วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษากรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 2)



ปานกลาง
3.53
0.67
มาก
2. มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลงานอย่างสม่ำเสมอ
2.89
0.60
ปานกลาง
3.21
0.79
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.04
0.71
ปานกลาง
3. มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ
3.22
0.67
ปานกลาง
3.20
0.95
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.17
0.79
ปานกลาง
รวม
3.32
0.64
ปานกลาง
3.40
0.53
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.30
0.55
ปานกลาง
จากตารางที่ 8 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน เกี่ยวกับด้านการวางแผนโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
67
(x = 3.30) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
ตารางที่ 9 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ ด้านงบประมาณ
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
ด้านงบประมาณ
1. ห้องสมุดมีความสามารถในการใช้งบประมาณให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
3.23
0.79
ปานกลาง
3.78
0.44
มาก
3.58
0.79
มาก
3.58
0.67
มาก
2. งบประมาณใช้สำหรับการพัฒนาบริการห้องสมุดให้ดีขึ้น
3.04
0.74
ปานกลาง
2..89
0.60
ปานกลาง
3.21
0.79
ปานกลาง
3.04
0.71
ปานกลาง
3. มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมการใช้งบประมาณให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
3.09
0.79
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.20
0.95
ปานกลาง
3.17
0.80
ปานกลาง
รวม
3.20
0.50
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.40
0.53
ปานกลาง
3.30
0.55
ปานกลาง
จากตารางที่ 9 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน การวางแผน โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x = 3.30) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
68
ตารางที่ 10 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ ด้านบุคลากร
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
ด้านบุคลากร
1. บุคลากรมีปริมาณสอดคล้องกับภาระงาน
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
2. บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.14
0.70
ปานกลาง
3. บุคลากรเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในวิชาชีพบรรณารักษ์เป็นอย่างดี
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
รวม
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.26
0.63
ปานกลาง
จากตารางที่ 10 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯเปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน ด้านบุคลากร โดยภาพรวมในระดับการปฏิบัติงานมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x = 3.26) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
69
ตารางที่ 11 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ ด้านเทคนิคเกี่ยวกับทรัพยากร
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
ด้านเทคนิค ทรัพยากรการจัดหา
1. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่หลาก หลาย รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้บริการ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
3.23
0.79
ปานกลาง
3.78
0.44
มาก
3.58
0.79
มาก
3.53
0.67
มาก
2. ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ มีจำนวนเพียงพอกับการใช้ของผู้ใช้
3.04
0.74
ปานกลาง
2.89
0.60
ปานกลาง
3.21
0.79
ปานกลาง
3.04
0.71
ปานกลาง
3. ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ และมีการสอบถามผู้ใช้ บริการสม่ำเสมอ ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
3.09
0.79
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.20
0.95
ปานกลาง
3.17
0.80
ปานกลาง
วัสดุตีพิมพ์ – หนังสือ
4. หนังสือที่มีให้บริการมีความเพียงพอสอดคล้อง กับความต้องการของผู้ใช้
3.20
0.50
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.40
0.53
ปานกลาง
3.30
0.55
ปานกลาง
5. เมื่อหาหนังสือบนชั้นไม่พบเจ้าหน้าที่สามารถบอก ให้ทราบถึงสถานภาพของหนังสือนั้นได้อย่างรวดเร็ว
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.50
0.78
มาก
3.59
0.71
มาก
70
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
6. วารสารที่จัดขึ้นชั้นมีจำนวนเพียงพอ และมีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.08
1.14
ปานกลาง
3.15
0.84
ปานกลาง
7. การจัดเรียงวารสารค้นหาง่าย
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.36
0.75
ปานกลาง
3.22
0.85
ปานกลาง
วัสดุไม่ตีพิมพ์
8. แถบบันทึกเสียงมีจำนวนเพียงพอและเป็นปัจจุบัน สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.50
0.93
มาก
3.39
0.77
ปานกลาง
9. การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว
3.50
0.93
มาก
3.50
0.78
มาก
2..89
0.60
ปานกลาง
3.29
0.77
ปานกลาง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
10. มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์จำนวนเพียงพอสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
3.36
0.75
ปานกลาง
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.22
0.85
ปานกลาง
11. การยืม – คืน สะดวกรวดเร็ว
3.50
0.93
มาก
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.26
0.91
ปานกลาง
รวม
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.16
0.77
ปานกลาง
จากตารางที่ 11 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน ด้านเทคนิค เกี่ยวกับทรัพยากรการจัดหาโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x = 3.16)เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
71
ตารางที่ 12 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ ด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการ
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
ด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการบริการพื้นฐาน
1. มีระบบการให้บริการที่อำนวยความสะดวกให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้บริการ และมีบรรยากาศที่ร่มรื่นน่าเข้ามาใช้ บริการ
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
2. การบริการของห้องสมุดโรงเรียน เช่น บริการให้อ่าน บริการยืม – คืน บริการหนังสือจอง เป็นต้น
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น จัดนิทรรศการ อภิปราย เป็นต้น
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.14
0.70
ปานกลาง
บริการตอบคำถาม
4. ทรัพยากรอ้างอิงมีความทันสมัยและพอเพียง ในการให้บริการ
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
5. มีบรรณารักษ์ให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดี เมื่อนักเรียนมีปัญหา
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.29
0.63
ปานกลาง
72
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
6. หนังสือสำรอง คือ หนังสือที่ยืมได้ 3 วัน ทำการ และมี ความพอเพียงต่อความต้องการ
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.57
ปานกลาง
7. มีการจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศพิเศษ เช่น ข้อมูลท้องถิ่นของโรงเรียน
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.36
0.75
ปานกลาง
3.22
0.85
ปานกลาง
8. มีความยืดหยุ่นในระเบียบการยืม ด้านจำนวน และ ระยะเวลาในการให้ยืมสื่อ
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.50
0.93
มาก
3.39
0.77
ปานกลาง
9. ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของบุคลากร
3.36
0.75
ปานกลาง
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.22
0.85
ปานกลาง
บริการ อินเตอร์เน็ต
10. มีการให้บริการอินเตอร์เน็ต
3.50
0.93
มาก
3.50
0.78
มาก
2..89
0.60
ปานกลาง
3.29
0.77
ปานกลาง
11. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เข้าระบบได้ง่ายไม่ติดขัด
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
12. ความเพียงพอของจำนวนเครื่องคอมพิว-เตอร์ ต่อการให้บริการ
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
รวม
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.14
0.70
ปานกลาง
73
จากตารางที่ 12 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน ด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x = 3.14) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
ตารางที่ 13 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
สิ่งอำนวยความสะดวก บรรยากาศภายในห้องสมุด
1. ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้สื่อในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.36
0.75
ปานกลาง
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.22
0.85
ปานกลาง
2. บรรยากาศในห้องสมุดโรงเรียนเหมาะสมแก่ การอ่านหนังสือ
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
3. เมื่อเข้ามาใช้บริการห้องสมุดโรงเรียนแล้วต้องการเข้ามาใช้ใช้บริการอีก
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.14
0.70
ปานกลาง
74
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
อาคารห้องสมุด
4. ห้องสมุดโรงเรียนตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ และเป็นศูนย์กลางของโรงเรียน
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
5. จำนวนที่นั่งสำหรับจัดเก็บทรัพยากร ห้องสมุดโรงเรียนมีบริการเพียงพอ
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.29
0.63
ปานกลาง
6. เนื้อที่สำหรับจัดเก็บทรัพยากร ห้องสมุดโรงเรียนมีความเหมาะสม
3.56
0.73
ปานกลาง
3.37
0.83
ปานกลาง
3.21
0.79
ปานกลาง
3.35
0.78
ปานกลาง
ครุภัณฑ์
7. มีครุภัณฑ์ จำนวนเพียงพอและเหมาะสมกับงานห้องสมุดโรงเรียนให้บริการ
3.89
0.60
มาก
3.18
0.18
ปานกลาง
3.48
0.74
ปานกลาง
3.51
0.50
มาก
8. ชั้นวางหนังสือ ชั้นวางวารสาร และที่วางหนังสือพิมพ์มีความเหมาะสมสะดวกต่อการใช้งาน
3.67
0.71
มาก
3.68
0..84
มาก
3.39
0.82
ปานกลาง
3.58
0.79
มาก
9. เคาน์เตอร์ ยืม – คืน หนังสือมีความเหมาะสม สะดวกต่อการใช้งาน
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.78
ปานกลาง
75
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
10. ทางเข้า – ออก ห้องสมุดโรงเรียนมี ความสะดวก
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
รวม
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
จากตารางที่ 13 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯเปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน สิ่งอำนวยความสะดวก, บรรยากาศภายใน ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครทุกขนาด มีประสิทธิภาพในการส่งเสริม และพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้สื่อในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม การอ่านหนังสือ และเพื่อเข้ามาใช้บริการห้องสมุดโรงเรียนแล้วต้องการเข้ามาใช้บริการอีก อยู่ในระดับประสิทธิภาพปานกลาง อาคารห้องสมุด ตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ และเป็นศูนย์กลางของโรงเรียน, ทรัพยากรบริการพอเพียงอยู่ในระดับประสิทธิภาพ ปานกลาง ครุภัณฑ์ เหมาะสมกับงาน, ชั้นวางหนังสือ เหมาะสมสะดวกใช้งาน อยู่ในระดับมีประสิทธิมาก
ภาพรวมด้านสิ่งแวดล้อมความสะดวก บรรยายกาศภายในห้องสมุด, อาคารห้องสมุดครุภัณฑ์ ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครทุกขนาดมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับ ปานกลาง (x = 3.50)
76
ตารางที่ 14 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ เกี่ยวกับการเข้าถึง
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
การเข้าถึง
1. มีเครื่องมือช่วยค้นคว้าสะดวกและรวดเร็ว
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
2. จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระเบียบสะดวกต่อการเข้าถึง
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
3. เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศในระดับโรงเรียน ท้องถิ่น และสากล
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.14
0.70
ปานกลาง
รวม
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.29
0.63
ปานกลาง
จากตารางที่ 14 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน เกี่ยวกับการเข้าถึงมีเครื่องมือ ช่วยค้นคว้าสะดวก และรวดเร็ว จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระเบียนสะดวกต่อการเข้าถึง, เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศในระดับโรงเรียนท้องถิ่น และสากลในภาพรวมของโรงเรียนทุกขนาดมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x = 3.29)เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
77
ตารางที่ 15 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ เกี่ยวกับการปฐมนิเทศห้องสมุด
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
ปฐมนิเทศห้องสมุด
1. เนื้อหาและระยะเวลาในการจัดการปฐมนิเทศมีความเหมาะสม ครอบคลุมการใช้งานห้องสมุดโรงเรียน
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
2. คู่มือการใช้ห้องสมุดโรงเรียนอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
3. แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูล ต่าง ๆ ได้ชัดเจนเข้าใจง่าย และได้เห็นของจริง
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.14
0.70
ปานกลาง
การสอนการใช้ห้องสมุด
4. ห้องสมุดโรงเรียนมีวิธีดำเนินการช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยใช้ทรัพยากรสารสนเทศผสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
5. ห้องที่ใช้ในการสอนมีความเหมาะสมอยู่ใกล้ห้องสมุดโรงเรียน
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.29
0.63
ปานกลาง
78
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
6. อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนมีความพร้อม
3.50
0.93
ปานกลาง
3.78
0.44
ปานกลาง
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
รวม
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
จากตารางที่ 15 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน เกี่ยวกับการปฐมนิเทศห้องสมุดโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x = 3.13) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
ตารางที่ 16 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ เกี่ยวกับการสื่อสารและความร่วมมือ
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
การสื่อสารและความร่วมมือการสื่อสารกับผู้ใช้
1. มีเครือข่ายห้องสมุดโรงเรียนเพื่อเข้าถึงแหล่งสารสนเทศของหน่วยงานอื่นๆได้
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
79
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
2. มีความชัดเจนของแผนผังที่แสดงส่วนต่าง ๆ ของ ห้องสมุดโรงเรียน
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.29
0.63
ปานกลาง
3. มีการจัดป้ายนิทรรศการให้บริการข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์
3.56
0.73
ปานกลาง
3.37
0.83
ปานกลาง
3.21
0.79
ปานกลาง
3.38
0.78
ปานกลาง
4. มีการประชา สัมพันธ์เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องสมุดโรงเรียนผ่านสื่อ เช่น วารสารโรงเรียนหรือ เว็บไซด์ของโรงเรียน
3.89
0.60
มาก
3.18
0.18
มาก
3.48
0.74
ปานกลาง
3.51
0.50
มาก
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
5. ห้องสมุดโรงเรียนมีความร่วมมือกับห้องสมุดโรงเรียนอื่นเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ร่วมกัน
3.67
0.71
มาก
3.68
0.84
มาก
3.39
0.82
ปานกลาง
3.58
0.79
มาก
6. มีการร่วมมือกับชุมชนด้านการจัดเก็บ
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
7. มีการร่วมมือกับชุมชนในด้านบริการ
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
รวม
3.89
0.60
มาก
3.18
0.18
ปานกลาง
3.48
0.74
ปานกลาง
3.51
0.50
มาก
80
จากตารางที่ 16 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน เกี่ยวกับการสื่อสารและความร่วมมือ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพมาก (x = 3.51) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
ตารางที่ 17 ความคิดเห็นของ ครูบรรณารักษ์ เกี่ยวกับการประเมินและประเมินผลลัพธ์
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
การประเมินและประเมินผลลัพธ์
1. มีระบบการประเมินคุณภาพของห้องสมุดโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการให้เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
2. มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของห้องสมุดโรงเรียนทุกงาน เพื่อควบคุมคุณภาพขึ้นภายของห้องสมุดโรงเรียน
3.50
0.93
มาก
3.78
0.44
มาก
3.23
0.79
ปานกลาง
3.50
0.72
ปานกลาง
3. มีการประเมินแผนงานและโครงการปฏิบัติ งานของห้องสมุดโรงเรียนทุกงาน
3.50
0.78
มาก
2.89
0.60
ปานกลาง
3.04
0.74
ปานกลาง
3.14
0.70
ปานกลาง
81
ขนาดของโรงเรียน
ใหญ่
กลาง
เล็ก
รวมโรงเรียน ทุกขนาด
ข้อความ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ x
S.D.
ระดับ
4. มีการศึกษาตนเองอย่างเป็นทางการของห้อง สมุดโรงเรียนเพื่อค้นหาจุดอ่อน และแนวทางแก้ ไข ค้นหาจุดแข็งและแนวทางเสริม
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.29
0.63
ปานกลาง
5. มีการประเมินผลงานบริการของห้องสมุดโรงเรียนหรือประเมินความพึงพอใจ ของ ผู้ใช้ บริการอย่างสม่ำเสมอ
3.08
1.14
ปานกลาง
3.22
0.67
ปานกลาง
3.09
0.79
ปานกลาง
3.13
0.86
ปานกลาง
รวม
3.36
0.75
ปานกลาง
3.32
0.64
ปานกลาง
3.20
0.50
ปานกลาง
3.29
0.63
ปานกลาง
จากตารางที่ 17 พบว่า สภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯเปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน เกี่ยวกับการประเมินและประเมินผลลัพธ์โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x = 3.29) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง
82
แบบสอบถามชุดที่ 2
แนวทางการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
โดยท่านผู้เชี่ยวชาญด้านห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สรุปได้ ดังนี้
ด้านการบริหาร
1. ผู้บริหารต้องเห็นความสำคัญว่าห้องสมุดโรงเรียนเป็นหัวใจของการศึกษา และให้การสนับสนุน ส่งเสริมการดำเนินการต่าง ๆ เช่น ด้านบุคลากร ,งบประมาณ
2. บรรณารักษ์หรือหัวหน้างานห้องสมุดควรนำหลักการบริหารงานทั่วไป 7 ประการ “POSDCORB” มาจัดกับงานห้องสมุดจะทำให้การบริหารห้องสมุดโรงเรียน กระทำได้ง่ายขึ้น
3. การบริหารงานเพื่อให้รู้ว่าจะดำเนินการไปในทิศทางใดนั้น อาจจะนำมาตรฐานขั้นต่ำของห้องสมุดโรงเรียนที่กำหนดโดยสมาคมวิชาชีพ หรือหน่วยงานต้นสังกัดมาเป็นเกณฑ์เพื่อจะได้ดำเนินการให้บรรลุผลอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจนขึ้น
ด้านเทคนิค
1. ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ทางวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ในการดำเนินงานเทคนิคต่างๆ เช่นการวิเคราะห์หมวดหมู่ และทำบัตรรายการ นั้น แนวทางการแก้ปัญหา และพัฒนา อาจจะใช้วิธีการดำเนินการ Centralization คือเมื่อสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร จัดส่งหนังสือให้ห้องสมุดโรงเรียนในสังกัดทุกโรงเรียน ควรจัดหมวดหมู่ และทำบัตรรายการให้ไปพร้อมกัน
2. ใช้วิธีการทำฐานข้อมูลร่วมกัน ผ่านเว็บไซต์ในอินเตอร์เน็ต แบ่งปันข้อมูลร่วมกัน แบ่งกันวิเคราะห์เลขหมู่หรือบัตรรายการ จะทำให้การทำงานได้ถูกต้อง รวดเร็วขึ้น ไม่เสียเวลาทำงานซ้ำซ้อน
ด้านการบริการ
1. งานบริการ เป็นหัวใจสำคัญของห้องสมุดโรงเรียน ทำอย่างไรให้นักเรียนมาใช้บริการทรัพยากรอย่างคุ้มค่ามากที่สุด ดังวนั้นควรเน้นงานบริการเป็นหลัก
2. ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน โดยเฉพาะนักเรียนในระดับประถมศึกษา เป็นช่วงวัยที่ควรส่งเสริมให้เกิดนิสัยรักการอ่าน
3. ห้องสมุดโรงเรียนควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ห้องสมุด รักการอ่านพัฒนาในทุกๆ ด้านให้แก่นักเรียนอย่างหลากหลาย และสม่ำเสมอ
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ในการวิจัย สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้สรุปโดยกล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัยโดยสังเขป และผลงานวิจัยที่มีมาก่อน และท้ายสุดเสนอแนะเพื่อการวิจัย และการประยุกต์เพื่อสร้างองค์ความรู้ และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อไป
1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร และ ศึกษาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
2. วิธีดำเนินการวิจัย
1. ประชากรที่ใช้ศึกษา ผู้วิจัยได้เลือกศึกษาจากประชากรผู้ให้บริการ คือ ครูบรรณารักษ์ ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่
(1) ครูบรรณารักษ์ ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดเล็ก
สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 62 คน
(2) ครูบรรณารักษ์ ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดกลาง
สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 74 คน
(3) ครูบรรณารักษ์ ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดใหญ่
สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 86 คน
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ เกี่ยวกับสภาพการดำเนินงาน และแนวทางการพัฒนาของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ตามมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เป็นแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างแบบสอบถาม และตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข.
84
3. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยขอความอนุเคราะห์ให้กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ช่วยตอบแบสอบถามในช่วงระยะเวลา 1 กรกฎาคม 2548 – 31 กรกฎาคม 2548 โดยผู้วิจัยได้จัดส่งและเก็บแบบสอบถามได้ครบตามจำนวน 222 ฉบับ
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS / PC+ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติเชิงบรรยาย เช่น ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับผู้ใช้แต่ละกลุ่ม ดังนี้
แบบสอบถามชุดที่ 1
ตอนที่ 1 วิเคราะห์สถานภาพของโรงเรียนและห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้ ค่าร้อยละ
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร วิเคราะห์โดยใช้ ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
แบบสอบถามชุดที่ 2
สังเคราะห์ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนาห้องสมุด
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
4. สรุปผลการวิจัย
ด้านบริหาร
สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่6 (พ.ศ. 2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ทุกขนาดของโรงเรียนภาพรวมของระบบการบริหารมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x= 3.47)
ด้านเทคนิค
สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
85
สอดคล้องกับแผนการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่6 (พ.ศ. 2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ทุกขนาดของโรงเรียนภาพรวมของด้านเทคนิค ทรัพยากรการจัดหา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพ ปานกลาง (= 3.16)
ด้านบริการ
สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สอดคล้องกับแผนการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่6 (พ.ศ. 2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ทุกขนาดของโรงเรียนภาพรวมของด้านการบริการ ประเภทบริการและวิธีการมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมีประสิทธิภาพปานกลาง (x= 3.14)
5. อภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยมีประเด็นที่ควรอภิปราย ดังนี้
1. สถานภาพของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครส่วนมากเป็นดรงเรียนขนาดใหญ่ คือ มีนักเรียนมากกว่า 801 คนขึ้นไป ร้อยละ 38.74
2. จำนวนคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ในโรงเรียนทุกขนาด ส่วนมากใช้ในงานด้านธุรการ ร้อยละ 41.86-75.67
3. แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนทุกขนาดส่วนมากเป็นมุมหนังสือ และป้ายนิเทศ ร้อยละ 32.55-56.45 รองลงมาเป็นห้องสมุดกลางร้อยละ 20.96-31.39 เป็นห้องพิเศษ / ศูนย์วิทยากร ร้อยละ 19.35-27.90 และเป็นอุทยานการศึกษา ร้อยละ 4.83-26.74
4. สถานการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ด้านการบริหาร ด้านเทคนิค ด้านบริการ โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยูในระดับปานกลาง
5. แนวทางการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยท่านผู้เชี่ยวชาญ 10 ท่าน ทั้ง 3 ด้าน สอดคล้องกับ ขันธชัย มหาโพธิ์ (2537:4) คือมีการจัดสภาพห้องสมุดโรงเรียน, วัสดุครุภัณฑ์ อย่างเพียงพอ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน, มีการประเมินผล การบริหาร สอดคล้องกับบุญมี ธิอุด (2536:5) วันทนีย์ ฤทธ์ประพฤติดี (2540:8) ผู้บริหารให้การสนับสนุนกิจกรรมทุกด้าน
86
ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย
ผลการวิจัย สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545และสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6(พ.ศ. 2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ เปรียบเทียบตามขนาดของโรงเรียน 3 ด้านครั้งนี้ ได้รับข้อมูลที่ควรแก่การนำมาใช้เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทันต่อวิวัฒนาการ ความเปลี่ยนแปลง ด้านเทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้ก้าวหน้าและทันสมัยอยู่ตลอดเวลา จึงมีข้อเสนอแนะดังนี้
1. ข้อเสนอแนะสำหรับผู้บริหารโรงเรียน
ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคคลเข้าใช้ห้องสมุดให้มากขึ้น โดยการประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่อง เพราะห้องสมุดเป็นแหล่งรวมข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งต่อการจัดการศึกษาทุกระดับโดยเฉพาะระดับประถมศึกษาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ มีประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพในแต่ละด้านอย่างเพียงพอ
2. ข้อเสนอแนะสำหรับบรรณารักษ์และบุคลากร
2.1 ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพในการให้บริการ การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ การสอนการใช้ห้องสมุด การสื่อสารและความร่วมมือ และการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร
2.2 จัดให้มีระเบียบกฎเกณฑ์ในการยืม – คืน ทรัพยากรสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกันและรัดกุม
2.3 เคร่งครัดในเรื่องลักษณะของผู้ให้บริการที่พึงประสงค์และคุณสมบัติของผู้ให้ บริการที่ดี อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
1. ศึกษาเกี่ยวกับความคาดหวังหรือความพึงพอใจของผู้ใช้ห้องสมุดต่อการดำเนินงาน ด้านทรัพยากร ด้านการบริการ ด้านการเข้าถึง ด้านการสอน และด้านการสื่อสารและความร่วมมือ
87
2. ศึกษาเกี่ยวกับการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เปรียบเทียบกับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ในเชิงปริมาณ และ คุณภาพ
3. ศึกษาความต้องการของผู้ใช้บริการ เพื่อปรับปรุงคุณภาพการบริการให้สอดคล้องกับความต้องการ
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
วิชาการ, กรม. (2535). คู่มือการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์การศาสนา.
กรมสามัญศึกษา. (2531). หน่วยศึกษานิเทศก์ เขตการศึกษา 6, 2531 : 17 – 20
กุหลาบ ปั้นลายนาค. (2539) . การปฏิบัติงานในห้องสมุดโรงเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์,
ขันธชัย มหาโพธิ์. (2536) . การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการบริหารงาน
วิชาการ โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดอุดรธานี.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ,สำนักงาน. (2543) . แนวทางการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ประถมศึกษา กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ.
_______. ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด. (2543). กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ.
จักรพงศ์ เชิดศิริพงศ์. (2541) . สภาพและปัญหาในการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จิตรพร ศรีสัมพันธ์. (2540). การศึกษาสภาพการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาขนาด
ใหญ่ สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
เฉลียว พันธุ์สีดา. (2528). ห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะ มนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
89
ชนิดา วิสะมิตนันท์. (2543). “การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา” . ในสุนีย์ นุ้ยจันทร์
จินดา จำเริญ และทิพยอัจฉรา ดิลกคุณานันท์ (บรรณาธิการ). 2543, การประชุมใหญ่ สามัญ และประชุมวิชาการประจำปี พุทธศักราช 2543 เรื่อง บทบาทของห้องสมุดต่อการ พัฒนาคน (หน้า 71-77). กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
ทองอยู่ แก้วไทรฮะ. 2543, “การจัดบริการและการบริการของห้องสมุด เพื่อดำเนินการตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.” วารสารห้องสมุด, 44 (1), 37-45.
ณัฎพันธ์ เขจรนันทนะ. (2544). ยอดกลยุทธ์การบริหารสำหรับองค์กรยุคใหม่. กรุงเทพฯ :
เอ็กซ เปอร์เน็ท.
ณัฎฐินี ประเทืองยุคันต์. (2535). บทบาทของครูบรรณารักษ์ในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ประถมศึกษา จังหวัดเชียงราย รวมบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ปี2535 กรุงเทพฯ: บัณฑิต
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนาทิพ ฉัตรภูติ. “แหล่งเรียนรู้ในห้องสมุด” สานปฏิรูป 4,40 (กรกฎาคม 2543) :27.
นนทนา เผือกผ่อง. (2531). บรรณารักษ์เบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ภาควิชา บรรณารักษศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นรินทร์ นันทิพงศา. (2541). แนวทางการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานการ ประถมศึกษาอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นันทา วิทวุฒิศักดิ์ . (2532). การผลิตอุปกรณ์และครุภัณฑ์ห้องสมุด. กรุงเทพฯ : ดี.ดี.บุ๊คสโตร์.
บานชื่น ทองพันชั่ง. (2537). งานห้องสมุดและสารนิเทศทางสังคมศาสตร์ เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บุญมี ทิอุด. (2536) . การศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดลำปาง วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ประภาภรณ์ เทศประสิทธิ์. (2540). การดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปรียานุช เชาว์ประสิทธิ์. (2531). การศึกษาสาเหตุของปัญหา และการแก้ไขปัญหา การปฏิบัติงาน
ของครูบรรณารักษ์ สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ดตามโครงการ ห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา 2525 – 2529 ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒประสานมิตร.
90
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2536). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542. (2546). กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุต โต). (2539). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากร. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์การศาสนา.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 . (2543). แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 24.
พวา พันธุ์เมฆา. (2528). ห้องสมุดโรงเรียน ทฤษฏีและปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ภาควิชา
บรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒ,.
ภิญญาพร นิตยะประภา. (2534). ห้องสมุดโรงเรียน : เอกสารคำสอนรายวิชา 263404. กรุงเทพฯ :
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์ พระนคร.
มัลลิกา ถาวรกิจ. (2544). บทบาทของห้องสมุดโรงเรียนและบรรณารักษ์ที่มีต่อครู” การศึกษา กทม. 24,8 (พฤษภาคม 2544) : 4 - 5
มานิต มานิตเจริญ. (2526). พจนานุกรมไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง. (2541). คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
บรรณากิจ.
เยาวลักษณ์ สุขทัพภ์. (2525). การศึกษาเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานผู้สำเร็จการอบรมครู บรรณารักษ ์ในโครงการห้องสมุดโรงเรียนมาตรฐานของสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2522 – 2523. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
รัญจวน อินทรกำแหง และนวลจันทร์ รัตนากร. (2531). ห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
รุ่ง แก้วแดง. (2542). ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มติชน.
ลมุล รัตตากร. (2530). การใช้ห้องสมุด พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่ง
ประเทศ ไทยฯ.
วรพงศ์ พันธ์ศรีเพ็ชร. (2532). ปัญหาการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีสังคม.
วันทนีย์ ฤกษ์ประพฤติดี. 2540, การจัดห้องสมุดโรงเรียนเอกชน วิทยานิพนธ์บริหารการศึกษา มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
91
วิชาการ, กรม. (2535). คู่มือการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์การศาสนา.
สง่า พิชญาวศิน. (2540). แนวทางการพัฒนาการบริหารงานห้องสมุดสังกัดสำนักงานการ ประถมศึกษา จังหวัดลำพูน วิทยานิพนธ์บริหารการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมจิตร พรหมเทพ. (2542). ห้องสมุดโรงเรียน เชียงใหม่ : สถาบันราชภัฎเชียงใหม่.
สมพงศ์ เกษมสิน. (2526) การบริหาร พิมพ์ครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สะอาด คำตัน. (2540). แนวทางการปรับปรุงการบริหารงานห้องสมุด สังกัดสำนักงานการ ประถมศึกษาอำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย วิทยานิพนธ์บริหารการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สันติ ทองประเสริฐ. (2540). การนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพงาน ห้องสมุดโรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดร้อยเอ็ด. มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2543:4
สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. (2543). รายงานการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครปี 2543.
กรุงเทพฯ : สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร.
_______. วิสัยทัศน์การจัดการศึกษา2542. (2541)กรุงเทพฯ:สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร.
_______. วิสัยทัศน์การจัดการศึกษากรุงเทพมหานคร ปี 2543 – 2547
มุ่งสู่การปฏิบัติ. (2544) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุขพิกุล พิสิฏฐพันธ์. (2541). ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด กรุงเทพมหานครในการสนับสนุนการดำเนินงานห้องสมุด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
สุลัคนา เสาวรส. (2544). การดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด สำนักงาน การประถมศึกษา จังหวัดหนองบัวลำภู ตามมาตรฐานขั้นต่ำห้องสมุด โรงเรียน ประถมศึกษาพ.ศ. 2535 วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
อมรรัตน์ ศรีปทุมานุรักษ์. (2543) การศึกษาเปรียบเทียบสภาพห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา
จังหวัดชัยภูมิกับเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2535 วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อรุณ รักธรรม. (2533). มนุษยสัมพันธ์กับนักบริหาร กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พาณิชย์.
92
อัควิทย์ เรืองรอง, บรรณาธิการ. (2544). มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ : พลังปัญญา : รวมบทความ
ด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
อัจฉรา จันทร์ฉาย. (2545). การวางแผนกลยุทธ์และการจัดทำ BSC พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
อัมพร ปั้นศรี. (2521). ปัญหาการใช้ห้องสมุด กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อุทัย เพชรช่วย. (2529). “จะจัดห้องสมุดอย่างไรจึงจะจูงใจให้เด็กสนใจและเข้าไปใช้” ประชากร ศึกษา 18 – 21.
เอมอร นรเดชานนท์. (2536). การใช้ห้องสมุดโรงเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอเชียง ดาวจังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อารมณ์ พรมรัตน์พันธ์. (2541). การจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านของห้องสมุดโรงเรียน ประถมศึกษาสังกัด กรุงเทพมหานคร วทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บรรณารักษศาสตร ์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภาษาอังกฤษ
A Library is a way of sharing. Compton’ s Encyclopedia Fact and Index.13
Chicago : Compton Co., [1981] : 207- 208.
Birdall, Douglas C., and Henslesy, Oliver D. A New Strategic Planning Model for
Academic Libraries. College & Research Libraries. 55 (March 1994) : 149 – 158.
Burks, Freda Ellis. “ Nature and Extent of School Library Use in Selected High School in
the Greater. Dallas-Fort Worth,Texas Area,Ph.D.Dissertation_Texas Woman’ University. August, 1994.
Camp, R.C., Benchmarking : The Search for Industry Best Practica That Lead to
Superior Performance. Milwaukee, Wis . : ASQC Quality Press, c1989.
Dissertation Abstracts International. 50(8): 2286-A; February,1990.
Evans,Anne. Benchmarking TaKing Your OrganizationTowords Best Practice. Melbourne, Austrelia :The Business library. 1994.
Harrod, Leonard Montague. Harrod’s Librarians’Glossary of Terms Used In Librarianship, Documentation and the Book Crafts Reference Book. 7 th ed. Aldershot : Gower, 1990.
93
McCarthy, Cheryl A. A Relity Check the Challenges of Implementing Implementing
Information Power in School Library Media Programs. Library Media Quarterly.
25(April 1997); 205 – 213.
McGrath,Lawrence. School Libraies in Australia. ALA Bulletin. 63(April 1969);1109.
“A Study of Ssecondary library Resources in Anglohone Cameroon:Strategies
for Improvement”
Singh,Diljit. An International Comparative of School Library, Dissertation Abstracts
International. 54 (7): A ; (January, 1994.)
Tzeng,Houy-tia. “A Conparison of User Perception with Official Standards of Elementary
School Librsies in Tawan, Republic of Chine, “Dissertation Abstracts Internation.
51(11) : 3545-A; (May,1991.)
ภาคผนวก
89
ภาคผนวก ก
หนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ
92
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม
1. นายบุญเหลือ พลูทอง
อดีตผู้อำนวยการสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
2. นายถวัลย์ มาศจรัส
ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 การศึกษาตลอดชีวิต กระทรวงศึกษาธิการ
3. นายสมศักดิ์ ชาติมาลา
อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอุดมรังสี กรุงเทพมหานคร
4. นางสุนทรี โง้ววัฒนะ
ศึกษานิเทศก์ ด้านห้องสมุดโรงเรียนสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
5. นางสาวพุฒิสาร อัคคะพู
ศึกษานิเทศก์ ด้านห้องสมุดโรงเรียนกระทรวงศึกษาธิการ
91
ภาคผนวก ข
รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม
93
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตอบแบบสอบถามชุดที่ 2
ลำดับที่
ชื่อ - สกุล
ตำแหน่งหน้าที่
1.
นายบุญเหลือ พลูทอง
อดีตผู้อำนวยการ
สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
2.
นายถวัลย์ มาศจรัส
ผู้เชี่ยวชาญ 9 การศึกษาตลอดชีวิต
กระทรวงศึกษาธิการ
3.
นางสุนทรี โง้ววัฒนะ
ศึกษานิเทศก์ด้านห้องสมุดโรงเรียน
สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
4.
นางสาวพุฒิสาร อัคคะพู
ศึกษานิเทศก์ด้านห้องสมุดโรงเรียน
กระทรวงศึกษาธิการ
5.
อาจารย์จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์
อาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
ม.ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
6.
นางวรยุลี พิลา
บรรณารักษ์ดีเด่น กรุงเทพมหานคร 2538
โรงเรียนหมู่บ้านเศรษฐกิจ สำนักงานเขตบางแค
7.
ดร.สมใจ เดชบำรุง
อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนบางเชือกหนัง
สำนักงานเขตตลิ่งชัน
8.
นางจงรักษ์ พุทธนิมนต์
ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนวัดประสาท
สำนักงานเขตตลิ่งชัน
9.
นางวันทนา บุณยรัตนพันธุ์
ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอุดมรังสี
สำนักงานเขตหนองแขม
10.
นางสุวรรณา พลับเจริญสุข
อาจารย์ 3 ระดับ 8
บรรณารักษ์ สังกัดกรุงเทพมหานคร
94
ภาคผนวก ค
แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ ชุดที่ 1 และชุดที่ 2
แบบสอบถามบรรณารักษ์เพื่อการวิจัย
เรื่อง
สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร
คำชี้แจง
แบบสอบถามนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาสภาพความเป็นจริง ของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปเปรียบเทียบมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ใน 3 ด้านดังกล่าว ซึ่งเป็นผลที่ได้จะทำให้ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงมาตรฐานของห้องสมุด โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 และสอดคล้องแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พุทธศักราช 2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานห้องสมุดดรงเรียนประถมศึกษาของษมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ
แบบสอบถามมีทั้งหมด 2 ตอน
ตอนที่ 1 เกี่ยวกับสถานภาพของโรงเรียน จำนวน 5 ข้อ
ตอนที่ 2 เกี่ยวกับระดับการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
ตามแนวทางที่กำหนด ในมาตรฐานขั้นต่ำของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ
ขอขอบคุณที่กรุณาให้ความร่วมมืออย่างดีในการกรอกข้อมูล
นางชุลีพร ฤทธิ์เดชา
นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ รุ่นที่ 1
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ตอนที่ 1 สถานภาพของโรงเรียน
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย �� ลงใน [ ] หน้าข้อความที่เป็นจริงสำหรับท่าน
กรณีที่เป็นช่องว่าง โปรดเติมข้อความให้สมบูรณ์
1. ชื่อโรงเรียน …………………………………………… สำนักงานเขต ………………………….
สถานที่ตั้ง ……………………………………………………………………………………….
2. จำนวนนักเรียน [ ] 1 – 400 คน [ ] 401 – 800 คน [ ] 801 คนขึ้นไป
3. จำนวนครูในโรงเรียน [ ] 1 – 10 คน [ ] 11 – 20 คน [ ] 21 – 30 คน
[ ] 31 – 40 คน [ ] 41 – 50 คน [ ] มากกว่า 50 คนขึ้นไป
4. จำนวนอาคารภายในโรงเรียน
[ ] 1 – 2 หลัง [ ] 2 – 3 หลัง [ ] 3 – 4 หลัง [ ] มากกว่า 4 หลัง
5. จำนวนคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ในโรงเรียน …………… เครื่อง และใช้กับงานใดบ้าง
(ตอบได้มากกว่า 1ข้อ)
[ ] งานห้องสมุด ……… เครื่อง [ ] งานวิชาการ / การเรียนการสอน ……… เครื่อง
[ ] งานธุรการ ……… เครื่อง [ ] งานอื่น ๆ โปรดระบุ ……………………………
6. ในโรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้แบบใดบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
[ ] แหล่งเรียนรู้ที่เป็นอุทยานการศึกษารอบบริเวณโรงเรียน เช่น สวนหิน สวนสมุนไพร เป็นต้น
[ ] แหล่งเรียนรู้ที่เป็นลักษณะของวิชาการ / งาน เช่น ห้องภาษาไทย ห้องสังคม ห้องภาษาไทย
ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ หรือศูนย์เรียนรู้ของวิชา / งานต่าง ๆ เช่น ศูนย์วิชาการ
ศูนย์ INTERNET เป็นต้น
[ ] แหล่งเรียนรู้ในห้องเรียน เช่น มุมหนังสือ ป้ายนิเทศต่าง ๆ เป็นต้น
[ ] แหล่งเรียนรู้ที่เป็นห้องสมุดกลาง มีครูบรรณารักษ์ปฏิบัติหน้าที่
ตอนที่ 2 เป็นคำถามเกี่ยวกับระดับการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ให้สอดคล้อง กับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2545 – 2549) และกรอบมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา ของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ แบ่งเป็น 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านบริหาร
- การบริหาร - การวางแผน
- งบประมาณ - บุคลากร
2. ด้านเทคนิค
- ทรัพยากรการจัดหา - วัสดุตีพิมพ์ – หนังสือ
- วัสดุตีพิมพ์ – วารสาร - วัสดุไม่ตีพิมพ์
- สื่ออิเลคทรอนิกส์
3. ด้านบริการ ประเภทบริการ และวิธีการ
- บริการพื้นฐาน - บริการตอบคำถาม
- บริการพิเศษ - บริการสื่อโสตทัศน์
- บริการ Internet - สิ่งอำนวยความสะดวก
- บรรยากาศภายในห้องสมุด - อาคารห้องสมุด
- ครุภัณฑ์ - การเข้าถึง
- ปฐมนิเทศห้องสมุด - การสอนการใช้ห้องสมุด
- การสื่อสารและความร่วมมือ - การประเมินและประเมินผลลัพธ์
โดยการให้ระดับของประสิทธิภาพแต่ละ รายการ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
ระดับมากที่สุด ให้น้ำหนักคะแนน 5
ระดับมาก ให้น้ำหนักคะแนน 4
ระดับปานกลาง ให้น้ำหนักคะแนน 3
ระดับน้อย ให้น้ำหนักคะแนน 2
ระดับน้อยที่สุด ให้น้ำหนักคะแนน 1
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย �� ในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน
ระดับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
การประเมิน
สภาพการดำเนินงาน
ข้อ
5
4
3
2
1
1
0
- 1
1. ด้านการบริหาร
1.
มีระบบบริหารงานบุคคลโดยมีการกำหนดตำแหน่งและการประเมินผล
2.
มีการฝึกอบรมให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับให้มีความรู้ ความเข้าใจสามารถปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.
มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ด้านจิตสำนึก และทักษะในการสื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย และรับฟังความคิดเห็นของผู้ใช้
- การวางแผน
4.
มีแผนยุทธศาสตร์สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของโรงเรียน
5.
มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลงานอย่างสม่ำเสมอ
6.
มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ
- งบประมาณ
7.
ห้องสมุดมีความสามารถในการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด
8.
ปริมาณงบประมาณใช้สำหรับการพัฒนาบริการห้องสมุดให้ดีขึ้น
9.
มีการกำกับ ตรวจสอบและควบคุมการใช้งบประมาณให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
- บุคลากร
10.
บุคลากรมีปริมาณสอดคล้องกับภาระงาน
11.
บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
ระดับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
การประเมิน
สภาพการดำเนินงาน
ข้อ
5
4
3
2
1
1
0
- 1
- บุคลากร
12.
บุคลากรเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในวิชีพบรรณารักษ์เป็นอย่างดี
2. ด้านเทคนิค ทรัพยากรการจัดหา
13.
จัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลาย รวมทั้ง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้บริการ สอดคล้อง
กับความต้องการของผู้ใช้
14.
ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการมีจำนวนเพียงพอกับการใช้ของผู้ใช้
15.
ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ และมีการสอบถามผู้ใช้บริการสม่ำเสมอในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
- วัสดุตีพิมพ์ - หนังสือ
16.
หนังสือทีมีให้บริการมีความเพียงพอสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
17.
เมื่อหาหนังสือบนชั้นไม่พบเจ้าหน้าที่สามารบอกให้
ทราบถึงสถานภาพของหนังสือนั้นได้อย่างรวดเร็ว
- วัสดุตีพิมพ์ - วารสาร
18.
วารสารที่จัดขึ้นชั้นมีจำนวนเพียงพอและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
19.
การจัดเรียงวารสารค้นหาได้ง่าย
- วัสดุไม่ตีพิมพ์
20.
แถบบันทึกเสียงมีจำนวนเพียงพอและเป็นปัจจุบันสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
21.
การให้บริการมีความสะดวกรวดเร็ว
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์
22.
มีสื่ออิเล็คทรอนิกส์จำนวนเพียงพอ
23.
การยืม – คืน สะดวก และ รวดเร็ว
ระดับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
การประเมิน
สภาพการดำเนินงาน
ข้อ
5
4
3
2
1
1
0
- 1
3. ด้านการบริการ ประเภทบริการ และ วิธีการ
24.
มีระบบการให้บริการที่อำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้บริการและมีบรรยากาศที่ร่มรื่นน่าเข้ามาใช้บริการ
25.
การบริการของห้องสมุดโรงเรียน เช่น บริการให้อ่าน บริการยืม – คืน บริการหนังสือจอง เป็นต้น
26.
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น จัดนิทรรศการ อภิปราย เป็นต้น
- บริการตอบคำถาม
27.
ทรัพยากรอ้างอิงมีความทันสมัยและพอเพียงในการให้บริการ
28.
มีบรรณารักษ์ให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดีเมื่อนักเรียนมีปัญหา
- บริการพิเศษ
29.
หนังสือสำรอง คือ หนังสือที่ยืมได้ 3 วันทำการ และมีความพอเพียงงงต่อความต้องการ
30.
มีการจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศพิเศษ เช่น ข้อมูลท้องถิ่น
- บริการสื่อโสตทัศน์
31.
มีความยืดหยุ่นในระเบียบการยืมด้านจำนวน และระยะเวลาในการให้ยืมสื่อ
32.
ความเพียงพอของสื่อโสตทัศน์ สอดคล้องกับความต้องการ
33.
ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของบุคลากร
- บริการ Internet
มีการให้บริการ Internet
34.
การเชื่อมต่อ Internet เข้าระบบง่ายไม่ติดขัด
35.
36.
ความเพียงพอของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อการให้บริการ
ระดับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
การประเมิน
สภาพการดำเนินงาน
ข้อ
5
4
3
2
1
1
0
- 1
- บรรยากาศภายในห้องสมุด
37.
ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้สื่อในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
38.
บรรยากาศในห้องสมุดโรงเรียนเหมาะสมแก่การอ่านหนังสือ
39.
เมื่อเข้ามาใช้บริการห้องสมุดโรงเรียนแล้วต้องการเข้ามาใช้บริการอีก
- อาคารห้องสมุด
40.
ห้องสมุดโรงเรียนบริการตั้งอยู่ในที่ไปมาสะดวกแก่ผู้ใช้บริการและเป็นศูนย์กลางของโรงเรียน
41.
จำนวนที่นั่งสำหรับนักเรียนค้นคว้าภายในห้องสมุดมีจำนวนเพียงพอ
42.
เนื้อที่สำหรับจัดเฏ้บทรัพยากรของห้องสมุดโรงเรียนมีความเหมาะสม
- ครุภัณฑ์
43.
มีครุภัณฑ์จำนวนเพียงพอและเหมาะสมกับงานห้องสมุดและการให้บริการ
44.
ชั้นวางหนังสือชั้นวางวารสาร และที่วางหนังสือพิมพ์มีความเหมาะสม สะดวกต่อการใช้งาน
45.
เคาน์เตอร์ ยืม – คืน หนังสือมีความเหมาะสมสะดวกต่อการใช้งาน
46.
ทางเข้า – ออก ห้องสมุดโรงเรียนมีความสะดวก
- การเข้าถึง
47.
มีเครื่องมือช่วยค้นคว้าสะดวกและรวดเร็ว
48.
จัดทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระเบียบสะดวดต่อการเข้าถึง
ระดับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
การประเมิน
สภาพการดำเนินงาน
ข้อ
5
4
3
2
1
1
0
- 1
- การเข้าถึง
49.
เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศในระดับโรงเรียนประถมศึกษาท้องถิ่นและสากล
- ปฐมนิเทศห้องสมุด
50.
เนื้อหาและระยะเวลาในการจัดการปฐมนิเทศมีความเหมาะสมครอบคลุมการใช้งาน
ห้องสมุดโรงเรียน
51.
คู่มือการใช้ห้องสมุดโรงเรียนอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
52.
แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ได้ชัดเจนเข้าใจง่าย และได้เห็นข้อเท็จจริง
- การสอนการใช้ห้องสมุด
53.
ห้องสมุดโรงเรียนมีวิธีดำเนินการช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยการใช้ทรัพยากรสารสนเทศผสมกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ
54.
ห้องที่ใช้ในการสอนมีความเหมาะสม อยู่ใกล้ห้องสมุดโรงเรียน
55.
อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสอนมีความพร้อม
- การสื่อสารและความร่วมมือ
56.
มีเครือข่ายห้องสมุดโรงเรียนเพื่อการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศของสากลได้
57.
มีความชัดเจนของแผนผังที่แสดงส่วนต่าง ๆ ของห้องสมุดโรงเรียน
58.
มีการจัดป้ายนิทรรศการให้บริการข่าวสารที่เป็นประโยชน์
59.
มีการประชาสัมพันธ์เรื่องกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องสมุดโรงเรียน หรือเว็บไซต์ของโรงเรียน
ระดับประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน
ผู้วิจัยขอขอบคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้สละเวลาตอบแบบสอบถามฉบับนี้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ต่อไปในอนาคต
นางชุลีพร ฤทธิ์เดชา
(ผู้วิจัย)
การประเมิน
สภาพการดำเนินงาน
ข้อ
5
4
3
2
1
1
0
- 1
- ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
60.
ห้องสมุดโรงเรียนมีความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียน เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีใหม่ๆ ร่วมกัน
61.
มีการร่วมมือกับชุมชนด้านการจัดเก็บ
62.
มีการร่วมมือกับชุมชนในด้านการบริการ
- การประเมิน และ ประเมินผลลัพธ์
63.
มีระบบการประเมินคุณภาพของห้องสมุดโรงเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานฯ
64.
มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานในห้องสมุดโรงเรียนทุกงาน
65.
มีการประเมินแผนงานและโครงการปฏิบัติงานของห้องสมุดโรงเรียน
66.
มีการศึกษาตนเองอย่างเป็นทางการของห้องสมุดโรงเรียนเพื่อค้นหาจุดอ่อนและแนวทางแก้ไขค้นหาจุดแข็งและแนวทางเสริม
67.
มีการประเมินผลงานบริการของห้องสมุดโรงเรียน หรือประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสม่ำเสมอ
105
ภาคผนวก ง
ประวัติย่อผู้วิจัย
106
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ นางชุลีพร ฤทธิ์เดชา
วัน เดือน ปีเกิด 24 ธันวาคม 2504
สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา พ.ศ. 2526
วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยาฯ
ปริญญาตรี สาขาพลศึกษา พ.ศ. 2534
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา
ตำแหน่งและสถานที่ทำงาน โรงเรียนวัดอุดมรังสี(ป.ปีติวรรณอุปถัมภ์)
สำนักงานเขตหนองแขม
กรุงเทพมหานคร
ตำแหน่ง อาจารย์ 2 ระดับ 7
สายงานการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ภาษาอังกฤษ
พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน

ชื่อ นางชุลีพร ฤทธิ์เดชาารสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (วิชาภาษาอังกฤษ)
พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน


สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษากรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 1)
สภาพการดำเนินงานของห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษากรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น