยวกับตัวท่านมากที่สุด
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง
2. อายุ ……………………ปี
3. วุฒิทางการศึกษา ( ) ปริญญาตรี สาขา………………………………………………..
( ) ปริญญาโท [ ] สาขาบริหารการศึกษา [ ] สาขาอื่น ๆ (โปรดระบุ)…………………
( ) ปริญญาเอก สาขา………………………………………………
( ) อื่นๆ โปรดระบุ.........…………………………………………….
4. ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหาร...............ปี
5. ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารในโรงเรียนปัจจุบัน……………ปี
6. ขนาดของโรงเรียนที่ท่านสังกัดอยู่
( ) โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียนตั้งแต่ 2,500 คนขึ้นไป
( ) โรงเรียนขนาดใหญ่ มีนักเรียนตั้งแต่ 1,500 - 2,499 คน
( ) โรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียนตั้งแต่ 500 - 1,499 คน
( ) โรงเรียนขนาดเล็ก มีจำนวนนักเรียนไม่เกิน 499 คน
ตอนที่ 2 สภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
คำชี้แจง ตามที่โรงเรียนที่ท่านสังกัดอยู่ได้ดำเนินการตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาผ่านไป 1 ปีการศึกษา
แล้วนั้น ขอให้ท่านพิจารณาประเมินว่าสภาพและปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในตามระบบมาตรฐานการประกัน
คุณภาพการศึกษาดังกล่าว มีแนวโน้มตามรายการต่อไปนี้ มาก - น้อย เพียงใด โปรดเติมข้อความและกาเครื่องหมาย /
ตรงกับผลการประเมินของท่าน โดยใช้เกณฑ์การประเมินค่าความคิดเห็นซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายความว่า มีสภาพการดำเนินงาน / ปัญหา อยู่ในระดับ มากที่สุด
4 หมายความว่า มีสภาพการดำเนินงาน / ปัญหา อยู่ในระดับ มาก
3 หมายความว่า มีสภาพการดำเนินงาน / ปัญหา อยู่ในระดับ ปานกลาง
2 หมายความว่า มีสภาพการดำเนินงาน / ปัญหา อยู่ในระดับ น้อย
1 หมายความว่า มีสภาพการดำเนินงาน / ปัญหา อยู่ในระดับ น้อยที่สุด
ข้อ ระดับการประเมิน
ที่
รายการ
สภาพการดำเนินงาน ปัญหา
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
ขั้นตอนที่ 1 การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
1 มีการกำหนดโครงสร้างและระบบการบริหารที่สอดคล้องกับ
ภารกิจของโรงเรียน
2 มีการกำหนดอำนาจหน้าที่ และขอบข่ายงานของบุคลากรแต่ละ
ตำแหน่งอย่างชัดเจน
3 มีระบบการบริหารโดยใช้แบบโรงเรียนเป็นฐาน(SBM)
4 มีการจัดวางระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน
และการตัดสินใจ
5 มีการจัดระบบสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา
6 มีการจัดระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน
7 มีการจัดระบบสารสนเทศการบริหารวิชาการ
8 มีการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
9 มีการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการรายงาน
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนามาตรฐานการศึกษา
10 มีการแจ้งให้บุคลากรทุกคนรับทราบและเข้าใจในการตัดสินใจ
ครั้งสำคัญ ๆ ทุกครั้งอย่างสม่ำเสมอ
11 มีการพัฒนาทักษะ และความสามารถของบุคลากรให้
สอดคล้องกับหน้าที่และตำแหน่ง
ข้อ ระดับการประเมิน
ที่
รายการ
สภาพการดำเนินงาน ปัญหา
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
12 มีการปลูกฝังความภาคภูมิใจ และความเป็นเจ้าของสถานศึกษา
ที่ต้องร่วมรับผิดชอบต่อผู้เรียน และความรับผิดชอบต่อสังคม
แก่บุคลากร
13 มีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน ปฏิบัติได้และได้รับการยอมรับจากทุกคน
ในโรงเรียน
14 มีการจัดโครงสร้างพื้นฐาน และสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้
ในโรงเรียน
15 มีระบบการบริหารและระบบการทำงานที่มุ่งคุณภาพที่จะทำให้
ก้าวสู่เป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้
ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
16 การจัดองค์ประกอบต่าง ๆ ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนมีความชัดเจน สอดคล้องกันอย่างสมเหตุสมผล
17 มีระบบการสนับสนุนภายใน ผู้บริหาร บุคลากรทุกฝ่ายใน
โรงเรียน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเห็นชอบกับแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
18 บุคลากรทุกคนให้ความสนับสนุนและร่วมมือในการนำแผนสู่
การปฏิบัติ
19 มีการกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และตัวบ่งชี้ในแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่สังเกตและวัดได้ในเชิง
ปริมาณ
20 มีการใช้ยุทธศาสตร์ และเทคนิควิธีต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการ
เรียนการสอน การวัดและการประเมิน ตลอดจนการบริหาร
จัดการ ตั้งอยู่บนรากฐานทางทฤษฎีหรือหลักวิชาที่ถูกต้อง และ
มีผลการวิจัยเชิงประจักษ์ สนับสนุนประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผล
21 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน มีการกำหนด
รูปแบบ และวิธีการพัฒนาบุคลากรและสามารถปฏิบัติภารกิจ
ตามแผนอย่างได้ผลดี
22 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนระบุแหล่งวิทยาการ
ภายนอกที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลือ สนับสนุนทางวิชาการ
ข้อ ระดับการประเมิน
ที่
รายการ
สภาพการดำเนินงาน ปัญหา
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
23 ผู้ปกครอง และชุมชนมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมและรับบทบาท
สำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียน
24 มีการประสานสัมพันธ์และระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ เช่น
หน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน สถาบันและมูลนิธิต่างๆ นำมา
สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียน
ขั้นตอนที่ 4 การดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
25 มีการกำกับ ติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนที่
กำหนดไว้
26 มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน ครอบคลุมงาน/
โครงการของโรงเรียน
27 มีการดำเนินงานสำเร็จได้ตามกำหนดเวลาที่ระบุในแผน
28 มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนิน
งานบรรลุผลสำเร็จตามแผน
29 ครูผู้สอนมีการรายงานเป็นระยะว่าได้ปฏิบัติอย่างไร เป็นไป
ตามแผนมากน้อยเพียงใด
ขั้นตอนที่ 5 การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
30 มีการกำหนดบุคลากรให้ดำเนินการ ตรวจสอบและทบทวน
อย่างครบถ้วนและชัดเจน
31 มีการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยบุคลากร
ภายในโรงเรียน
32 มีการตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงาน
ต้นสังกัด
33 ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครอง และชุมชนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วน
ร่วมในการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
34 มีการสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง เช่น ครู ผู้รับผิดชอบงาน/
โครงการ ผู้บริหาร เป็นต้น เกี่ยวกับแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
ข้อ ระดับการประเมิน
ที่
รายการ
สภาพการดำเนินงาน ปัญหา
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
ขั้นตอนที่ 6 การประเมินคุณภาพการศึกษา
35 มีเครื่องมือ ระบบการวัดและประเมินการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์
ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
36 มีการจัดระบบการประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่างครอบคลุม
37 มีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการประเมิน
38 ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าใจเกณฑ์การประเมินของผู้เรียน
39 มีการจัดให้ผู้เรียนชั้น ม.3 และม.6 ได้รับการประเมินผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาแกนร่วม
ขั้นตอนที่ 7 การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี
40 มีการรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพตามแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และแผนปฏิบัติงานในรอบปี
การศึกษา แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชนรับทราบ
41 มีการติดตามผล และรับข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงาน
คุณภาพการศึกษาประจำปี ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
42 มีผลการพัฒนาคุณภาพของตนบรรลุตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
43 มีการเขียนรายงาน แสดงหลักฐาน ข้อมูล และผลสัมฤทธิ์ของ
สถานศึกษาในรอบปีการศึกษา
44 มีการรายงานนำเสนอด้วยรูปแบบที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย และจัด
เก็บไว้ในระบบสารสนเทศ
ขั้นตอนที่ 8 การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
45 มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปีมาส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานของระบบประกันคุณ
ภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
46 มีการนำข้อมูลย้อนกลับจากผู้รับรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปีมาประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงานของระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
47 มีการนำผลจากการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษามา
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ข้อ ระดับการประเมิน
ที่
รายการ
สภาพการดำเนินงาน ปัญหา
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
48 ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไขเพื่อกำหนด
ยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานในรอบ
ปีที่ผ่านมา
49 ทุกฝ่ายร่วมกันประเมินทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดทำแผน
พัฒนาโรงเรียน
ท่านมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ขอให้ท่านโปรดระบุ
...................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................….…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………...................................………………………………………………….
ขอขอบพระคุณท่านที่ให้ข้อมูลเป็นวิทยาทานในการวิจัยเพื่อการศึกษา
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ - สกุล นายสมชาย ใจเที่ยง
ที่อยู่ปัจจุบัน 24/2 หมู่ 3 ตำบล ปากคลองบางปลากด อำเภอ พระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ
รหัสไปรษณีย์ 10290
โทรศัพท์ 0-2425-1247
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้
ที่อยู่ 24/2 หมู่ 3 ตำบล ปากคลองบางปลากด อำเภอ พระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ
รหัสไปรษณีย์ 10290
โทรศัพท์ 0-2425-1247
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2515 ประถมศึกษา โรงเรียนศรีวิทยา
พ.ศ. 2518 มศ.1-3 โรงเรียนสมุทรปราการ
พ.ศ. 2522 ปกศ.สูง สถาบันราชภัฎธนบุรี
พ.ศ. 2524 ปริญญาตรี สถาบันราชภัฎจันทรเกษม
ผลงานทางวิชาการ
- เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง 014 งานเกษตรพื้นฐาน
- รายงานการใช้และการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน
ผลงานวิจัย
- การศึกษาการงอกของเมล็ดฝ้ายในอุณหภูมิต่างกัน

ศึกษาสภาพและปัญหาการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 1)
ศึกษาสภาพและปัญหาการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น