ศึกษาและโหลดฟรีเป็นตัวอย่างเกี่ยวกับงานวิจัย all free download research
วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ศึกษาสภาพการปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพ (ตอนที่ 2)
บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย
การศึกษาสภาพปฏิบัตและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ผู้วิจัยได้ดำเนินการตาม
ขั้นตอน ดังนี้
1. ประชากร
2. ตัวแปรที่ศึกษา
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากร
ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหาร และครู-อาจารย์ทุกคนจำนวน 326
คน ในวิทยาลัยการอาชีพ กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ดัง
ตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 4 แสดงจำนวนครู-อาจารย์ในวิทยาลัยการอาชีพ กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถาน
ศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา (กองแผน กรมอาชีวศึกษา)
สถานศึกษา จำนวนคน
1) วิทยาลัยการอาชีพกาญจนาภิเษกหนองจอก กรุงเทพมหานคร
2) วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร
3) วิทยาลัยการอาชีพไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี
4) วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม จังหวัดนครปฐม
5) วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า จังหวัดนครปฐม
6) วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
7) วิทยาลัยการอาชีพบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
8) วิทยาลัยการอาชีพปากท่อ จังหวัดราชบุรี
9) วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
10) วิทยาลัยการอาชีพพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
10
35
33
45
9
12
9
6
38
8
44
ตารางที่ 4 (ต่อ)
สถานศึกษา จำนวนคน
11) วิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
12) วิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี
13) วิทยาลัยการอาชีพสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
14) วิทยาลัยการอาชีพอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
15) วิทยาลัยการอาชีพบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
16) วิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
17) วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
18) วิทยาลัยการอาชีพอัมพวา จังหวัดสมุทรสาคร
19) วิทยาลัยการอาชีพบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร
20) วิทยาลัยการอาชีพพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ
7
8
12
8
5
11
46
7
8
9
รวม 326
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งแบบ
สอบถามที่สร้างขึ้นเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาในวิทยาลัยการอาชีพ กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 4 ข้อ
ตอนที่2 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาในวิทยาลัยการอาชีพ กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีว
ศึกษา จำนวน 40 คำถาม โดยสร้างมาตรประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ
น้อยที่สุด จำนวน คำถาม 40 ข้อ โดยมีการให้คะแนน ดังนี้
45
สภาพการปฏิบัติ คะแนน
มากที่สุด 5
มาก 4
ปานกลาง 3
น้อย 2
น้อยที่สุด 1
ปัญหา คะแนน
มากที่สุด 5
มาก 4
ปานกลาง 3
น้อย 2
น้อยที่สุด 1
วิธีการสร้างเครื่องมือ
การสร้างเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษาและกำหนดกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสอบถาม จากเนื้อหา ทฤษฎี และผลงาน
วิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ
2 . สร้างข้อคำถาม
3. นำร่างแบบสอบถามเสนออาจารย์ควบคุมวิทยานิพนธ์ และผู้เชี่ยวชาญ
จำนวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถาม แล้ว
นำแบบสอบถามที่ผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจสอบแล้วมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
ก่อนที่จะจัดพิมพ์แล้วนำไปทดลองใช้
4. นำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับผู้บริหารและครู – อาจารย์ วิทยาลัยการอาชีพนครศรี
ธรรมราช จำนวน 30 คน หลังจากนั้นนำแบบสอบถามทั้งหมดที่ได้ มาหาค่าความเชื่อมั่น
(Reliability) โดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของคอนบาร์ค(บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ 2531 : 176)
ก่อนที่จะนำไปใช้จริง ซึ่งได้ค่าความเชื่อมั่น ดังตารางที่ 5
46
ตารางที่ 5 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถถาม
รายละเอียด ค่าความเชื่อมั่น
สภาพการปฏิบัติ
สภาพปัญหา
0.8918
0.6842
รวมทั้งฉบับ 0.8934
6. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มประชากรจริง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.ทำหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขออนุญาตกรมอาชีวศึกษาจัดเก็บรวบรวมข้อมูลใน
วิทยาลัยการอาชีพ กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
2. จัดส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังกลุ่มประชากร โดยขอความร่วมมือจากงานวิจัย
ของวิทยาลัยการอาชีพ เพื่อส่งและรับแบบสอบถามคืน
3. บางส่วนผู้วิจัยดำเนินการส่งและรับแบบสอบถามคืนด้วยตนเอง
การวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามที่ส่งกลับมาเรียบร้อยแล้ว นำแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจ
ความสมบูรณ์ของแบบสอบถามว่าตอบทุกข้อ แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS
for Windowโดยแบ่งการวิเคราะห์เป็นดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ
2.ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติและปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา ในวิทยาลัยการอาชีพ กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษา
ภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmatic mean : →) และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation : ×) นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง
และแปลผลระดับของสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและ
ระดับปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยกำหนดเกณฑ์
ดังนี้ (ประคอง กรรณสูต 2542 : 108)
47
4.50 - 5.00 หมายถึง มีระดับสภาพการปฏิบัติ/ปัญหาจากการปฏิบัติมากที่สุด
3.50 - 4.49 หมายถึง มีระดับสภาพการปฏิบัติ/ปัญหาจากการปฏิบัติมาก
2.50 - 3.49 หมายถึง มีระดับสภาพการปฏิบัติ/ปัญหาจากการปฏิบัติปานกลาง
1.50 - 2.49 หมายถึง มีระดับสภาพการปฏิบัติ/ปัญหาจากการปฏิบัติน้อย
1.00 - 1.49 หมายถึง มีระดับสภาพการปฏิบัติ/ปัญหาจากการปฏิบัติน้อยที่สุด
3. วิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติและปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการคุณ
ภาพภายในสถานศึกษาตามตัวแปรสถานภาพ และเพศ โดยใช้สถิติทดสอบ t-test
4. วิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติและปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการคุณ
ภาพภายในสถานศึกษาตามตัวแปรระดับการศึกษาสูงสุดและประสบการณ์การทำงาน โดยใช้สถิติ
ทดสอบ F-test และทำการวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่โดยใช้ Scheffe
48
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาสภาพปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวน
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง
กรมอาชีวศึกษา
ผู้วิจัยนำเสนอในรูปตารางประกอบคำบรรยาย ตามลำดับ ดังนี้
4.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
4.2 ผลการศึกษาสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
4.3 ผลการศึกษาปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพในสถานศึกษา
4.4 ผลการเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน
ศึกษาตามตัวแปรสถานภาพ เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน
4.5 ผลการเปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน
ศึกษาตามตัวแปรสถานภาพ เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน
49
4.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผู้ตอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหาร และครู-อาจารย์ ของวิทยาลัย สังกัด
กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ดังรายละเอียดในตารางที่ 6 ดังนี้
ตารางที่ 6 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลทั่วไป จำนวน ร้อยละ
ตำแหน่ง
ผู้บริหาร
ครู-อาจารย์
รวม
เพศ
ชาย
หญิง
รวม
ระดับการศึกษาสูงสุด
ต่ำกว่าปริญญาตรี
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
รวม
ประสบการณ์การทำงาน
ต่ำกว่า 6 ปี
6 - 10 ปี
11 - 15 ปี
16 - 20 ปี
มากกว่า 20 ปี
รวม
78
248
326
207
119
326
13
260
53
326
77
83
54
67
45
326
23.90
76.10
100.00
63.50
36.50
100.00
4.00
79.80
16.20
100.00
23.60
25.50
16.60
20.60
13.70
100.00
จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีตำแหน่งเป็นครู-อาจารย์ คิดเป็น
ร้อยละ 76.10 เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 63.50 ระดับการศึกษาสูงสุดปริญญาตรีร้อยละ 79.80 และ
มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 6-10 ปี ร้อยละ 25.50
50
4.2 ผลการศึกษาสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกอง
การศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดกองการ
ศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา โดยภาพรวมและในแต่ละด้าน ดังแสดงผล
การวิเคราะห์ ในตารางที่ 7 – 11
ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ในภาพรวม
สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการ → × ระดับสภาพ
การปฏิบัติ
1. ด้านการวางแผน
2. ด้านการดำเนินการตามแผน
3. ด้านการตรวจสอบประเมินผล
4. ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
3.04
2.64
2.85
2.84
1.00
1.07
0.98
1.00
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 2.84 1.01 ปานกลาง
จากตารางที่ 7 พบว่า สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (→= 2.84) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า สภาพการปฏิบัติอยู่
ในระดับปานกลางทุกด้าน คือ ด้านการวางแผน (→ = 3.04 ) ด้านการดำเนินการตรวจสอบประเมิน
ผล (→ = 2.85) ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (→= 2.84) และด้านการดำเนินการตาม
แผน (→ = 2.64)
51
ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการวางแผน
ด้านการวางแผน → × ระดับสภาพ
การปฏิบัติ
1. การจัดทำธรรมนูญวิทยาลัย
2 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3. การกำหนดเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษา
4. การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
5. การส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ
6. การส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการวิจัยในชั้นเรียน
7. การจัดทำแผนพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับผู้เรียน
และท้องถิ่น
8. การจัดทำแผนนิเทศภายใน
9. การจัดทำแผนพัฒนาครูและบุคลากรในวิทยาลัย
10.การจัดทำแผนประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
2.89
3.01
3.14
3.40
3.52
2.79
2.76
2.91
2.98
3.02
0.97
0.98
1.06
1.12
1.05
0.97
0.93
0.94
0.98
0.97
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
มาก
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 2.64 1.07 ปานกลาง
จากตารางที่ 8 พบว่า สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ด้านการวางแผนโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (→ = 3.04) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า การ
ส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีสภาพการปฏิบัติตามกระบวน
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก (→ = 3.52) นอกนั้นอยู่ในระดับปานกลาง
52
ตารางที่ 9 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการดำเนินการตามแผน
ด้านการดำเนินการตามแผน → × ระดับสภาพ
การปฏิบัติ
11.การจัดแหล่งการเรียนรู้ภายในและภายนอกวิทยาลัย
12.การจัดสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในวิทยาลัย
13.การสร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชน
14.การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามาร่วมจัดการเรียนการ
สอนของวิทยาลัย
15.การจัดอำนวยความสะดวกด้านวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ นวัต-
กรรมเทคโนโลยี
16.การปฏิรปู การเรยี นร ู้ โดยการส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
17.การส่งเสริมให้ครูจัดทำการวิจัยในชั้นเรียน
18.การส่งเสริมการใช้หลักสูตรที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น
19.การนิเทศภายในวิทยาลัย
20.การพัฒนาครูและบุคลากรในวิทยาลัย
2.74
3.26
2.95
2.71
2.79
3.11
2.63
2.89
2.77
1.01
0.93
1.71
1.01
1.03
0.99
0.99
0.98
1.43
0.95
0.75
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
น้อยที่สุด
รวม 2.64 1.07 ปานกลาง
จากตารางที่ 9 พบว่า สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ด้านการดำเนินการตามแผนโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (→ = 2.64) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่าการพัฒณาครูและบุคลากรในวิทยาลัยมีสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับน้อยที่สุด (→ = 1.01) นอกนั้นอยู่ในระดับปานกลาง
53
ตารางที่ 10 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการตรวจสอบประเมินผล
ด้านการตรวจสอบประเมินผล → × ระดับสภาพ
การปฏิบัติ
21.การวางกรอบการประเมินผลของวิทยาลัย
22.การจัดทำเครื่องมือการประเมินผล
23.การจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
24.การส่งเสริมให้ครูสามารถวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็น
รายบุคคล
25.การวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวม
26.การแปลความหมายของข้อมูล
27.การประเมินผลการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
28.การประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปี
29.การประเมินผลการใช้หลักสูตรการเรียนการสอน
30.การส่งเสริมให้ครูประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนและจากการวิจัยในชั้นเรียน
2.95
2.85
2.87
2.77
2.79
2.72
2.90
2.97
2.84
2.83
1.00
0.93
0.95
1.03
0.95
0.97
1.00
1.03
0.99
0.96
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 2.85 0.98 ปานกลาง
จากตารางที่ 10 พบว่า สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ด้านการตรวจสอบประเมินผลโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (→ = 2.85) เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อพบว่า สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุกหัวข้ออยู่ใน
ระดับปานกลาง
54
ตารางที่ 11 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน → × ระดับสภาพ
การปฏิบัติ
31.การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศของวิทยาลัย
32.การนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ปรับปรุงงาน
33.การพัฒนาครูและบุคลากรในวิทยาลัย(เช่น การอบรม
สัมมนา ศึกษาดูงาน เป็นต้น)
34.การปรับปรุง วัสดุ อุปกรณ์ สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี
35.การปรับปรุงแหล่งการเรียนรู้
36.การพัฒนาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้จัดการเรียน
การสอน
37.การปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น
38.การพัฒนาครูให้มีการปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรม
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
39.การพัฒนาระบบให้ผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น มีส่วน
ร่วมในการปรับปรุงพัฒนาวิทยาลัย
40.การนำผลการปรับปรุงแก้ไขพัฒนามาใช้ในการวาง
แผน
2.78
2.62
3.09
2.91
2.83
2.66
2.74
3.04
2.83
2.84
0.93
0.89
1.10
1.00
0.98
1.00
1.00
1.01
1.06
1.03
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 2.84 1.00 ปานกลาง
จากตารางที่ 11 พบว่า สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (→ = 2.84) เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุก
หัวข้ออยู่ในระดับปานกลาง
55
4.3 ผลการศึกษาปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัด
กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการ
ศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา โดยภาพรวมและในแต่ละด้าน ดังแสดงผล
การวิเคราะห์ ในตารางที่ 12 – 16
ตารางที่ 12 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ในภาพรวม
สภาพปัญหาจากการปฏิบัติ → × ระดับปัญหา
1. ด้านการวางแผน
2. ด้านการดำเนินการตามแผน
3. ด้านการตรวจสอบประเมินผล
4. ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
3.14
3.10
3.10
3.08
0.89
0.86
0.82
0.84
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 3.09 0.85 ปานกลาง
จากตารางที่ 12 พบว่า ปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน
ศึกษา ด้านการวางแผนโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (→ = 3.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า
สภาพปัญหาจากการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน คือ ด้านการวางแผน (→ = 3.14 ) ด้านการ
ดำเนินการตามแผน (→ = 3.10) ด้านการดำเนินการตรวจสอบประเมินผล (→ = 3.10) และด้านการนำ
ผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (→ = 3.08)
56
ตารางที่ 13 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการวางแผน
ด้านการวางแผน → × ระดับปัญหา
1. การจัดทำธรรมนูญวิทยาลัย
2 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3. การกำหนดเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษา
4. การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
5. การส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ
6. การส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการวิจัยในชั้นเรียน
7. การจัดทำแผนพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับผู้เรียน
และท้องถิ่น
8. การจัดทำแผนนิเทศภายใน
9. การจัดทำแผนพัฒนาครูและบุคลากรในวิทยาลัย
10.การจัดทำแผนประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
3.19
3.23
3.19
2.90
3.10
3.32
3.25
3.04
3.00
3.16
0.84
0.78
0.98
0.90
0.88
0.90
0.86
0.80
0.86
0.75
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 3.14 0.86 ปานกลาง
จากตารางที่ 13 พบว่า ปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน
ศึกษา ด้านการวางแผนโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง(→ = 3.14) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า
ปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุกหัวข้ออยู่ในระดับ
ปานกลาง
57
ตารางที่ 14 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการดำเนินการตามแผน
ด้านการดำเนินการตามแผน → × ระดับปัญหา
11.การจัดแหล่งการเรียนรู้ภายในและภายนอกวิทยาลัย
12.การจัดสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในวิทยาลัย
13.การสร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชน
14.การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามาร่วมจัดการเรียนการ
สอนของวิทยาลัย
15.การจัดอำนวยความสะดวกด้านวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ นวัต-
กรรมเทคโนโลยี
16.การปฏิรปู การเรยี นร ู้ โดยการส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
17.การส่งเสริมให้ครูจัดทำการวิจัยในชั้นเรียน
18.การส่งเสริมการใช้หลักสูตรที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น
19.การนิเทศภายในวิทยาลัย
20.การพัฒนาครูและบุคลากรในวิทยาลัย
3.17
2.94
3.10
3.12
3.13
3.10
3.25
3.21
3.02
2.93
0.83
0.87
0.89
0.89
0.85
0.79
0.90
0.87
0.82
0.90
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 3.10 0.86 ปานกลาง
จากตารางที่ 14 พบว่า ปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน
ศึกษา ด้านการดำเนินการตามแผนโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง (→ = 3.10) เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อพบว่า สภาพปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุก
หัวข้ออยู่ในระดับปานกลาง
58
ตารางที่ 15 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการตรวจสอบประเมินผล
ด้านการตรวจสอบประเมินผล → × ระดับปัญหา
21.การวางกรอบการประเมินผลของวิทยาลัย
22.การจัดทำเครื่องมือการประเมินผล
23.การจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
24.การส่งเสริมให้ครูสามารถวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็น
รายบุคคล
25.การวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวม
26.การแปลความหมายของข้อมูล
27.การประเมินผลการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
28.การประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปี
29.การประเมินผลการใช้หลักสูตรการเรียนการสอน
30.การส่งเสริมให้ครูประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนและจากการวิจัยในชั้นเรียน
3.06
3.06
3.02
3.28
3.01
3.07
3.07
2.96
3.14
3.35
0.79
0.82
0.82
0.89
0.87
0.86
0.85
0.88
0.83
0.70
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 3.10 0.82 ปานกลาง
จากตารางที่ 15 พบว่า ปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน
ศึกษา ด้านการตรวจสอบประเมินผลโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง (→ = 3.10) เมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อพบว่า สภาพปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ทุกหัวข้ออยู่ในระดับปานกลาง
59
ตารางที่ 16 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา
ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน → × ระดับปัญหา
31.การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศของวิทยาลัย
32.การนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ปรับปรุงงาน
33.การพัฒนาครูและบุคลากรในวิทยาลัย(เช่น การอบรม
สัมมนา ศึกษาดูงาน เป็นต้น)
34.การปรับปรุง วัสดุ อุปกรณ์ สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี
35.การปรับปรุงแหล่งการเรียนรู้
36.การพัฒนาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้จัดการเรียน
การสอน
37.การปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น
38.การพัฒนาครูให้มีการปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรม
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
39.การพัฒนาระบบให้ผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น มีส่วน
ร่วมในการปรับปรุงพัฒนาวิทยาลัย
40.การนำผลการปรับปรุงแก้ไขพัฒนามาใช้ในการวาง
แผน
3.21
3.11
2.93
3.19
3.08
3.04
3.07
2.98
3.15
3.03
0.76
0.76
0.93
0.82
0.88
0.88
0.87
0.82
0.87
0.83
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 3.08 0.84 ปานกลาง
จากตารางที่ 16 พบว่า ปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน
ศึกษา ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงานโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง (→ = 3.08)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า สภาพปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาทุกหัวข้ออยู่ในระดับปานกลาง
60
4.4 ผลการเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตาม
ตัวแปรสถานภาพ เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน
โดยทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในตัวแปรสถานภาพ และเพศ ส่วนการวิเคราะห์
ความแปรปรวนทางเดียวในตัวแปรระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน ดังแสดงผลการ
วิเคราะห์ในตารางที่ 17-20
ตารางที่ 17 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภาย
ในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปร
สถานภาพ
สภาพการปฏิบัติ ผู้บริหาร ครู - อาจารย์
T p-value
1.ด้านการวางแผน
2.ด้านการดำเนินการตามแผน
3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล
4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
3.28
3.10
3.05
3.05
0.68
0.64
0.68
0.68
2.10
2.84
2.79
2.77
0.77
0.70
0.83
0.84
3.467**
3.091**
2.740**
2.723**
0.001
0.002
0.007
0.007
รวม 3.12 0.67 2.63 0.79 3.335** 0.001
* * P < 0.01 จากตารางที่ 17 พบว่า ผู้บริหารและครู-อาจารย์มีการปฏิบัติตามกระบวนการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่า ผู้บริหารและครู-อาจารย์มีการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยผู้บริหารจะมีการ ปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามากกว่าคร-ู อาจารย์ นอกจากนี้พบว่า ผู้บริหารมีการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาในทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนคร-ู อาจารย์ มีการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับปานกลางในด้านการดำเนินการตามแผน ( =2.84) ด้านการ ตรวจสอบประเมินผล ( = 2.79) และด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน ( = 2.77) ส่วน ด้านการวางแผนอยู่ในระดับน้อย (→ = 2.10) 61 ตารางที่ 18 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปรเพศ สภาพการปฏิบัติ ชาย หญงิ t p-value 1.ด้านการวางแผน 2.ด้านการดำเนินการตามแผน 3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล 4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 3.14 2.99 2.94 3.00 0.73 0.68 0.79 0.81 2.87 2.76 2.69 2.70 0.79 0.70 0.81 0.81 3.048** 2.937** 2.769** 2.232* 0.003 0.004 0.006 0.027 รวม 3.02 0.75 2.76 0.78 2.899** 0.004 ** P < 0.01 * P < 0.05 จากตารางที่ 18 พบว่าอาจารย์ชายและอาจารย์หญิงมีการปฏิบัติตามกระบวนการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่า อาจารย์ชายและอาจารย์หญิงมีการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยอาจารย์ชายจะมี การปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามากกว่าอาจารย์หญิง ยกเว้นด้านการ นำผลการประเมินมาปรับปรุงงานอาจารย์ชายและอาจารญ์หญิงมีการปฏิบัติ แตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้พบว่า อาจารย์ชาย มีการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาในทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนอาจารย์หญิงมีการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาในทุกด้าน อยู่ในระดับปานกลาง 62 ตารางที่ 19 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปร ระดับการศึกษา สภาพการปฏิบัติ df SS MS F p-value 1.ด้านการวางแผน ระหว่างกลุ่มการศึกษา ภายในกลุ่มการศึกษา รวมทั้งหมด 2.ด้านการดำเนินการตามแผน ระหว่างกลุ่มการศึกษา ภายในกลุ่มการศึกษา รวมทั้งหมด 3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล ระหว่างกลุ่มการศึกษา ภายในกลุ่มการศึกษา รวมทั้งหมด 4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน ระหว่างกลุ่มการศึกษา ภายในกลุ่มการศึกษา รวมทั้งหมด 2 323 325 2 323 325 2 323 325 2 323 325 0.072 189.422 189.500 0.207 156.937 157.145 0.768 210.147 210.915 0.953 215.856 216.809 0.036 0.586 0.104 0.48.6 0.3.84 0.65.1 0.476 0..668 0.062 0.214 0.590 0.713 0.094 0.808 0.555 0.491 รวม ระหว่างกลุ่มการศึกษา ภายในกลุ่มการศึกษา รวมทั้งหมด 2 323 325 5.766 2732.747 2738.513 2.883 8.461 0.341 0.711 จากตารางที่ 19 พบว่า อาจารย์ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีการปฏิบัติตามกระบวน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่า อาจารย์ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีการปฏิบัติตามกระบวนการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 63 ตารางที่ 20 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปร ประสบการณ์การทำงาน สภาพการปฏิบัติ df SS MS F p-value 1.ด้านการวางแผน ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 2.ด้านการดำเนินการตามแผน ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 4 321 325 4 321 325 4 321 325 4 321 325 7.792 181.702 189.500 2..468 154..677 157.450 7.086 203.849 210.914 5.423 211.386 216.809 1.948 0.566 0.617 0.482 1.766 0.635 1.356 0.659 3.441** 1.280 2.782* 2.059 0.009 0.277 0.027 0.086 รวม ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 4 321 325 78.516 2659.997 273.851 19.629 8.286 2.369 0.053 ** P < 0.01 * P < 0.05 จากตารางที่ 20 พบว่าอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่า อาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในแต่ละด้านแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านการดำเนินการตามแผน และด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน ส่วนในด้านการ 64 วางแผนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และด้านการตรวจสอบประเมินผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เพื่อให้ทราบความแตกต่างเป็นรายคู่ จึงใช้วิธีการทดสอบระหว่างค่าเฉลี่ยโดยใช้ Scheffe เพื่อทดสอบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ของประสบการณ์การทำงานในด้านการวางแผนและด้านการ ตรวจสอบประเมินผล ดังแสดงผลการวิเคราะห์ ในตารางที่ 21-22 ตารางที่ 21 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาด้านการวางแผน ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน ประสบการณ์ในการใน การทำงาน ต่ำกว่า 6 ปี (3.12) 6 - 10 ปี (3.16) 11 - 15 ปี (3.02) 16 - 20 ปี (3.19) มากกว่า 20 ปี (3.14) ต่ำกว่า 6 ปี (3.12) 6 - 10 ปี (3.16) 11 - 15 ปี (3.02) 16 - 20 ปี (3.19) มากกว่า 20 ปี (3.14) ----- ---- --- ----* *-** ** P < 0.01 จากตารางที่ 21 พบว่า ในด้านการวางแผนอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงาน มากกว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 6 ปี มีการปฏิบัติตามกระบวน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 โดยอาจารย์ที่มี ประสบการณ์การทำงานมากกว่า 20 ปี มีการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษามากกว่าอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 6 ปี และอาจารย์ที่มีประสบการณ์การ ทำงานมากกว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 11-15 ปี มีการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญที่ระดับ 0.01โดยอาจารย์ ที่มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า20 ปี จะมีสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา มากกว่าอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 11-15 ปี ส่วนอาจารย์ที่ มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี จะมีสภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญ ที่ระดับ 0.01 โดยอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี จะมีสภาพการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามากกว่าผู้ที่มีประสบ การณ์การทำงานมากกว่า 20 ปี 65 ตารางที่ 22 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่สภาพการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภาย ในสถานศึกษาด้านการตรวจสอบประเมินผล ตามตัวแปรประสบการณ์การทำงาน ประสบการณ์ ในการทำงาน ต่ำกว่า 6 ปี (2.99) 6 - 10 ปี (3.10) 11 - 15 ปี (3.05) 16 - 20 ปี (3.16) มากกว่า 20 ปี (3.00) ต่ำกว่า 6 ปี (2.99) 6 - 10 ปี (3.10) 11 - 15 ปี (3.05) 16 - 20 ปี (3.16) มากกว่า 20 ปี (3.00) ----- ----- ----- -*--- *--*- * P < 0.05 จากตารางที่ 22 พบว่า ในด้านการตรวจสอบประเมินผลอาจารย์ที่มีประสบการณ์การ ทำงาน มากกว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 6 ปี มีการปฏิบัติตามกระบวนการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยอาจารย์ที่มีประสบ การณ์การทำงานมากกว่า 20 ปี มีการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามาก กว่าอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 6 ปี และอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ ระหว่าง 16-20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 6-10 ปี มีการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยอาจารย์ที่ มีประสบการณ์การทำงาน 16-20 ปี มีการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มากกว่าผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 6-10 ปี ส่วนอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงาน มากกว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี มีการปฏิบัติตามกระบวน การประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 โดยอาจารย์ที่มี ประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี มีการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามากกว่าอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 20 ปี 66 4.5 ผลการเปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามตัวแปรสถานภาพ เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน โดยทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในตัวแปรสถานภาพ และเพศ ส่วนการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียวในตัวแปรระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน ดังแสดงผลการ วิเคราะห์ในตารางที่ 23-26 ตารางที่ 23 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตาม ตัวแปรสถานภาพ ผู้บริหาร ครูอาจารย์ สภาพปัญหาจากการปฏิบัติ . T p-value 1.ด้านการวางแผน 2.ด้านการดำเนินการตามแผน 3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล 4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 3.13 3.06 3.06 3.05 0.53 0.57 0.55 0.46 3.13 3.10 3.07 3.09 0.56 0.64 0.68 0.68 0.000 0.539 0.056 0.494 0.941 0.591 0.995 0.622 รวม 3.08 0.53 3.10 0.64 0.313 0.755 จากตารางที่ 23 พบว่า ผู้บริหารและครู-อาจารย์มีปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณา เป็นรายด้านพบว่า ผู้บริหารและครู-อาจารย์มีปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 67 ตารางที่ 24 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสภาพปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปรเพศ ชาย หญิง สภาพปัญหาจากการปฏิบัติ . T p-value 1.ด้านการวางแผน 2.ด้านการดำเนินการตามแผน 3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล 4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน 3.12 3.08 3.04 3.08 0.58 0.64 0.65 0.64 3.15 3.09 3.10 3.08 0.50 0.59 0.66 0.64 0.571 0.124 0.833 0.000 0.568 0.901 0.405 0.906 รวม 3.08 0.63 3.11 0.60 0.456 0.649 จากตารางที่ 24 พบว่า อาจารย์ชาย และอาจารย์หญิงมีปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณา เป็นรายด้านพบว่า อาจารย์ชายและอาจารย์หญิงมีปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 68 ตารางที่ 25 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภาย ในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลางกรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปร ระดับการศึกษา สภาพปัญหาจากการปฏิบัติ df SS MS F p-value 1.ด้านการวางแผน ระหว่างระดับการศึกษา ภายในระดับการศึกษา รวมทั้งหมด 2.ด้านการดำเนินการตามแผน ระหว่างระดับการศึกษา ภายในระดับการศึกษา รวมทั้งหมด 3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล ระหว่างระดับการศึกษา ภายในระดับการศึกษา รวมทั้งหมด 4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน ระหว่างระดับการศึกษา ภายในระดับการศึกษา รวมทั้งหมด 2 323 325 2 323 325 2 323 325 2 323 325 0.448 99.065 99.553 0.203 125.168 125.371 0.095 137.400 137.496 0.583 131.106 131.689 0.244 0.307 0.101 0.388 0.048 0.425 0.292 0.406 0.796 0.262 0.113 0.719 0.452 0.770 0.893 0.488 รวม ระหว่างระดับการศึกษา ภายในระดับการศึกษา รวมทั้งหมด 2 323 325 4.075 1616.005 1620.08 2.038 5.003 0.407 0.666 จากตารางที่ 25 พบว่าอาจารย์ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัญหาจากการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่า อาจารย์ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัญหาจากการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในแต่ละด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทาง สถิติ 69 ตารางที่ 26 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภาย ในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปร ประสบการณ์การทำงาน สภาพการปฏิบัติ df SS MS F p-value 1.ด้านการวางแผน ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 2.ด้านการดำเนินการตามแผน ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 3.ด้านการตรวจสอบประเมินผล ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 4.ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 4 321 325 4 321 325 4 321 325 4 321 325 0.998 98.555 99.553 1.352 124.019 125.371 1.320 136.175 137.496 1.043 130.647 131.6897 0.249 0.307 0.338 0.368 0.330 0.424 0.261 0.407 0.813 0.875 0.778 0.641 0.518 0.479 0.540 0.634 รวม ระหว่างประสบการณ์การทำงาน ภายในประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งหมด 4 321 325 13.997 1606.082 1620.079 3.499 5.003 0.699 0.593 จากตารางที่ 26 พบว่าอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีปัญหาจากการ ปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่า อาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีปัญหา จากการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในแต่ละด้านแตกต่างกันอย่างไม่ มีนัยสำคัญทางสถิติ 70 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาสภาพการปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ผู้วิจัย ได้ดำเนินการสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 5.1 วัคถุประสงค์ของการวิจัย 5.2 วิธีดำเนินการวิจัย 5.3 สรุปผลการวิจัย 5.4 อภิปรายผล 5.5 ข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดกอง การศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา 2.เพื่อศึกษาสภาพปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา 3. เพื่อเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติและปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ตามตัวแปรสถานภาพ เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้บริหารและครู-อาจารย์ สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่ม สถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา จำนวน 326 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม สำเร็จรูป SPSS/FW เพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ t-test และสถิติ ทดสอบ F-test 71 สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยเรื่อง “การศึกษาสภาพการปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา” ปรากฏ ผลดังนี้ 1.ผลการศึกษาสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา พบว่า สภาพการปฏิบัติตาม กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 1.1 ด้านการวางแผน พบว่าโดยรวมสภาพปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา อยู่ใน ระดับปานกลาง มีเพียงหัวข้อการส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับมาก 1.2 ด้านการดำเนินการตามแผน พบว่า โดยรวมสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรม อาชวี ศกึ ษา อยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นหัวข้อการพัฒนาคร-ู อาจารยใ์ นวทิ ยาลยั อยใู่ นระดบั นอ้ ย ที่สุด 1.3 ด้านการตรวจสอบประเมินผล พบว่า โดยรวมสภาพการปฏิบัติด้านกระบวน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรม อาชีวศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง 1.4 ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน พบว่า โดยรวมสภาพการปฏิบัติ ด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษา ภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา 2.1.ผลการเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษาผู้บริหารและ ครู-อาจารย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในทุกด้าน 2.2.ผลการเปรียบเทียบผลการศึกษาสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา อาจารย์ 72 ชายและอาจารย์หญิงมีสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในด้านการวางแผนด้านการดำเนินการตามแผน และด้าน การตรวจสอบประเมินผล ส่วนด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน อาจารย์ชายและอาจารย์ หญิงมีสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมี นัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.3.เมื่อเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา อาจารย์ทที่มีระดับ การศึกษาต่างกันมีสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในทุกด้าน 2.4.เมื่อเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา อาจารย์ที่มี ประสบการณ์การทำงานต่างกันมีสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านการดำเนินการตามแผน และด้านการนำผล การประเมินมาปรับปรุงงาน ส่วนในด้านการวางแผน และด้านการตรวจสอบประเมินผล แตกต่าง กันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยในด้านการวางแผนพบว่า อาจารย์ที่มีประสบการณ์ การทำงานมากกว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 6 ปี อาจารย์ที่มี ประสบการณ์การทำงานมากกว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 11-15 ปี และอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานมากว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ ระหว่าง 16-20 ปี ในด้านการตรวจสอบประเมินผลพบว่า อาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานมาก กว่า 20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 6 ปี อาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงาน ระหว่าง 16-20 ปี กับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 6-10 ปี และอาจารย์ที่มี ประสบการณ์การทำงานมากกว่า 20 ปีกับอาจารย์ที่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี 3. ผลการศึกษาปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา พบว่า ด้านการวางแผน การ ดำเนินการตามแผน การตรวจสอบประเมินผล และการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน อยู่ใน ระดับปานกลาง 4.ผลการเปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา 73 4.1.เมื่อเปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา พบว่า ผู้บริหารและ ครู-อาจารย์มีปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในทุกด้าน 4.2.เมื่อเปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษาพบว่า อาจารย์ชาย และอาจารย์หญิงมีปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตก ต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในทุกด้าน 4.3.เมื่อเปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา พบว่า อาจารย์ที่มี ระดับการศึกษาต่างกัน มีปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในทุกด้าน 4.4.เมื่อเปรียบเทียบปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา พบว่า อาจารย์ที่มี ประสบการณ์การทำงานต่างมีปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในทุกด้าน อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการปฏิบัติและปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา โดยรวม และเป็นรายด้าน ผู้วิจัยจะทำการอภิปรายผล ดังนี้ 1. สภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการ ศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับ ปานกลาง ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยของหยด คณโฑทอง (2544 : บทคัดย่อ) ซึ่งศึกษาสภาพและ ปัญหาการประเมินผลภายในของโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดลพบุร ี ที่พบว่า โรงเรียนทุกขนาดมีสภาพการประเมินอยู่ในระดับปานกลาง และยังสอดคล้องกับการศึกษาของ โอภาสคงทน และคนอื่นๆ (2541 : บทคัดย่อ) ที่ศึกษาความพร้อมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภาย ในของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ที่พบ ว่า โรงเรียนมีความพร้อมในการประกันคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาสภาพการปฏิบัติ 74 ด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษา ภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ในแต่ละด้านพบว่า 1.1 ด้านการวางแผน โดยภาพรวมมีสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้เนื่องจากการประกันคุณภาพเป็นนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้นสถานศึกษาจึงมีการจัดการปฏิบัติตามกระบวนการประกันคุณภาพ ภายใน เช่นการส่งเสริมให้ครูมีการทำแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จะมีการปฏิบัติอยู่ใน ระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ สุนีย์ บุญทิม (2544 : บทคัดย่อ) เรื่องการศึกษาสภาพการ ดำเนินการประเมินผลภายในและความต้องการสนับสนุนการดำเนินการประเมินผลภายในสถาน ศึกษาประเภทอาชีวศึกษา เขตการศึกษา 6 ที่พบว่า ความพร้อมด้านบุคลากรในสถานศึกษาและการ เตรียมความพร้อมด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง และนอกจากแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอกของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2543ข : 61-63) ได้ให้แนวทางไว้ว่า การประกัน คุณภาพภายในเป็นเรื่องของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา มิใช่เป็นเรื่องของคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่ม ใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ และมิใช่เป็นการดำเนินงานแบบต่างคนต่างทำ และมีความเชื่อมโยงระหว่าง ภารกิจต่าง ๆ ของสถานศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาที่ต้องการโดยจะต้อง ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วางแผนการทำงาน ออกแบบการประเมินตนเอง แล้วช่วยกันทำและพัฒนา ปรับปรุง ก็จะทำให้การประกันคุณภาพภายในมีความต่อเนื่องและยั่งยืน เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า การส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้เนื่องจาก กรมอาชีวศึกษาได้จัดให้มีการอบรมการจัดทำแผนการสอนแบบบูรณาการโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งทำให้ครู-อาจารย์สามารถเขียนแผนการสอนได้ จึงส่งผลให้สภาพการปฏิบัติในหัวข้อดังกล่าวอยู่ ในระดับมาก 1.2 ด้านการดำเนินการตามแผน โดยภาพรวมมีสภาพการปฏิบัติด้านกระบวนการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การ พัฒนาครูและบุคลากรในวิทยาลัยอยู่ในระดับน้อย ทั้งนี้เนื่องจาก กรมอาชีวศึกษาได้เปิดสอนใน หลายหลักสูตรจึงทำให้คร-ู อาจารย์ในแต่ละสถานศึกษามีชั่วโมงสอนเป็นจำนวนมากและเวลาที่วาง ตรงกันมีน้อย จึงทำให้หาเวลาในการจัดอบรมได้ยาก สอดคล้องกับผลการวิจัยของหยด คณโฑทอง (2544 : 81) ที่พบว่า สภาพการประเมินผลภายในด้านระบบการวางแผนและปฏิบัติ โดยภาพรวมอยู่ ในระดับปานกลาง 1.3 ด้านการตรวจสอบประเมินผล โดยภาพรวมมีสภาพการปฏิบัติด้านกระบวน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อก็ยังพบว่า 75 สภาพการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้เนื่องจากในแต่ละวิทยาลัยมีการวางกรอบแนวการ ประเมินผลอย่างจริงจังโดยมีการจัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์และ นำผลการวิเคราะห์มาใช้และนอกจากนี้ยังมีการจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนควบคู่ไปด้วย 1.4 ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน โดยภาพรวมมีสภาพการปฏิบัติด้าน กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อก็ ยังพบว่าสภาพการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางและเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อยังพบว่าสภาพการ ปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง 2. สภาพปัญหาจากการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด กองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษาภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา โดยภาพรวมมีการปฏิบัติด้าน กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา สภาพการปฏิบัติ ด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพ กลุ่มสถานศึกษา ภาคกลาง กรมอาชีวศึกษา ในแต่ละด้านพบว่าด้านการวางแผน ด้านการดำเนินการตามแผน ด้านการตรวจสอบประเมินผล และด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน อยู่ในระดับ ปานกลาง ทั้งนี้เป็นเพราะทุกสถานศึกษาจะต้องจัดทำการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาจึงทำ ให้บุคลากรได้รับข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาซึ่งมีอยู่แพร่ หลาย ตามสื่อต่าง ๆ จึงส่งผลให้บุคลากรมีความตระหนักถึงความสำคัญในการจัดทำการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา จึงส่งผลให้สภาพปัญหาจากการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิบัติ 1. ผู้บริหารควรให้ความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา 2. ควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษามีการศึกษาดูงานอบรม สัมมนา อยู่เป็นประจำ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ 3. ผู้บริหารควรทำความเข้าใจ ให้ความสำคัญ และมีส่วนร่วมในการจัดทำการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างจริงจัง 76 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาวิจัยสภาพและปัญหาการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา สังกัดกองการศึกษาอาชีพในภาคอื่น ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะ สมกับสถานการณ์จริง 2. ควรมีการศึกษาวิจัยสภาพและปัญหาการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกองอื่น ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข 3. ควรมีการศึกษาวิจัยสภาพและปัญหาการปฏิบัติด้านกระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ต่าง ๆ ในกระทรวงศึกษาธิการ หรือสถานศึกษาในภาคอื่น ๆ เพื่อเป็นแนวทาง ในการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม 77 บรรณานุกรม 78 บรรณานุกรม กาญจนา เวชวิฐาน และคนอื่น ๆ. (2543) . การศึกษาความพร้อมในการประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี. การศึกษาด้วย ตนเอง มหาวิทยาลัยนเรศวร. เข็มทอง ศิริแสงเลิศ. (2540). การวิเคราะห์ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนอาชีวศึกษา เอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎี บัณฑิต สาขา วิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญทิพย์ สุริยวงศ์. (2544). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9002. ของโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2531). ปทานุกรมการวิจัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล. ประคอง กรรณสูตร. (2542). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือ ดร.สง่า จำกัด. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2531). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล. วันชัย ศิรชนะ. (2537). การพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับ สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาคุรุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาอุดมศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิจิตร ศรีสอ้าน (2518). หลักการอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช. สวัสดิ์ อุดมโภช์น. (2543). ก.รายงานผลการวิจัยเอกสารปฏิรูปการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชา ชีพประเทศแคนาดา. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานปฏิรูปการอาชีวศึกษาและฝึกอบรม สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2543. -------. (2543). ข. รายงานการวิจัยเอกสารปฏิรูปการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพประเทศสหรัฐ อเมริกา. กรุงเทพฯ : กลุ่มงานปฏิรูปการอาชีวศึกษาและฝึกอบรม สำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาแห่งชาติ. สยาม สุ่มงาม. (2541). กระบวนการดำเนินงานปัญหาแนวทางการแก้ปัญหาการประกันคุณภาพ การศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนนำร่อง สำนักงานประถมศึกษาจังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์ 79 ปริญญา มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. (2543). ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับต่ำกว่าปริญญาตรี. เอกสารอบรมโครงการประกัน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน 17 กันยายน 2543. สถาบันส่งเสริมการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา. (2543). แนวทางการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาเพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา. สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์.(2545).การประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน(ออนไลน์)2001. เข้าถึง ได้จาก : http://w.w.w.Moe.go.th/main2/article/article 14htm (20 มีนาคม 2545). สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2544). แนวทางการพัฒนาโรงเรียนเพื่อเตรียมรับการประกันคุณภาพการศึกษา. วารสารวิชาการ 4 (1) ตุลาคม 2544 : 34 - 36. สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (2539). แนวทางการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา เพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ : สำนักมาตรฐาน อุดมศึกษา สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. สุนีย์ บุญทิม.(2544). รายงานการวิจัยการศึกษาสภาพการดำเนินการประเมินผลภายใน ของสถาน ศึกษาประเภทอาชีวศึกษา เขตการศึกษา 6. กรุงเทพฯ : สำนักงานมาตรฐานอุดมศึกษา. สุพัตรา สุภาพ. (2540). การบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ (ยุคโลกาภิวัฒน์). กรุงเทพฯ : ธรรมนิติ. สุภาณี แสงอินทร์. (2544). สภาพการดำเนินการประกันคุณภาพภายในของวิทยาลัยอาชีวศึกษา กลุ่มสถานศึกษาภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร ์ มหาบัณฑิต สถาบัน ราชภัฎเทพสตรี. สุภาพ ดวงไสว. (2539). การประกันคุณภาพทางวิชาการ. อุดมศึกษาปริทัศน์. 1 (3) มีนาคม – เมษายน. สุวิมล ราชบริบาล. (2541). การศึกษากระบวนการการประกันคุณภาพการศึกษาในสถาบันอุดม ศึกษาของรัฐ. สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุวิมล ว่องวานิช. (2543). รายงานการวิจัยเรื่องการวิจัยและพัฒนาระบบการประเมินผลภายในของ 80 สถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา แห่งชาติ. หยด คณโฑทอง. (2544). สภาพและปัญหาการประเมินผลภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงาน การ ประถมศึกษาจังหวัดลพบุรี วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันราชภัฎเทพสตรี. อดุลย์ วิรยาวชกุล. (2540). การอุดมศึกษาปริทัศน์ 3. กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เอ.ลิฟวิ่งจำกัด. อมรรวิชช์ นาครทรรพ. (2540). ในกระแสแห่งคุณภาพ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี -------. (2543). บนทางสู่คุณภาพ : รายงานการติดตามผลการประกันคุณภาพ และรับรองมาตรฐาน การอุดมศึกษา. รายงานการวิจัยโดยเงินทุนสนับสนุนของสำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาแห่งชาติ. พีทีพริ้น. อำรุง จันทรวานิช. (2542). การศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพ. วารสารวิชาการ. 1(9) : 9 อุดมศักดิ์ มาคี. (2542). สาระน่ารู้เกี่ยวกับคุณภาพการศึกษา และการประเมินผล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2543). การประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา. มปท., มปพ. โอภาส คงคน และคนอื่น ๆ. (2544). สำรวจความพร้อมเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดชัยนาท. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. Balosky and Lawton, S.(1994). Development Quality School : A Handbook. Inkwell Graphics, Ltd, 1994 : 4-5. Bergquist, W.H. (1995). Quality Through Access. Access with Quality : The New Imperative For Higher Education. San Francisco : Jossey-Bass. -------. (1995). Quality through Access with Quality : the New Imperative for Higher Education. San franciseo : Jossey – Bass. Cyer.P.(1993). Preparing for Quality Assessment and Audit : Establishing and Quality Assurance System in Higher Education. CVCP Publication. Green, Diana. (1993). What is Quality in Higher cducation? Concepts, Policy and PractiveavailableDiana Green (ed.) What is Quality in Higher Education?Society for Research into Higher Education & Poen Universtiy Press. Nailor,Partricia Cook. Developing school Counselors as Change Agents for School Of 81 Tommorow. Dissertation Abstracts Intermational, Johnson Wales University,2000 (DAI –ACD – Rom. No AAT 9941907) Newton,J.(1999). An Evaluation of the Impact of Extenal Quality Monitoring on a Higher Education Cokkege (1993-98). Assessment & Evaluation in Higher Education. Febrary. 1999 : 215 – 235. Pattiricia, Broad Foot. (1994).Approach to Quality Assurance and Control in Other Countries. Paper Presented at the Annual Meeting of the American Education Research Association, April. ศึกษาสภาพการปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพ (ตอนที่ 1)
ศึกษาสภาพการปฏิบัติและปัญหาด้านกระบวนการประกันคุณภาพ (ตอนที่ 2)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น