วันจันทร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2554

การศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียน (ตอนที่ 2)



บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย
การดาํ เนนิ การวจิ ยั ครงั้ น ี้ ผูว้ จิ ยั มุง่ ทีจ่ ะศกึ ษาสาเหตุและวธิ กี ารจัดการกับความขัดแยง้ ของ
ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยมีขั้นตอนดำเนินการดังต่อไปนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. ตัวแปรที่ศึกษา
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2546 จำนวน 118 โรงเรียน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2546 จำนวน 108 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ตามตาราง
กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970 : 608) ปรากฏ
ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 จำนวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ขนาดของโรงเรียน จำนวนประชากร กลุ่มตัวอย่าง
ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่
ขนาดใหญ่พิเศษ
30
40
48
28
36
44
รวม 118 108
58
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ สถานภาพของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกเป็น อายุ ประสบการณ์ในตำแหน่ง
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง วุฒิการศึกษา และขนาดของโรงเรียน
2. ตัวแปรตาม ได้แก่
2.2 สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดของ นิวแมน บรูล (Pneuman and Bruehl, 1982
อ้างถึงใน เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์, 2540 : 45-60) ซึ่งได้แบ่งสาเหตุแห่งความขัดแย้งออกเป็น 3
กลุ่ม ดังนี้
2.2.1 องค์ประกอบด้านบุคคล
2.2.2 ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน
2.2.3 สภาพขององค์การ
2.3 วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง ในโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดของ โทมัส และ คิลแมนน์
(Thomas and Kilmann, 1987 อ้างถึงในเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์, 2540 : 104-115) มีด้วยกัน 5 วิธี
ดังนี้
2.3.1 การเอาชนะ
2.3.2 การร่วมมือ
2.3.3 การประนีประนอม
2.3.4 การหลีกเลี่ยง
2.3.5 การยอมให้
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบดว้ ย อายุ ประสบการณใ์ น
ตำแหน่ง วุฒิทางการศึกษา ขนาดของโรงเรียน
ตอนที่ 2 สาเหตุของความขดั แยง้ แบบสอบถามตอนนีผ้ ูว้ ิจัยไดป้ รบั ปรงุ จากแนวคิดของนิว
แมนและบรลู (Pneuman and Bruehl, 1982 อา้ งถงึ ในเสรมิ ศกั ด ิ์ วศิ าลาภรณ, 2540 : 45 - 60) แบง่
ออกเป็น 3 ด้าน คือ องค์ประกอบด้านบุคคล ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน และสภาพขององค์การ
ลักษณะของแบบสอบถามสาเหตุของความขัดแย้งเป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale)
59
มี 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด โดยผู้วิจัยได้กำหนดเกณฑ์การให้
คะแนนและเกณฑ์การแปลความหมายดังตารางที่ 3 (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2541 : 75)
ตารางที่ 3 เกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การแปลความหมายสาเหตุของความขัดแย้ง
ระดับคะแนน ช่วงของค่า X (ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง) การแปลความหมาย
5
4
3
2
1
4.50 – 5.00
3.50 – 4.49
2.50 – 3.49
1.50 – 2.49
1.00 – 1.49
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
ตอนที่ 3 แบบสอบถามวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง
ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามของโธมัส– คิลแมนน์ (Thomas and Kilmann อ้างถึงในเสริมศักดิ์
วิศาลาภรณ์, 2540 : 104 – 115) ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Thomas – Kilmann Conflict Mode Instrument
เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดวิธีการจัดการกับความขัดแย้งโดยตรวจให้คะแนนตามแบบตรวจคำถาม
ซึ่งในการตรวจให้คะแนนนั้น พฤติกรรม ก และ ข ในแตล่ ะขอ้ นัน้ จดั เปน็ พฤตกิ รรมการจดั การกบั
ความขัดแย้งแบบใดแบบหนึ่งใน 5 แบบ คือ การเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม
การหลกี เลยี่ ง การยอมให  ในแตล่ ะแบบพฤตกิ รรมมคี ะแนนเตม็ 12 คะแนน ดังตารางท ี่ 4
ตารางที่ 4 แบบตรวจสอบให้คะแนนพฤติกรรมการจัดการกับความขัดแย้ง
การจัดการกับความขัดแย้ง ข้อที่ คะแนน
1. การเอาชนะ
2. การร่วมมือ
3. การประนีประนอม
4. การหลีกเลี่ยง
5. การยอมให้
3ก,6ข,8ก,9ข,10ก,13ข,14ข,16ข,17ก,22ข,25ก,28ก
2ข,5ก,8ข,11ก,14ก,19ก,20ก,21ข,23ก,26ข,28ข,30ข
2ก,4ก,7ข,10ข,12ข,13ก,18ข,20ข,22ก,24ข,26ก,29ก
1ก,5ข,6ก,7ก,9ก,12ก,15ข,17ข,19ข,23ข,27ก,29ข
1ข,3ข,4ข,11ข,15ก,16ก,18ก,21ก,24ก,25ข,27ข,30ก
12
12
12
12
12
ที่มา : เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ , 2540 : 110
60
การแปลความหมายของคะแนน
1. พิจารณาจากผลสรุปของการตรวจแบบสอบถามว่าวัดพฤติกรรมแต่ละแบบที่
ตอบแบบพฤติกรรมใดมากที่สุด แสดงว่ามักแสดงพฤติกรรมแบบนั้นเมื่อเผชิญกับความขัดแย้ง
ตัวอย่าง เช่น ท่านมีคะแนนสูงสุดในแบบการหลีกเลี่ยง แสดงว่า ท่านมักแสดงพฤติกรรม
การหลีกเลี่ยง เมื่อท่านเผชิญกับความขัดแย้ง
2. นำคะแนนผลการตอบสรุปในพฤติกรรมแต่ละแบบของท่านไปเปรียบเทียบกับ
เกณฑ์ของโธมัสและคิลแมนน์เสนอไว้ใน (Profile) โดยแบ่งระดับพฤติกรรมของวิธีการจัดการกับ
ความขัดแย้งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับต่ำ ระดับปานกลางและระดับสูง ดังตารางที่ 5
ตารางที่ 5 แสดงระดับพฤติกรรมของวิธีการจัดการกับความขัดแย้ง
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง ช่วงคะแนนของระดับพฤติกรรม
ระดับต่ำ ระดับปานกลาง ระดับสูง
การเอาชนะ
การร่วมมือ
การประนีประนอม
การหลีกเลี่ยง
การยอมให้
0 – 3
0 – 5
0 – 4
0 – 4
0 – 3
4 – 7
6 – 9
5 – 8
5 – 7
4 – 6
8 – 12
10 – 12
9 – 12
8 – 12
7 – 12
ที่มา : เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ , 2540 : 104 – 115
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือและนำเครื่องมือมาใช้ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี บทความ ตำราและเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุ
ของความขัดแย้งและวิธีการจัดการกับความขัดแย้ง
2. รวบรวมเนื้อหาสาระต่างๆ ที่ได้จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อร่างแบบสอบ
ถามสาเหตุของความขัดแย้ง
3. สร้างแบบสอบถามสาเหตุของความขัดแย้งโดยปรับปรุงมาจากแนวคิดของ
นิวแมนและบรูล (Pneuman and Bruehl, 1982 อ้างถึงในเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์, 2540 : 45– 60)
61
4. ผู้วิจัยได้นำเครื่องมือวัดของ Thomas and Kilmann ซึ่งมีชื่อเรียกว่า “Thomas –
Kilmann Conflict Mode Instrument” อา้ งถึงในเสรมิ ศกั ด ์ิ วศิ าลาภรณ  (2540 : 104 – 115) มาใช้ใน
การจัดการกับความขัดแย้ง
5. นำแบบสอบถามที่ร่างและเครื่องมือที่ได้เสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อ
ตรวจสอบ
6. ตรวจสอบและแก้ไขตามที่ได้รับคำชี้แจงและเสนอแนะจากอาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์
7. นำเครื่องมือที่แก้ไขปรับปรุงแล้ว นำเสนอผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา
นักวิชาการศึกษา นักวิจัยและนักประเมินผลทางการศึกษา เพื่อตรวจสอบและแก้ไขปรบั ปรงุ ใหไ้ ด้
แบบสอบถามที่มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยคุณสมบัติของผู้เชี่ยวชาญต้องมีผลงานทางวิชาการ
หรือสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป ซึ่งผู้เชี่ยวชาญประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน
5 ท่าน
8.นำแบบสอบถามที่แก้ไขปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้ (Try – Out) กับผู้ช่วยผู้บริหาร
ฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัด นครปฐม และราชบุรี
(กรมสามัญศึกษา, 2542 : เอกสารอัดสำเนา) จำนวน 30 คน ซึ่งไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การวิจัยครั้งนี้และได้ทำการทดสอบซ้ำ (Test – Retest Method) เพื่อหาค่าความเที่ยง
8.1 หาความเที่ยงของแบบสอบถามสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร โดยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (ϒ - Coefficient) ตามแบบของครอนบาค (Cronbach)
ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.90
8.2 หาความเที่ยงของแบบสอบถามวิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของ
ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
โดยวิธีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ตามวิธีของเพียร์สัน (Pearson) ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยมีขั้นตอนดำเนินการดังนี้
1. ทำหนังสือขอความอนุเคราะห์ผู้บริหารสถานศึกษา ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร
นครปฐม และราชบุรี เพื่อขอความอนุเคราะห์ให้ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง ตอบแบบสอบถาม
2. นำแบบสอบถามพร้อมหนังสือ และคำชี้แจงประกอบไปยังผู้ช่วยผู้บริหาร
ฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เกี่ยวข้องเพื่อขอความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถาม
62
โดยผู้วิจัยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ลงทะเบียนพร้อมสอดซองผนึกตราไปรษณียากรเพื่อให้
ส่งกลับมายงั ผูว้ จิ ยั ภายในระยะเวลาทกี่ าํ หนด ผูว้ จิ ยั ไดส้ ง่ แบบสอบถามวธิ กี ารจัดการกับความขดั แยง้
ถึงกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 108 ชุด ได้คืนกลับมา 108 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยทำตามลำดับขั้นตอนดังนี้
1. ข้อมูลจากแบบสอบถาม ทไี่ ดร้ บั มาผวู้ จิ ยั ดาํ เนนิ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งสมบรู ณ ์
และทำการแจกแจงนับข้อมูล พร้อมทั้งป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS/PC+ (Statistical
Package for Social Sciences/Personal Computer Plus)
2. ข้อมลู จากแบบสอบถาม วิเคราะหโ์ ดยหาคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน
และนำเสนอในรูปของตารางประกอบคำบรรยาย
3. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม หลังจากที่ได้วิเคราะห์หาค่าทางสถิติดังกล่าวแล้ว
ข้างต้น ผู้วิจัยได้ทำเปรียบเทียบและทดสอบสมมติฐานตามตัวแปรที่กำหนดไว้ดังต่อไปนี้
3.1 การเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง
จำแนกตาม อายุ ประสบการณ์ ในการดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง และ วุฒิทาง
การศึกษา โดยมีข้อมูลเปรียบเทียบระหว่าง 2 กลุ่ม วิเคราะห์โดยใช้สถิติทดสอบ t-test
3.2 การเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง
จำแนกตามขนาดของโรงเรียน ซึ่งมีข้อมูลเปรียบเทียบระหว่าง 3 กลุ่ม วิเคราะห์โดยใช้สถิติ
ทดสอบ F-test หากพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต ิ จะทำการทดสอบเป็นรายค ู่
โดยวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’)
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงาน
ปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร และเพื่อเปรียบเทียบ
วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง จำแนกตาม อายุ ประสบการณ์
ในการดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง และ วุฒิทางการศึกษา ซึ่งมีข้อมูลเปรียบเทียบ
ระหว่าง 2 กลุ่ม วิเคราะห์โดยใช้สถิติทดสอบ t-test และเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความ
ขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง จำแนกตามขนาดของโรงเรียน ซึ่งมีข้อมูลเปรียบเทียบ
ระหว่าง 3 กลุ่ม วิเคราะห์โดยใช้สถิติทดสอบ F-test หากพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ จะทำการทดสอบเป็นรายคู่ โดยวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’) โดยในการวิเคราะห์ข้อมูล
ครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กำหนดสัญลักษณ์เพื่อใช้ในการแปลความหมายข้อมูล ดังนี้
N แทน จำนวนคะแนนทั้งหมด
X แทน คะแนนเฉลี่ย
S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง
t แทน ค่าความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยที่มี 2 กลุ่ม
F แทน ค่าความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยที่มีมากกว่า 2 กลุ่ม
df แทน ชั้นของความเป็นอิสระ
SS แทน ผลบวกกำลังสองของคะแนน
MS แทน ค่าเฉลี่ยผลบวกกำลังสองของคะแนน
* แทน ความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
** แทน ความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลสำหรับการวิจัยครั้งนี้ ได้นำเสนอเป็น 4 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง
ตอนที่ 2 สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา
64
ตอนที่ 3 วิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง
ตอนที่ 4 การเปรยี บเทียบวิธีการจดั การกบั ความขัดแยง้ ตามทัศนะของผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ าร
โรงเรียน ฝ่ายปกครอง
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง
เป็นการวิเคราะห์จากผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองหรือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ซงึ่
ตอบแบบสอบถามจำแนกตาม อายุ ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง วุฒิทางการศึกษา และ
ขนาดของโรงเรียน ดังปรากฏในตารางที่ 6
ตารางที่ 6 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง
รายละเอียด จำนวน ร้อยละ
1. อายุ
ไม่เกิน 45 ปี
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
20
88
18.52
81.48
รวม 108 100.00
2. ประสบการณ์
ไม่เกิน 10 ปี
ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
89
19
82.41
17.59
รวม 108 100.00
3. วุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีและต่ำกว่าปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
51
57
47.22
52.78
รวม 108 100.00
4. ขนาดของโรงเรียน
โรงเรียนขนาดกลาง
โรงเรียนขนาดใหญ่
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
32
33
43
29.63
30.56
39.81
รวม 108 100.00
65
จากตารางที่ 6 แสดงว่าผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกตามอายุส่วนใหญ่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป จำนวน 88
คน คิดเป็นร้อยละ 81.48 ด้านประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหาร
โรงเรยี นฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งไม่เกิน 10 ป  ซึ่งมีจำนวน 89 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.41 ดา้ นวฒุ ทิ างการศกึ ษา ผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นฝา่ ยปกครองสว่ นใหญม่ วี ฒุ ทิ าง
การศกึ ษาสูงกวา่ ปริญญาตรจี าํ นวน 57 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.78 ดา้ นขนาดของโรงเรยี น ผูช้ ว่ ย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีมากกว่าผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน
ฝ่ายปกครองในโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ โดยมีจำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 39.81
ตอนที่ 2 สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา
สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัยธมศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
จำแนกเป็นรายด้านและรายข้อในแต่ละด้าน โดยหาค่าเฉลี่ยความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปรากฏ
ดังตารางที่ 7-26
ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง
ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกเป็นรายด้านและ
รวมทุกด้าน
N = 108
สาเหตุของความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ
1. องค์ประกอบด้านบุคคล 2.93 0.65 ปานกลาง
2. ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน 2.94 0.92 ปานกลาง
3. สภาพขององค์การ 2.75 0.76 ปานกลาง
รวม 2.88 0.65 ปานกลาง
จากตารางที่ 7 พบว่า สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.88) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
66
สาเหตุของความขัดแย้งอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานอยู่ใน
ระดับสูงสุด ( X = 2.94) รองลงมา คือ ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล ( X = 2.93) และด้าน
สุดท้าย คือ ด้านสภาพขององค์การ ( X = 2.75)
ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง
ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล
N = 108
สาเหตุของความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ
1. ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นในการทำงาน 3.01 1.07 ปานกลาง
2. พื้นฐานการศึกษา 2.32 0.97 น้อย
3. ค่านิยม ความเชื่อ และปรัชญาในการดำรงชีวิต 3.00 0.84 ปานกลาง
4. วิธีการทำงานที่ให้ความสำคัญกับงานของ
ตนเองมากกว่างานของคนอื่น 3.17 0.99 ปานกลาง
5. ประสบการณ์ชีวิตและประสบการณ์ในการทำงาน 3.18 0.98 ปานกลาง
รวม 2.93 0.65 ปานกลาง
จากตารางที่ 8 พบว่า สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.93)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลอยู่ในระดับ
ปานกลางทุกข้อ ยกเว้นเพียงข้อที่เกี่ยวกับพื้นฐานการศึกษาเป็นสาเหตุของความขัดแย้งใน
ระดับน้อย ( X = 2.32) ส่วนข้ออื่นๆ เป็นสาเหตุของความขัดแย้งที่อยู่ในระดับปานกลาง โดย
สาเหตุจากประสบการณ์ชีวิตและประสบการณ์ในการทำงาน อยู่ในระดับสูงสุด ( X = 3.18)
รองลงมา คือ วิธีการทำงานที่ให้ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างานของคนอื่น
( X =3.17)
67
ตารางที่ 9 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง
ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านการปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงาน
N = 108
สาเหตุของความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ
1. การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน 3.03 1.07 ปานกลาง
2. การแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู 3.17 1.25 ปานกลาง
3. การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร 2.71 1.15 ปานกลาง
4. การสื่อสารบกพร่อง และล่าช้า 2.98 1.00 ปานกลาง
5. การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง 2.84 1.04 ปานกลาง
รวม 2.94 0.92 ปานกลาง
จากตารางที่ 9 พบว่า สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร ด้านการปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.94)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สาเหตุของความขัดแย้งด้านการปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน
อยู่ในระดับปานกลางทุกข้อ โดยสาเหตุจากการแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู อยู่ในระดับ
สูงสุด ( X = 3.17) รองลงมาคือ การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน ( X = 3.03)
และการสื่อสารบกพร่อง และล่าช้า ( X = 2.98)
68
ตารางที่ 10 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านสภาพขององค์การ
N = 108
สาเหตุของความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ
1. หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ 2.97 1.11 ปานกลาง
2. ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหาร
และเป้าหมายการทำงาน 2.88 1.07 ปานกลาง
3. กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป 2.62 0.88 ปานกลาง
4. การทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม 2.63 0.83 ปานกลาง
5. การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะ
บุคคลหรือกลุ่ม 2.69 1.08 ปานกลาง
รวม 2.75 0.76 ปานกลาง
จากตารางที่ 10 พบว่า สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยม
ศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านสภาพขององค์การ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.75)
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สาเหตุของความขัดแย้งด้านสภาพขององค์การ อยู่ในระดับ
ปานกลางทุกข้อ โดยสาเหตุเกี่ยวกับหน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ อยู่ในระดับสูงสุด
( X = 2.97) รองลงมาคือ ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมายของการทำงาน
( X = 2.88) และการให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.69)
69
ตารางที่ 11 ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกตามอายุ
จำแนกตามอายุ
ไม่เกิน 45 ปี
N = 20
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
สาเหตุของความขัดแย้ง N = 88
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. องค์ประกอบด้านบุคคล 3.01 0.56 ปานกลาง 2.91 0.67 ปานกลาง
2. ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน 3.14 0.71 ปานกลาง 2.90 0.96 ปานกลาง
3. สภาพขององค์การ 2.88 1.74 ปานกลาง 2.73 0.76 ปานกลาง
รวม 3.01 0.56 ปานกลาง 2.85 0.67 ปานกลาง
จากตารางที่ 11 พบวา่ ภาพรวมสาเหตุของความขดั แยง้ ตามทศั นะของผูช้ ว่ ยผูบ้ ริหาร
ฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี และอายุตั้งแต่ 45 ปี ขึ้นไปอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.01) และ
( X = 2.85)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของ
ความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ( X = 3.14) ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล ( X = 3.01)
ด้านสภาพขององค์การ ( X = 2.88) อยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุ
ของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคล (X = 2.91) ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน (X = 2.90)
ด้านสภาพองค์การ ( X = 2.73) อยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ
70
ตารางที่ 12 คา่ เฉลยี่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแยง้ ของงานปกครองในโรงเรียน
มัธยมศึกษา ด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหาร
โรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
จำแนกตามอายุ
จำแนกตามอายุ
ไม่เกิน 45 ปี
N = 20
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
N = 88
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
องค์ประกอบด้านบุคคลความ
ขัดแย้งเกิดจาก
1. ลักษณะนิสัยที่ขาดการ
ยืดหยุ่นในการทำงาน 2.95 0.94 ปานกลาง 3.02 1.10 ปานกลาง
2. พื้นฐานการศึกษา 2.30 1.08 น้อย 2.33 0.96 น้อย
3. ค่านิยมความเชื่อและ
ปรัชญาในการดำรงชีวิต 3.05 0.94 ปานกลาง 2.99 0.82 ปานกลาง
4. วิธีการทำงานที่ให้
ความสำคัญกับงานของ
ตนเองมากกว่างานของ
คนอื่น 3.45 0.76 ปานกลาง 3.10 1.03 ปานกลาง
5. ประสบการณ์ชีวิตและ
ประสบการณ์ในการทำงาน 3.30 0.66 ปานกลาง 3.15 1.05 ปานกลาง
รวม 3.01 0.56 ปานกลาง 2.91 0.67 ปานกลาง
จากตารางที่ 12 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้าน
บุคคลตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี และอายุตั้งแต่ 45 ปี ขึ้นไป
อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.01) และ ( X = 2.91)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของ
ความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า วิธีการทำงานที่ให้ความสำคัญกับงาน
ของตนเองมากกว่างานของคนอื่น ( X = 3.45) ประสบการณ์ชีวิตและประสบการณใ์ นการทาํ งาน
71
(X = 3.30) คา่ นยิ ม ความเชอื่ และปรัชญาในการดำรงชวี ติ (X = 3.05) ลักษณะนิสัยที่ขาด
การยืดหยุ่นในการทำงาน ( X = 2.95) อยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ ส่วนพื้นฐานการศึกษา
( X = 2.30) อยู่ในระดับน้อย
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุ
ของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า ประสบการณ์ชีวิตและ
ประสบการณใ์ นการทำงาน (X = 3.15) วิธีการทำงานที่ใหค้ วามสำคัญกับงานของตนเองมากกวา่ งาน
ของคนอื่น ( X = 3.10) ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นในการทำงาน ( X = 3.02) ค่านิยม
ความเชื่อ และปรัชญาในการดำรงชีวิต ( X = 2.99) อยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ ส่วน
พื้นฐานการศึกษา ( X = 2.33) อยู่ในระดับน้อย
ตารางที่ 13 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ ตามทัศนะของ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร จำแนกตามอายุ
จำแนกตามอายุ
ไม่เกิน 45 ปี
N = 20
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้น
N = 88
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ความขัดแย้ง
เกิดจาก
1. การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
ในการทำงาน 3.10 0.91 ปานกลาง 3.01 1.11 ปานกลาง
2. การแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู 3.25 0.97 ปานกลาง 3.15 1.31 ปานกลาง
3. การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร 3.15 1.14 ปานกลาง 2.61 1.14 ปานกลาง
4. การสื่อสารบกพรอ่ งและลา่ ชา้ 3.25 0.97 ปานกลาง 2.92 1.01 ปานกลาง
5. การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง 2.95 0.94 ปานกลาง 2.82 1.07 ปานกลาง
รวม 3.14 0.71 ปานกลาง 2.90 0.96 ปานกลาง
72
จากตารางที่ 13 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงานตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี และอายุตั้งแต่ 45 ปี
ขึ้นไป อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.14) และ ( X = 2.90)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของ
ความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ พบว่า การแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู
( X = 3.25) การสื่อสารบกพร่อง และล่าช้า ( X = 3.25) การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร
(X = 3.15) การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน ( X = 3.10) และการให้ข้อมูล
ไม่ถูกต้อง ( X = 2.95) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุ
ของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ พบว่า การแบ่งกันเป็นหมู่พวกใน
กลุ่มครู ( X = 3.15) การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน ( X = 3.01) การสื่อสาร
บกพร่องและล่าช้า ( X = 2.92) การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ( X = 2.82) และการใช้วิธีเผด็จการ
ในการบริหาร ( X = 2.61) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ตารางที่ 14 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ด้านสภาพขององค์การเป็นรายข้อ ตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร จำแนกตามอายุ
จำแนกตามอายุ
ไม่เกิน 45 ปี
N = 20
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
N = 88
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านสภาพขององค์การ
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
สภาพขององค์การ
1. ความขัดแย้งเกิดจากหน่วยงานมี
ทรัพยากรไม่เพียงพอ 3.30 0.92 ปานกลาง 2.90 1.15 ปานกลาง
2. ความไม่ชัดเจนของโครงสร้าง
การบริหารและเป้าหมายการทำงาน 3.00 0.97 ปานกลาง 2.85 1.10 ปานกลาง
3. กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป 2.75 0.91 ปานกลาง 2.59 0.88 ปานกลาง
73
ตารางที่ 14 (ต่อ)
จำแนกตามอายุ
ไม่เกิน 45 ปี
N = 20
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
N = 88
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านสภาพขององค์การ
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
4. การทำงานที่ต้องแข่งขัน
ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม 2.55 0.83 ปานกลาง 2.65 0.83 ปานกลาง
5. การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษ
ต่างๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม 2.80 1.06 ปานกลาง 2.67 1.09 ปานกลาง
รวม 2.88 0.74 ปานกลาง 2.73 0.76 ปานกลาง
จากตารางที่ 14 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้านสภาพขององค์การ
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี และอายุตั้งแต่ 45 ปี ขึ้นไป
อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.88 ) และ ( X = 2.73 )
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ป  มที ศั นะเกยี่ วกบั สาเหตขุ อง
ความขัดแย้ง ด้านสภาพขององค์การเป็นรายข้อ พบว่า หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ
( X = 3.30) ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมายการทำงาน (X = 3.00)
การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม (X = 2.80) กฎระเบียบที่เข้มงวด
เกนิ ไป (X = 2.75) การทาํ งานทีต่ อ้ งแขง่ ขนั ระหวา่ งบคุ คลหรอื กลุม่ ( X = 2.55) อยใู่ นระดบั
ปานกลาง ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุ
ของความขัดแย้งด้านสภาพองค์การเป็นรายข้อ พบว่า หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ (X = 2.90)
ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมายการทำงาน ( X = 2.85) การให้ข้อยกเว้น
หรือให้สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม (X = 2.67) กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป (X = 2.55)
การทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.65) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
74
ตารางที่ 15 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มธั ยมศกึ ษา สังกดั กรมสามญั ศึกษา กรงุ เทพมหานคร จำแนกตามประสบการณ์
จำแนกตามประสบการณ์
ไม่เกิน 10 ปี
N = 89
ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
N = 19
สาเหตุของความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. องค์ประกอบด้านบุคคล 2.97 0.63 ปานกลาง 2.72 0.71 ปานกลาง
2. ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน 3.03 0.90 ปานกลาง 2.52 0.89 ปานกลาง
3. สภาพขององค์การ 2.80 0.76 ปานกลาง 2.56 0.72 ปานกลาง
รวม 2.93 0.64 ปานกลาง 2.60 0.67 ปานกลาง
จากตารางที่ 15 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการทำงานไม่เกิน 10 ปี และมีประสบการณ์ใน
การทำงานตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.93) และ ( X = 2.60)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการทำงานไม่เกิน 10 ปี
มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน (X = 3.03) ด้าน
องค์ประกอบด้านบุคคล ( X = 2.97) ดา้ นสภาพขององคก์ าร ( X = 2.80) อยใู่ นระดับปานกลาง
ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการทำงานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคล (X = 2.72) ด้านสภาพองค์การ
( X = 2.56) ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ( X = 2.52) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
75
ตารางที่ 16 ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ด้านองคป์ ระกอบดา้ นบคุ คลเปน็ รายขอ้ ตามทัศนะของผชู้ ว่ ย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร จำแนกตามประสบการณ์
จำแนกตามประสบการณ์
ไม่เกิน 10 ปี
N = 89
ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
N = 19
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
องค์ประกอบด้านบุคคล
ความขัดแย้งเกิดจาก
1. ลักษณะนิสัยที่ขาดการ
ยืดหยุ่นในการทำงาน 3.11 1.09 ปานกลาง 2.53 0.84 ปานกลาง
2. พื้นฐานการศึกษา 2.34 0.96 น้อย 2.26 1.05 น้อย
3. ค่านิยมความเชื่อและ
ปรัชญาในการดำรงชีวิต 3.04 0.88 ปานกลาง 2.79 0.63 ปานกลาง
4. วิธีการทำงานที่ให้
ความสำคัญกับงาน
ของตนเองมากกว่างาน
ของคนอื่น 3.24 0.95 ปานกลาง 2.84 1.12 ปานกลาง
5. ประสบการณ์ชีวิตและ
ประสบการณ์ในการทำงาน 3.17 0.93 ปานกลาง 3.21 1.23 ปานกลาง
รวม 2.97 0.63 ปานกลาง 2.72 0.71 ปานกลาง
จากตารางที่ 16 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบ
ด้านบุคคลตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการทำงานไม่เกิน 10 ปี
และมีประสบการณ์ในการทำงานตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.97) และ
( X = 2.72)
76
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ไม่เกิน 10 ปี มีทัศนะเกี่ยวกับ
สาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า วิธีการทำงานที่ให้
ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างานของคนอื่น ( X = 3.24) ประสบการณ์ชีวิตและ
ประสบการณ์ในการทำงาน ( X = 3.17) ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นในการทำงาน ( X = 3.11)
คา่ นยิ ม ความเชอื่ และปรัชญาในการดำรงชวี ติ (X = 3.04) อยใู่ นระดบั ปานกลางตามลำดับ
ส่วนพื้นฐานการศึกษา ( X = 2.34) อยู่ในระดับน้อย
ผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ ารโรงเรียนฝา่ ยปกครองทีม่ ปี ระสบการณต์ ั้งแต่ 10 ปขี นึ้ ไป มที ศั นะเกยี่ วกบั
สาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า ประสบการณ์ชีวิตและ
ประสบการณใ์ นการทำงาน (X = 3.21) วิธีการทาํ งานที่ใหค้ วามสาํ คัญกบั งานของตนเองมากกวา่
งานของคนอื่น ( X = 2.84) ค่านิยม ความเชื่อ และปรัชญาในการดำรงชีวิต ( X = 2.79) ลักษณะ
นิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นในการทำงาน ( X = 2.53) อยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ ส่วนพื้นฐาน
การศึกษา ( X = 2.26) อยู่ในระดับน้อย
77
ตารางที่ 17 คา่ เฉลยี่ คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานของสาเหตขุ องความขดั แยง้ ของงานปกครองในโรงเรยี น
มัธยมศึกษา ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหาร
โรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
จำแนกตามประสบการณ์
จำแนกตามประสบการณ์
ไม่เกิน 10 ปี
N = 89
ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
N = 19
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ความขัดแย้ง
เกิดจาก
1. การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันใน
การทำงาน 3.16 1.08 ปานกลาง 2.42 0.84 น้อย
2. การแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู 3.28 1.22 ปานกลาง 2.63 1.30 ปานกลาง
3. การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร 2.81 1.14 ปานกลาง 2.26 1.15 น้อย
4. การสื่อสารบกพร่องและล่าช้า 3.04 1.01 ปานกลาง 2.68 0.95 ปานกลาง
5. การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง 2.89 1.03 ปานกลาง 2.63 1.12 ปานกลาง
รวม 3.03 0.90 ปานกลาง 2.52 0.89 ปานกลาง
จากตารางที่ 17 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้ง ด้านปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงานตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการทำงานไม่เกิน 10 ปี
และมีประสบการณ์ในการทำงานตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.03) และ
( X = 2.52)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ไม่เกิน 10 ปี มีทัศนะเกี่ยวกับ
สาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อพบว่าการแบ่งกันเป็นหมู่พวกใน
กลุ่มครู ( X = 3.28) การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน ( X = 3.16) การสื่อสาร
บกพร่องและล่าช้า ( X = 3.04) การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ( X = 2.89) และการใช้วิธีเผด็จการ
ในการบริหาร ( X = 2.81) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
78
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป มีทัศนะเกี่ยวกับ
สาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธใ์ นการทำงานเปน็ รายขอ้ พบวา่ การสื่อสารบกพรอ่ งและลา่ ชา้
( X = 2.68) การแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู ( X = 2.63) การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ( X = 2.63)
อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ส่วนการขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน ( X = 2.42) และ
การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร ( X = 2.26) อยู่ในระดับน้อย ตามลำดับ
ตารางที่ 18 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ด้านสภาพขององค์การเป็นรายข้อ ตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร จำแนกตามประสบการณ์
จำแนกตามประสบการณ์
ไม่เกิน 10 ปี
N = 89
ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
N = 19
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านสภาพขององค์การ
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
สภาพขององค์การความขัดแย้งเกิดจาก
1. หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ 2.96 1.12 ปานกลาง 3.05 1.13 ปานกลาง
2. ความไม่ชัดเจนของโครงสร้าง
การบริหารและเป้าหมายการทำงาน
2.91 1.10 ปานกลาง 2.74 0.93 ปานกลาง
3. กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป 2.69 0.89 ปานกลาง 2.32 0.82 น้อย
4. การทำงานที่ต้องแข่งขัน ระหว่าง
บุคคลหรือกลุ่ม 2.70 0.82 ปานกลาง 2.32 0.82 น้อย
5. การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษ
ต่างๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม 2.75 1.08 ปานกลาง 2.42 1.07 น้อย
รวม 2.80 0.76 ปานกลาง 2.56 0.72 น้อย
จากตารางที่ 18 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้ง ด้าน สภาพขององค์การ
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการทำงานไม่เกิน 10 ปี และมี
79
ประสบการณ์ในการทำงานตั้งแต  10 ป ี ขึ้นไป อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.80) และ
( X = 2.56)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ไม่เกิน 10 ปี มีทัศนะเกี่ยวกับ
สาเหตุของความขัดแย้ง ด้านสภาพขององค์การเป็นรายข้อ พบว่า หนว่ ยงานมที รพั ยากรไม่
เพียงพอ ( X = 2.96) ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมายการทำงาน
( X = 2.91) การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่าง ๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.75)
การทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.70) และกฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป
( X = 2.69) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ ารโรงเรียนฝา่ ยปกครองทีม่ ปี ระสบการณต์ ั้งแต่ 10 ปขี นึ้ ไป มที ศั นะเกยี่ วกบั
สาเหตุของความขัดแย้งด้านสภาพองค์การเป็นรายข้อ พบว่า หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ
( X = 3.05) ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมายการทำงาน ( X = 2.74)
อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ส่วนการให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่าง ๆ เฉพาะบุคคลหรือ
กลุ่ม ( X = 2.42) กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป ( X = 2.32) และการทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่าง
บุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.32) อยู่ในระดับน้อย ตามลำดับ
ตารางที่ 19 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มธั ยมศกึ ษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีหรือต่ำกว่าปริญญาตรี
N = 51
สูงกว่าปริญญาตรี
สาเหตุของความขัดแย้ง N = 57
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. องค์ประกอบด้านบุคคล 2.82 0.67 ปานกลาง 3.03 0.62 ปานกลาง
2. ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน 2.73 0.91 ปานกลาง 3.13 0.89 ปานกลาง
3. สภาพขององค์การ 2.72 0.67 ปานกลาง 2.78 0.83 ปานกลาง
รวม 2.76 0.63 ปานกลาง 2.98 0.66 ปานกลาง
80
จากตารางที่ 19 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือต่ำกว่าปริญญาตรี และสูงกว่าปริญญาตร ี
อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.76) และ ( X = 2.98)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือตา่ํ กว่ามีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคล (X = 2.82) ด้านปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงาน ( X = 2.73) ด้านสภาพขององค์การ ( X = 2.72) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ( X = 3.13) ด้านองค์ประกอบด้าน
บุคคล ( X = 3.03) ด้านสภาพองค์การ ( X = 2.78) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ตารางที่ 20 ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ ตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีหรือต่ำกว่า
ปริญญาตรี
N = 51
สูงกว่าปริญญาตรี
N = 57
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
องค์ประกอบด้านบุคคลความขัดแย้ง
เกิดจาก
1. ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นใน
การทำงาน 2.88 0.99 ปานกลาง 3.12 1.13 ปานกลาง
2. พื้นฐานการศึกษา 2.29 1.14 น้อย 2.35 0.81 น้อย
3. ค่านิยมความเชื่อและปรัชญาใน
การดำรงชีวิต 2.90 0.88 ปานกลาง 3.09 0.81 ปานกลาง
81
ตารางที่ 20 (ตอ่ )
จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีหรือต่ำกว่า
ปริญญาตรี
N = 51
สูงกว่าปริญญาตรี
N = 57
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
4. วิธีการทำงานที่ให้ความสำคัญกับงาน
ของตนเองมากกว่างานของคนอื่น 3.00 1.00 ปานกลาง 3.32 0.97 ปานกลาง
5. ประสบการณ์ชีวิตและประสบการณ์
ในการทำงาน 3.04 1.08 ปานกลาง 3.30 0.89 ปานกลาง
รวม 2.82 0.67 ปานกลาง 3.03 0.62 ปานกลาง
จากตารางที่ 20 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้าน
บุคคลตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือต่ำกว่า และ
สูงกว่าปริญญาตรี อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.82) และ ( X = 3.03)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือต่ำกว่า
ปริญญาตรี มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า
ประสบการณ์ชีวิตและประสบการณ์ในการทาํ งาน (X = 3.04) คา่ นยิ ม ความเชอื่ และปรัชญาใน
การดาํ รงชวี ติ ( X = 2.90) ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นในการทำงาน ( X = 2.88) วธิ กี ารทาํ งาน
ที่ให้ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างานของคนอื่น (X = 3.00) อยู่ในระดับปานกลาง
ตามลำดับ ส่วนพื้นฐานการศึกษา ( X = 2.29) อยู่ในระดับน้อย
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า วิธีการทำงานที่ให้
ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างานของคนอื่น ( X = 3.32) ประสบการณ์ชีวิตและ
ประสบการณใ์ นการทำงาน (X = 3.30) ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุน่ ในการทำงาน (X = 3.12)
ค่านิยม ความเชื่อ และปรัชญาในการดำรงชีวิต ( X = 3.09) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
82
ตารางที่ 21 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ ตามทัศนะของ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีหรือต่ำกว่าปริญญาตรี
N = 51
สูงกว่าปริญญาตรี
N = 57
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
องค์ประกอบด้านบุคคล
ความขัดแย้งเกิดจาก
1. การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อ
กันในการทำงาน 2.80 1.06 ปานกลาง 3.23 1.05 ปานกลาง
2. การแบ่งกันเป็นหมู่พวกใน
กลุ่มครู 2.84 1.30 ปานกลาง 3.46 1.13 ปานกลาง
3. การใช้วิธีเผด็จการใน
การบริหาร 2.55 1.14 ปานกลาง 2.86 1.16 ปานกลาง
4. การสื่อสารบกพร่องและ
ล่าช้า 2.80 1.06 ปานกลาง 3.14 0.93 ปานกลาง
5. การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง 2.69 1.03 ปานกลาง 2.98 1.04 ปานกลาง
รวม 3.03 0.90 ปานกลาง 2.52 0.89 ปานกลาง
จากตารางที่ 21 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้าน ปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงานตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือต่ำกว่า
และสูงกว่าปริญญาตรี อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.03) และ ( X = 2.52)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือต่ำกว่า
ปริญญาตรี มีทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทาํ งานเป็นรายข้อ
พบวา่ การแบง่ กนั เปน็ หมูพ่ วกในกลุม่ ครู ( X = 2.84) การขาดสัมพนั ธภาพทีด่ ตี อ่ กันในการทำงาน
(X = 2.80) การสื่อสารบกพรอ่ งและลา่ ชา้ (X = 2.80) การใหข้ อ้ มลู ไมถ่ กู ตอ้ ง ( X = 2.69) การใช้
วิธีเผด็จการในการบริหาร ( X = 2.55) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
83
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ พบว่า การแบ่งกันเป็น
หมพู่ วกในกลมุ่ คร ู ( X = 3.46) การขาดสัมพนั ธภาพทีด่ ตี อ่ กันในการทำงาน ( X = 3.23) การสื่อสาร
บกพร่องและล่าช้า (X = 3.14) การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง (X = 2.98) การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร
( X = 2.86) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ตารางที่ 22 คา่ เฉลยี่ คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานของสาเหตขุ องความขดั แยง้ ของงานปกครองในโรงเรยี น
มธั ยมศกึ ษา ดา้ นสภาพขององคก์ ารเปน็ รายขอ้ ตามทศั นะของผู้ช่วยผูบ้ ริหารโรงเรยี น
ฝา่ ยปกครองโรงเรยี นมธั ยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จาํ แนก
ตามวุฒิทางการศึกษา
จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีหรือต่ำกว่าปริญญาตรี
N = 51
สูงกว่าปริญญาตรี
N = 57
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านสภาพขององค์การ
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
สภาพขององค์การความขัดแย้ง
เกิดจาก
1. หน่วยงานมีทรัพยากร
ไม่เพียงพอ 3.10 1.04 ปานกลาง 2.86 1.17 ปานกลาง
2. ความไม่ชัดเจนของ
โครงสร้างการบริหาร
และเป้าหมายการทำงาน 2.88 1.01 ปานกลาง 2.88 1.13 ปานกลาง
3. กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป 2.47 0.73 น้อย 2.75 0.99 ปานกลาง
4. การทำงานที่ต้องแข่งขัน
ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม 2.59 0.83 ปานกลาง 2.67 0.83 ปานกลาง
5. การให้ข้อยกเว้นหรือให้
สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะ
บุคคลหรือกลุ่ม 2.59 1.06 ปานกลาง 2.79 1.10 ปานกลาง
รวม 2.72 0.67 ปานกลาง 2.78 0.83 ปานกลาง
84
จากตารางที่ 22 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้าน สภาพขององค์การ
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือต่ำกว่า และสูงกว่า
ปริญญาตรี อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.72) และ ( X = 2.78)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีหรือต่ำกว่าปริญญาตรี มี
ทัศนะเกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านสภาพขององค์การเป็นรายข้อ พบว่า หน่วยงาน
มีทรัพยากรไม่เพียงพอ (X = 3.10) ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมาย
การทำงาน (X = 2.88) การทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.59) การให้
ขอ้ ยกเวน้ หรือใหส้ ิทธพิ เิ ศษตา่ งๆ เฉพาะบคุ คลหรอื กลุม่ (X = 2.59) อยูใ่ นระดับปานกลาง
ตามลำดับ และกฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป ( X = 2.47) อยู่ในระดับน้อย ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านสภาพองค์การเป็นรายข้อ พบว่า ความไม่ชัดเจนของโครงสร้าง
การบริหารและเป้าหมายการทำงาน ( X = 2.88) หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ ( X = 2.86)
การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่าง ๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.79) กฎระเบียบที่เข้มงวด
เกินไป ( X = 2.75) การทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.67) อยู่ในระดับ
ปานกลาง ตามลำดับ
ตารางที่ 23 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียน
มธั ยมศกึ ษา สังกดั กรมสามญั ศึกษา กรงุ เทพมหานคร จำแนกตามขนาดของโรงเรียน
จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ขนาดกลาง
N = 32
ขนาดใหญ่
N = 33
ขนาดใหญ่พิเศษ
สาเหตุของความขัดแย้ง N = 43
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. องค์ประกอบ
ด้านบุคคล 2.93 0.71 ปานกลาง 2.99 0.61 ปานกลาง 2.89 0.65 ปานกลาง
2. ปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงาน 2.91 0.97 ปานกลาง 2.78 0.93 ปานกลาง 3.08 0.87 ปานกลาง
3. สภาพขององค์การ 2.88 0.77 ปานกลาง 2.80 0.65 ปานกลาง 2.63 0.82 ปานกลาง
รวม 2.91 0.71 ปานกลาง 2.86 0.60 ปานกลาง 2.87 0.66 ปานกลาง
85
จากตารางที่ 23 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน อยู่ในระดับปานกลาง
( X = 2.91) และ ( X = 2.87)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดกลาง มีทัศนะ
เกยี่ วกบั สาเหตขุ องความขดั แยง้ ดา้ นองคป์ ระกอบดา้ นบุคคล (X = 2.93) ดา้ นปฏสิ มั พันธใ์ น
การทาํ งาน ( X = 2.91) ดา้ นสภาพขององคก์ าร ( X = 2.88) อยูใ่ นระดับปานกลาง ตามลาํ ดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคล ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล
( X = 2.99) ด้านสภาพองค์การ ( X = 2.80) ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ( X = 2.78) อยู่ใน
ระดับปานกลาง ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้ง ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ( X = 3.08) ด้านองค์ประกอบ
ด้านบุคคล ( X = 2.89) ด้านสภาพองค์การ ( X = 2.63) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ตารางที่ 24 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง
ในโรงเรยี นมธั ยมศึกษา ดา้ นองคป์ ระกอบดา้ นบคุ คลเปน็ รายขอ้ ตามทัศนะของผูช้ ว่ ย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร จำแนกขนาดของโรงเรียน
จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ขนาดกลาง
N = 32
ขนาดใหญ่
N = 33
ขนาดใหญ่พิเศษ
N = 43
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านองค์ประกอบด้าน
บุคคล
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
องค์ประกอบด้านบุคคล
ความขัดแย้งเกิดจาก
1. ลักษณะนิสัยที่
ขาดการยืดหยุ่นใน
การทำงาน 2.91 0.93 ปานกลาง 3.09 1.10 ปานกลาง 3.02 1.16 ปานกลาง
2. พื้นฐานการศึกษา 2.38 1.18 น้อย 2.24 0.90 น้อย 2.35 0.87 น้อย
3. ค่านิยมความเชื่อและ
ปรัชญาในการ
ดำรงชีวิต 3.00 0.84 ปานกลาง 3.03 0.92 ปานกลาง 2.98 0.80 ปานกลาง
86
ตารางที่ 24 (ต่อ)
จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ขนาดกลาง
N = 32
ขนาดใหญ่
N = 33
ขนาดใหญ่พิเศษ
N = 43
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านองค์ประกอบด้าน
บุคคล
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
4. วิธีการทำงานที่ให้
ความสำคัญกับงาน
ของตนเองมากกว่า
งานของคนอื่น 3.28 0.92 ปานกลาง 3.09 1.04 ปานกลาง 3.14 1.01 ปานกลาง
5. ประสบการณ์ชีวิต
และประสบการณ์ใน
การทำงาน 3.09 0.96 ปานกลาง 3.52 0.91 มาก 2.98 1.01 ปานกลาง
รวม 2.93 0.71 ปานกลาง 2.99 0.61 ปานกลาง 2.89 0.65 ปานกลาง
จากตารางที่ 24 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคล
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันอยู่
ในระดับปานกลาง ( X = 2.93) และ ( X = 2.89)
ผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นฝา่ ยปกครองที่ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในโรงเรียนขนาดกลาง มที ศั นะเกี่ยวกับ
สาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า วิธีการทำงานที่ให้
ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างานของคนอื่น ( X = 3.28) ประสบการณ์ชีวิตและประสบ
การณ์ในการทำงาน ( X = 3.09) ค่านิยม ความเชื่อ และปรัชญาในการดำรงชีวิต ( X = 3.00)
ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นในการทำงาน ( X = 2.91) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ และ
พื้นฐานการศึกษา ( X = 2.38) อยู่ในระดับน้อย
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่ มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า ประสบการณ์ชีวิต
และประสบการณ์ในการทำงาน (X = 3.52) อยู่ในระดับมาก ลกั ษณะนสิ ยั ทขี่ าดการยดื หยนุ่ ใน
การทำงาน (X = 3.09) วิธีการทำงานที่ให้ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างานของคนอื่น
( X = 3.09) ค่านิยม ความเชื่อ และปรัชญาในการดำรงชีวิต ( X = 3.03) อยู่ในระดับปานกลาง ตาม
ลาํ ดบั และพนื้ ฐานการศกึ ษา ( X = 2.24) อยใู่ นระดบั นอ้ ย
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลเป็นรายข้อ พบว่า วิธีการทำงานที่ให้
87
ความสำคัญกับงานตนเองมากกว่างานของคนอื่น ( X = 3.14) ลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นใน
การทาํ งาน ( X = 3.02) คา่ นยิ ม ความเชอื่ และปรัชญาในการดำรงชวี ติ ( X = 2.98) ประสบการณ์
ชีวิตและประสบการณใ์ นการทำงาน ( X = 2.98) อยูใ่ นระดับปานกลาง ตามลาํ ดับ สว่ นพนื้ ฐาน
การศึกษา ( X = 2.35) อยู่ในระดับน้อย
ตารางที่ 25 คา่ เฉลยี่ คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานของสาเหตขุ องความขดั แยง้ ของงานปกครองในโรงเรยี น
มัธยมศึกษา ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหาร
โรงเรียนฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
จำแนกตามขนาดของโรงเรียน
จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ขนาดกลาง
N = 32
ขนาดใหญ่
N = 33
ขนาดใหญ่พิเศษ
N = 43
สาเหตุของความขัดแย้ง
ด้านปฏิสัมพันธ์ในการ
ทำงาน
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
ปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงาน
1. การขาดสมั พนั ธภาพ
ที่ดีต่อกันใน
การทำงาน 3.16 0.99 ปานกลาง 2.76 1.03 ปานกลาง 3.14 1.15 ปานกลาง
2. การแบ่งกันเป็น
หมู่พวกในกลุ่มครู 3.19 1.28 ปานกลาง 2.94 1.34 ปานกลาง 3.33 1.15 ปานกลาง
3. การใช้วิธีเผด็จการ
ในการบริหาร 2.78 1.16 ปานกลาง 2.45 1.09 น้อย 2.86 1.19 ปานกลาง
4. การสื่อสารบกพร่อง
และล่าช้า 2.75 1.08 ปานกลาง 3.06 1.06 ปานกลาง 3.09 0.89 ปานกลาง
5. การให้ข้อมูลไม่
ถูกต้อง 2.72 1.28 ปานกลาง 2.73 0.88 ปานกลาง 3.02 0.96 ปานกลาง
รวม 2.91 0.97 ปานกลาง 2.78 0.93 ปานกลาง 3.08 0.87 ปานกลาง
จากตารางที่ 25 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้ง ด้านปฏิสัมพันธ์ใน
การทำงานตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนที่มีขนาด
ต่างกันอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.91) และ ( X = 3.08)
88
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดกลาง มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ พบว่า การแบ่งกันเป็น
หมู่พวกในกลุ่มครู ( X = 3.19) การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน ( X = 3.16)
การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร ( X = 2.78) การสื่อสารบกพร่องและล่าช้า ( X = 2.75) การให้
ข้อมูลไม่ถูกต้อง ( X = 2.72) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่ มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ พบว่า การสื่อสารบกพร่อง
และล่าช้า (X = 3.06) การแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู (X = 2.94) การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันใน
การทำงาน (X = 2.76) การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ( X = 2.73) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ และ
การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร ( X = 2.45) อยู่ในระดับน้อย
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงานเป็นรายข้อ พบว่า การแบ่งกันเป็น
หมพู่ วกในกลมุ่ คร ู (X = 3.33) การขาดสัมพนั ธภาพทีด่ ตี อ่ กันในการทำงาน (X = 3.14) การสื่อสาร
บกพรอ่ งและล่าช้า ( X = 3.09) การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ( X = 3.02) การใช้วิธีเผด็จการใน
การบริหาร ( X = 2.86) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
89
ตารางที่ 26 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองใน
โรงเรียนมัธยมศกึ ษา ดา้ นสภาพขององคก์ ารเปน็ รายขอ้ ตามทศั นะของผชู้ ว่ ยผบู้ รหิ าร
โรงเรียน ฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาด
ของโรงเรียน
จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ขนาดกลาง
N = 32
ขนาดใหญ่
N = 33
ขนาดใหญ่พิเศษ
N = 43
สาเหตุของความขัดแย้ง
สภาพขององค์การ
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
สภาพขององค์การ
ความขัดแย้งเกิดจาก
1. หน่วยงานมี
ทรัพยากรไม่เพียงพอ 3.28 0.96 ปานกลาง 3.15 0.97 ปานกลาง 2.60 1.24 ปานกลาง
2. ความไม่ชัดเจนของ
โครงสร้างการบริหาร
และเป้าหมาย
การทำงาน 3.06 1.08 ปานกลาง 2.88 0.99 ปานกลาง 2.74 1.14 ปานกลาง
3. กฎระเบียบที่เข้มงวด
เกินไป 2.56 0.80 ปานกลาง 2.70 0.85 ปานกลาง 2.60 0.98 ปานกลาง
4. การทำงานที่ต้อง
แขง่ ขันระหวา่ งบุคคล
หรือกลุ่ม 2.69 0.86 ปานกลาง 2.61 0.83 ปานกลาง 2.60 0.82 ปานกลาง
5. การให้ข้อยกเว้น
หรือให้สิทธิพิเศษ
ตา่ งๆ เฉพาะบุคคล
หรือกลุ่ม 2.84 1.14 ปานกลาง 2.67 1.05 ปานกลาง 2.60 1.07 ปานกลาง
รวม 2.88 0.77 ปานกลาง 2.80 0.65 ปานกลาง 2.63 0.82 ปานกลาง
จากตารางที่ 26 พบว่า ภาพรวมของสาเหตุของความขัดแย้ง ด้านสภาพขององค์การ
ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันอยู่
ในระดับปานกลาง ( X = 2.88) และ ( X = 2.63)
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดกลาง มีทัศนะเกี่ยวกับ
สาเหตุของความขัดแย้งด้านสภาพขององค์การเป็นรายข้อ พบว่า หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ
(X = 3.28) ความไมช่ ัดเจนของโครงสรา้ งการบริหารและเปา้ หมายการทำงาน (X = 3.06) การให้
90
ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่าง ๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.84) การทำงานที่ต้องแข่งขัน
ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.69) และกฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป ( X = 2.56) อยู่ในระดับ
ปานกลาง ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่ มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตขุ องความขดั แยง้ ดา้ นสภาพขององคก์ ารเปน็ รายขอ้ พบวา่ หนว่ ยงานมีทรพั ยากร
ไม่เพียงพอ ( X = 3.15) ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมายการทำงาน
( X = 2.88) กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป ( X = 2.70) การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะ
บุคคลหรือกลุ่ม ( X = 2.67) และการทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม
( X = 2.61) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีทัศนะ
เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งด้านสภาพขององค์การเป็นรายข้อ พบว่า ความไม่ชัดเจนของ
โครงสรา้ งการบริหารและเป้าหมายการทำงาน (X = 2.74) หนว่ ยงานมีทรพั ยากรไมเ่ พียงพอ
( X = 2.60) กฎระเบยี บที่เข้มงวดเกินไป ( X = 2.60) การทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือ
กลุ่ม ( X = 2.60) และการให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่าง ๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม (X = 2.60)
อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ตอนที่ 3 วิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน
วิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายปกครองโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยรวมทุกด้านและเป็นรายด้าน
โดยหาคา่ เฉลีย่ คา่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปรากฏดังตารางที่ 27–31
91
ตารางที่ 27 คา่ เฉลยี่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของวิธีการจดั การกบั ความขัดแยง้ ตามทศั นะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียน ฝา่ ยปกครองโรงเรยี นมธั ยมศึกษา กรงุ เทพมหานคร จาํ แนก
เป็นรายด้านและรวมทุกด้าน
N = 108
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ
1. การเอาชนะ 1.99 1.87 ต่ำ
2. การร่วมมือ 7.21 1.68 ปานกลาง
3. การประนีประนอม 7.42 1.84 ปานกลาง
4. การหลีกเลี่ยง 7.35 1.59 ปานกลาง
5. การยอมให้ 5.86 1.85 ปานกลาง
จากตารางที่ 27 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองเลือกวิธีการจัดการกับความขัดแย้ง
อยู่ในระดับปานกลาง ทุกวิธี ยกเว้นเพียงวิธีการเอาชนะ ซึ่งถูกเลือกให้เป็นวิธีการจัดการกับ
ความขัดแย้งที่อยู่ในระดับต่ำ ( X = 1.99) สำหรับวิธีการที่ถูกเลือกให้เป็นวิธีการจัดการกับ
ความขัดแย้งในระดับปานกลางเรียงลำดับได้คือ วิธีการประนีประนอม ( X = 7.42) วิธีการ
หลีกเลี่ยง ( X = 7.35) วิธีการร่วมมือ ( X = 7.21) วิธีการยอมให้ ( X = 5.86) ตามลำดับ
92
ตารางที่ 28 คา่ เฉลยี่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของวิธีการจดั การกบั ความขัดแยง้ ตามทศั นะของผู้ช่วย
ผูบ้ ริหารโรงเรยี น ฝา่ ยปกครองโรงเรยี นมธั ยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จาํ แนกตามอายุ
จำแนกตามอายุ
ไม่เกิน 45 ปี
N = 20
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
N = 88
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. การเอาชนะ 2.40 2.62 ต่ำ1.89 1.66 ต่ำ
2. การร่วมมือ 7.05 2.06 ปานกลาง 7.25 1.59 ปานกลาง
3. การประนีประนอม 7.20 1.73 ปานกลาง 7.47 1.87 ปานกลาง
4. การหลีกเลี่ยง 7.10 1.20 ปานกลาง 7.40 1.67 ปานกลาง
5. การยอมให้ 6.10 1.77 ปานกลาง 5.80 1.88 ปานกลาง
จากตารางที่ 28 พบว่า ภาพรวมของวิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี และอายุตั้งแต่ 45 ปี ขึ้นไปอยู่ในระดับ
ปานกลาง( X = 2.88 ) และ ( X = 2.63)
ผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ ารโรงเรียนฝา่ ยปกครองทีม่ อี ายไุ มเ่ กนิ 45 ป  มที ศั นะเกี่ยวกับวิธีการจัดการกับ
ความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม ( X = 7.20) การหลีกเลี่ยง ( X = 7.10) การร่วมมือ
( X = 7.05) การยอมให้ ( X = 6.10) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ และการเอาชนะ
( X = 2.40) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป มีทัศนะเกี่ยวกับวิธีการจัด
การกับความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม ( X = 7.47) การหลีกเลี่ยง ( X = 7.40) การร่วมมือ
( X = 7.25) การยอมให้ ( X = 5.80) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ และการเอาชนะ ( X =
1.89) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี และอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป มี
ความเห็นสอดคล้องกันในการใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม
การหลีกเลี่ยง การร่วมมือ การยอมให้ อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ และใช้วิธีการเอาชนะอยู่ใน
ระดับต่ำ
93
ตารางที่ 29 คา่ เฉลยี่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของวิธีการจดั การกบั ความขัดแยง้ ตามทศั นะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียน ฝา่ ยปกครองโรงเรยี นมธั ยมศึกษา กรงุ เทพมหานคร จาํ แนก
ตามประสบการณ์
จำแนกตามประสบการณ์
ไม่เกิน 10 ปี
N = 89
ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
N = 19
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. การเอาชนะ 2.12 1.89 ต่ำ1.36 1.67 ต่ำ
2. การร่วมมือ 7.33 1.66 ปานกลาง 6.63 1.67 ปานกลาง
3. การประนีประนอม 7.49 1.93 ปานกลาง 7.10 1.32 ปานกลาง
4. การหลีกเลี่ยง 7.31 1.59 ปานกลาง 7.52 1.64 ปานกลาง
5. การยอมให้ 5.67 1.91 ปานกลาง 6.73 1.28 ปานกลาง
จากตารางที่ 29 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ไม่เกิน 10 ปี
มีทัศนะเกี่ยวกับวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม ( X = 7.49) การร่วมมือ
( X = 7.33) การหลีกเลี่ยง ( X = 7.31) และการยอมให้ ( X = 5.67) อยู่ในระดับปานกลาง
ตามลำดับ ส่วนการเอาชนะ (X = 2.12) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป มีทัศนะ
เกี่ยวกับวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการหลีกเลี่ยง ( X = 7.52) การประนีประนอม
( X = 7.10) การยอมให  (X = 6.73) การรว่ มมอื (X = 6.63) อยูใ่ นระดับปานกลาง ตามลำดับ
สว่ นการเอาชนะ ( X = 1.36) อยใู่ นระดบั ตาํ่
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ไม่เกิน 10 ปี และประสบการณ์
ตงั้ แต  10 ปีขึ้นไป มีความเห็นสอดคล้องกันในการใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการ
ร่วมมือ การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง และการยอมให้ อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ส่วนวิธีการเอาชนะอยู่ในระดับต่ำ
94
ตารางที่ 30 คา่ เฉลยี่ คา่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐานของวิธีการจดั การกบั ความขัดแยง้ ตามทศั นะของ
ผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น ฝา่ ยปกครองโรงเรยี นมธั ยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จาํ แนก
ตามวุฒิทางการศึกษา
จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีหรือต่ำกว่าปริญญาตรี
N = 51
สูงกว่าปริญญาตรี
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง N = 57
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. การเอาชนะ 2.00 2.10 ต่ำ1.98 1.65 ต่ำ
2. การร่วมมือ 7.07 1.61 ปานกลาง 7.33 1.74 ปานกลาง
3. การประนีประนอม 7.17 1.82 ปานกลาง 7.64 1.84 ปานกลาง
4. การหลีกเลี่ยง 7.05 1.66 ปานกลาง 7.61 1.49 ปานกลาง
5. การยอมให้ 6.43 1.61 ปานกลาง 5.35 1.92 ปานกลาง
จากตารางที่ 30 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาตรีและต่ำกว่าปริญญาตรี มีทัศนะเกี่ยวกับวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการ
ประนีประนอม ( X = 7.17) การร่วมมือ ( X = 7.07) การหลีกเลี่ยง ( X = 7.05) และการยอมให้
( X = 6.43) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ส่วนการเอาชนะ ( X = 2.00) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีทัศนะ
เกี่ยวกับวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม ( X = 7.64) การหลีกเลี่ยง
( X = 7.61) การร่วมมือ ( X = 7.33) การยอมให้ ( X = 5.35) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ส่วน
การเอาชนะ ( X = 1.98) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีและต่ำกว่าปริญญาตรี
และวุฒิทางการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีความเห็นสอดคล้องกันในการใช้วิธีการจัดการกับ
ความขัดแย้งด้วยวิธีการร่วมมือ การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง และการยอมให้ อยู่ในระดับ
ปานกลาง ตามลำดับ ส่วนวิธีการเอาชนะอยู่ในระดับต่ำ
95
ตารางที่ 31 คา่ เฉลยี่ คา่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐานของวิธีการจดั การกบั ความขัดแยง้ ตามทศั นะของ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนก
ตามขนาดของโรงเรียน
จำแนกตามขนาดของโรงเรียน
ขนาดกลาง
N = 32
ขนาดใหญ่
N = 33
ขนาดใหญ่พิเศษ
N = 43
วิธีการจัดการกับ
ความขัดแย้ง
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
1. การเอาชนะ 2.18 2.34 ต่ำ1.87 1.40 ต่ำ1.93 1.81 ต่ำ
2. การร่วมมือ 7.31 1.55 ปานกลาง 7.18 1.81 ปานกลาง 7.16 1.70 ปานกลาง
3. การประนีประนอม 7.09 1.76 ปานกลาง 7.69 1.92 ปานกลาง 7.46 1.84 ปานกลาง
4. การหลีกเลี่ยง 7.65 1.26 ปานกลาง 7.24 1.82 ปานกลาง 7.20 1.64 ปานกลาง
5. การยอมให้ 5.59 1.81 ปานกลาง 5.87 1.70 ปานกลาง 6.04 2.01 ปานกลาง
จากตารางที่ 31 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในโรงเรียนขนาดกลาง มีทัศนะ
เกี่ยวกับวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการหลีกเลี่ยง ( X = 7.65) การร่วมมือ ( X = 7.31)
การประนีประนอม ( X = 7.09) การยอมให้ ( X = 5.59) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ
ส่วนการเอาชนะ ( X = 2.18) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในโรงเรียนขนาดใหญ่ มีทัศนะเกี่ยวกับวิธีการจัด
การกับความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม ( X = 7.69) การหลีกเลี่ยง (X = 7.24)
การร่วมมือ (X = 7.18) การยอมให้ (X = 5.87) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ส่วนการเอาชนะ
(X = 1.87) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีทัศนะเกี่ยวกับวิธี
การจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม ( X = 7.46) การหลีกเลี่ยง ( X = 7.20)
การร่วมมือ ( X = 7.16) การยอมให้ ( X = 6.04) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ส่วนการ
เอาชนะ ( X = 1.93) อยู่ในระดับต่ำ
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในโรงเรียนขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่
พิเศษ มีความเห็นสอดคล้องกันในการใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการร่วมมือ
การประนีประนอม การหลกี เลยี่ ง และการยอมให  อยใู่ นระดบั ปานกลาง ตามลาํ ดับ สว่ นวธิ กี าร
เอาชนะอยใู่ นระดบั ตาํ่
96
ตอนที่ 4 การเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วย
ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง
การเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝา่ ยปกครอง
โรงเรียนมัธยมศกึ ษา สังกดั กรมสามญั ศึกษา กรงุ เทพมหานคร ทีม่ อี ายุ ประสบการณใ์ นตำแหน่ง
ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง วุฒิทางการศึกษาต่างกัน โดยหาค่า t-test และขนาดของ
โรงเรียนต่างกัน โดยหาค่า F-test ปรากฏผลตามตารางที่ 32–39
ตารางที่ 32 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกตามอายุ
จำแนกตามอายุ
ไม่เกิน 45 ปี
N = 20
ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง N = 88
X S.D. X S.D.
t p
1. การเอาชนะ 2.40 2.62 1.89 1.66 0.82 0.42
2. การร่วมมือ 7.05 2.06 7.25 1.59 -0.47 0.63
3. การประนีประนอม 7.20 1.73 7.47 1.87 -0.60 0.54
4. การหลีกเลี่ยง 7.10 1.20 7.40 1.67 -0.95 0.34
5. การยอมให้ 6.10 1.77 5.80 1.88 0.63 0.52
จากตารางที่ 27 พบว่า วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน
ฝ่ายปกครองที่มีอายุไม่เกิน 45 ปี และตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป วิธีการเอาชนะ วิธีการร่วมมือ วิธีการ
ประนปี ระนอม วธิ กี ารหลกี เลยี่ ง และวธิ กี ารยอมให  ไมแ่ ตกตา่ งกนั
97
ตารางที่ 33 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกตาม
ประสบการณ์
จำแนกตามประสบการณ์
ไม่เกิน 10 ปี
N = 89
ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง N = 19
X S.D. X S.D.
t p
1. การเอาชนะ 2.12 1.89 1.36 1.67 1.68 0.11
2. การร่วมมือ 7.33 1.66 6.63 1.67 1.67 0.09
3. การประนีประนอม 7.49 1.93 7.10 1.32 0.83 0.40
4. การหลีกเลี่ยง 7.31 1.59 7.52 1.64 -0.52 0.60
5. การยอมให้ 5.67 1.91 6.73 1.28 -2.31* 0.02
* p < 0.05 จากตารางที่ 33 พบว่า วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ไม่เกิน 10 ปี และประสบการณ์ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป วิธีการเอาชนะ วิธี การรว่ มมอื วิธีการประนีประนอม และวธิ กี ารหลกี เลี่ยง ไมแ่ ตกตา่ งกนั ยกเวน้ วธิ ีการยอมให  ผู้ ช่วย ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ต่างกันใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วย วิธีการยอมให้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 98 ตารางที่ 34 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิ ทางการศึกษา จำแนกตามวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรีหรือต่ำ กว่าปริญญาตรี N = 51 สูงกว่าปริญญาตรี N = 57 วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง X S.D. X S.D. t p 1. การเอาชนะ 2.00 2.10 1.98 1.65 0.04 0.96 2. การร่วมมือ 7.07 1.61 7.33 1.74 -0.78 0.43 3. การประนีประนอม 7.17 1.82 7.64 1.84 -1.33 0.18 4. การหลีกเลี่ยง 7.05 1.66 7.61 1.49 -1.82 0.07 5. การยอมให้ 6.43 1.61 5.35 1.92 3.14* 0.002 * p < 0.05 จากตารางที่ 34 พบว่า วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาปริญญาตรีและตา่ํ กว่าปริญญาตร ี และวุฒิทางการศึกษาสูงกวา่ ปริญญาตรี วิธีการเอาชนะ วิธีการร่วมมือ วิธีการประนีประนอม และวิธีการหลีกเลี่ยง ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น วิธีการยอมให้ ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษา ต่างกันใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการยอมให้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 99 ตารางที่ 35 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ที่ปฏิบัติหน้าที่ใน โรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันโดยวิธีการเอาชนะ แหล่งความแปรปรวน df Sum of Squares Mean Squares F P ระหว่างกลุ่ม 2 1.81 0.90 0.25 0.77 ภายในกลุ่ม 105 373.18 3.55 รวม 107 374.99 จากตารางที่ 35 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียน ที่มีขนาดแตกต่างกัน ใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งโดยวิธีการเอาชนะไม่แตกต่างกัน ตารางที่ 36 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ที่ปฏิบัติหน้าที่ใน โรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน โดยวิธีการร่วมมือ แหล่งความแปรปรวน df Sum of Squares Mean Squares F P ระหว่างกลุ่ม 2 0.45 0.22 0.08 0.92 ภายในกลุ่ม 105 01.64 2.87 รวม 107 302.10 จากตารางที่ 36 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียน ที่มีขนาดแตกต่างกัน ใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งโดยวิธีการร่วมมือไม่แตกต่างกัน 100 ตารางที่ 37 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ที่ปฏิบัติหน้าที่ใน โรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน โดยวิธีการประนีประนอม แหล่งความแปรปรวน df Sum of Squares Mean Squares F P ระหว่างกลุ่ม 2 6.02 3.01 0.88 0.41 ภายในกลุ่ม 105 358.38 3.41 รวม 107 364.40 จากตารางที่ 37 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียน ที่มีขนาดต่างกัน ใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งโดยวิธีการประนีประนอมไม่แตกต่างกัน ตารางที่ 38 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ที่ปฏิบัติหน้าที่ใน โรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกัน โดยวิธีการหลีกเลี่ยง แหล่งความแปรปรวน df Sum of Squares Mean Squares F P ระหว่างกลุ่ม 2 4.23 2.11 0.82 0.44 ภายในกลุ่ม 105 268.39 2.55 รวม 107 272.63 จากตารางที่ 38 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียน ที่มีขนาดต่างกัน ใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งโดยวิธีการหลีกเลี่ยงไม่แตกต่างกัน 101 ตารางที่ 39 เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ที่ปฏิบัติหน้าที่ใน โรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันโดยวิธีการยอมให้ แหล่งความแปรปรวน df Sum of Squares Mean Squares F P ระหว่างกลุ่ม 2 3.77 1.88 0.54 0.58 ภายในกลุ่ม 105 365.14 3.47 รวม 107 368.91 จากตารางที่ 39 พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียน ที่มีขนาดต่างกัน ใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งโดยวิธีการยอมให้ไม่แตกต่างกัน บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่องการศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครองใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยจะกล่าวถึงวัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและ ข้อเสนอแนะในการวิจัยดังนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสาเหตุความขัดแย้ง และวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหาร โรงเรียนฝ่ายปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่าย ปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตาม อายุ ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง วุฒิการศึกษา และขนาดของ โรงเรียน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการวิจัย ได้แก่ ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยม ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ สถานภาพของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำแนกเป็น อายุ ประสบการณ์ใน ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง วุฒิการศึกษา และขนาดของโรงเรียน 103 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 สาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด กรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดของ นิวแมน บรูล (Pneuman and Bruehl, 1982 อ้างถึงใน เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์, 2540 : 45-60) ซึ่งได้แบ่งสาเหตุแห่งความขัดแย้งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 2.2.1.1 องค์ประกอบด้านบุคคล 2.2.1.2 ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน 2.2.1.3 สภาพขององค์การ 2.2.2 วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดของ โทมัส และ คิลแมนน์ (Thomas and Kilmann, 1987 อ้างถึงในเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์, 2540 : 104-115) มีด้วยกัน 5 วิธี ดังนี้ 2.2.2.1 การเอาชนะ 2.2.2.2 การร่วมมือ 2.2.2.3 การประนีประนอม 2.2.2.4 การหลีกเลี่ยง 2.2.2.5 การยอมให้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่าย ปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ตอนที่ 2 แบบสอบถามสาเหตขุ องความขัดแยง้ แบบสอบถามตอนนีผ้ ูว้ ิจัยไดป้ รบั ปรงุ จาก แนวคดิ ของนวิ แมนและบรลู (Pneuman and Bruehl, 1982 อา้ งถงึ ในเสรมิ ศกั ด ิ์ วศิ าลาภรณ, 2540 : 45 - 60) แบง่ ออกเป็น 3 ดา้ น คอื องคป์ ระกอบดา้ นบุคคล ปฏสิ มั พันธใ์ นการทำงาน และสภาพของ องค์การ ลักษณะของแบบสอบถามสาเหตุของความขัดแย้งเป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ จำนวน 15 ข้อ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามไปปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาและ ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบให้คำแนะนำและนำมาปรับปรุง และนำแบบสอบถามไปทดลอง ใช้กับผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง จังหวัดราชบุรี และจังหวัดนครปฐม จำนวน 30 คน 104 แล้วนำแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าความเที่ยง (Reliability) โดยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟา (ϒ- Coefficient) ตามแบบของครอนบรัค (Cronbach) ไดค้ า่ ความเทยี่ งเทา่ กบั 0.90 ตอนที่ 3 แบบสอบถามวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผชู้ ว่ ยผบู้ รหิ ารฝา่ ยปกครอง ผูว้ จิ ยั ใชแ้ บบสอบถามของโธมสั – คลิ แมนน  (Thomas and Kilmann อา้ งถงึ ในเสรมิ ศกั ด ์ิ วศิ าลาภรณ, 2540 : 104 – 115) ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Thomas – Kilmann Conflict Mode Instrument เป็นเครื่องมือที่ ใช้วัดวิธีการจัดการกับความขัดแย้งโดยตรวจให้คะแนนตามแบบตรวจคำถาม ซึ่งในการตรวจให้ คะแนนนั้น พฤติกรรม ก และ ข ในแต่ละข้อนั้น จัดเป็นพฤติกรรมการจัดการกับความขัดแย้งแบบใด แบบหนึง่ ใน 5 แบบ คอื การเอาชนะ การรว่ มมอื การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง การยอมให  ในแตล่ ะแบบพฤตกิ รรมมคี ะแนนเตม็ 12 คะแนน ซึ่งประกอบด้วยข้อคำถาม 30 ข้อ แต่ละข้อจะ มีข้อย่อยชนิดตัวเลือก 2 ตัว คือ “ก” และ “ข” ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามไปปรึกษากับอาจารย์ที่ ปรกึ ษาและผเู้ ชยี่ วชาญ 5 ทา่ น เพื่อตรวจสอบใหค้ าํ แนะนาํ และนาํ มาปรบั ปรงุ และนาํ แบบสอบ ถามไปทดลองใชก้ บั ผชู้ ว่ ยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง จังหวัดราชบุรี และจังหวัดนครปฐม จำนวน 30 คน แล้วนำแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าความเที่ยง (Reliability) โดยวิธี สัมประสิทธิ์สหสัมพนั ธต์ ามวธิ ขี องเพยี รส์ ัน (Pearson) ไดค้ า่ ความเทยี่ งเทา่ กบั 0.97 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ผู้วิจัยได้ทำหนังสือถึงผู้บริหารโรงเรียน สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร เพื่อขอความอนุเคราะห์ให้ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองตอบแบบสอบถาม 2. ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามจำนวน 108 ชุด ถึงผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง และใช้เวลาในการรวบรวมเป็นเวลา 4 สัปดาห์ ได้รับแบบสอบถามกลับคืน 108 ชุด คิดเป็น ร้อยละ 100 จากนั้นผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามมาตรวจสอบความสมบูรณ์และนำไปวิเคราะห์ ตามขั้นตอนทางสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ (Statistical Package for Social Sciences/Personal Computer Plus) ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามโดยคำนวณหาค่าร้อยละ วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยง เบนมาตรฐานของแบบสอบถามเปน็ รายขอ้ และเปน็ รายดา้ น และเปรยี บเทยี บวธิ กี ารจดั การกบั ความ ขดั แยง้ ของผชู้ ว่ ยผบู้ รหิ ารโรงเรยี นฝา่ ยปกครองทจี่ าํ แนกตามอาย ุ ประสบการณใ์ นการดาํ รงตำแหนง่ 105 วุฒิทางการศึกษา วิเคราะห์โดยใช้สถิติทดสอบ t-test และจำแนกตามขนาดของ โรงเรียน วิเคราะห์โดยใช้สถิติทดสอบ F-test สรุปผลการวิจัย 1. สาเหตุของความขัดแย้ง ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล ด้าน ปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน และด้านสภาพขององค์การ อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองเลือกวิธีการจัดการกับความขัดแย้งอยู่ในระดับปานกลาง คือ วิธีการประนีประนอม วิธีการหลีกเลี่ยง วิธีการร่วมมือ วิธีการยอมให้ ส่วนวิธีการเอาชนะ ถูกเลือกใช้ในระดับต่ำ หรือลำดับสุดท้าย 3. เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า 3.1 ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีอายุต่างกัน มีวิธีการจัดการกับความ ขัดแย้งด้วยวิธีการเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง และการยอมให้ ไม่แตกต่างกัน 3.2 ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีวิธีการจัดการ กับความขัดแย้งด้วยวิธีการเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม และการหลีกเลี่ยง ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นการยอมให้ ใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.3 ผูช้ ว่ ยผูบ้ รหิ ารโรงเรียนฝา่ ยปกครองทีม่ วี ฒุ ทิ างการศึกษาตา่ งกนั มวี ธิ กี ารจดั การกบั ความขัดแย้งด้วยวิธีการเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง ไม่แตกต่างกัน ยก เว้นการยอมให้ ใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.4 ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีวิธีการจัด การกับความขัดแย้งด้วยวิธีการเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง และ การยอมให้ ไม่แตกต่างกัน อภิปรายผลการวิจัย จากผลการศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร มีประเด็นที่นำมาอภิปราย ดังนี้ 1. ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร มีทัศนะต่อสาเหตุของความขัดแย้ง ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล ด้านปฏิสัมพันธ์ 106 ในการทำงาน และดา้ นสภาพขององคก์ าร อยใู่ นระดบั ปานกลาง โดยผลการวิจัยที่พบนีส้ อดคลอ้ ง กบั ผลงานวจิ ยั ของชลดิ า ดว้ งแกว้ (2542 : บทคัดยอ่ ) ผูว้ จิ ยั มีความเหน็ วา่ การทีผ่ ลวจิ ยั เปน็ เชน่ นี้ เนื่อง จากผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในปัจจุบันได้รับการพัฒนาส่งเสริมประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ยุคปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบันเรื่องการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา (กรมสามัญศึกษา, 2546 : 5-15) โดยใหผ้ บู้ รหิ ารทกุ ระดบั เขา้ รบั การอบรมสมั มนาและศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ โดยเฉพาะในสาขาการบริหารการศึกษา ทาํ ให้มคี วามร้ ู ความเข้าใจในทฤษฎ ี และหลกั การทาง การบริหารการศึกษา การจัดการศึกษา การบริหารงานและเข้าใจถึงปัญหาความขัดแย้งในองค์การว่า เป็นเรื่องปกติที่ต้องมีเกิดขึ้นในองค์การ นอกจากนี้ผลการวจิ ัยดังกล่าวยังมีความสอดคล้องกับ แนวคิดของ เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2540 : 22) ที่ได้กล่าวโดยสรุปไว้ว่า ความขัดแย้งที่มีในระดับ เหมาะสมจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคลและองค์การ ป้องกันไม่ให้องค์การหยุดอยู่กับที่หรือ เฉื่อยชา ขึ้นอยู่กับวิธีการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารที่จะประสานความแตกต่างมาเป็น ประโยชน์ต่อองค์การ ทำให้เกิดความคิดริเริ่มใหม่ เมื่อพิจารณาสาเหตุของความขัดแย้งเป็นรายด้าน พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่าย ปกครอง มีทัศนะต่อสาเหตุของความขัดแย้งด้านองค์ประกอบด้านบุคคลอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะ ประเด็นที่เกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิตและประสบการณ์ในการทำงานเป็นสาเหตุของความขัดแย้ง ที่พบมากที่สุด รองลงมาคือวิธีการทำงานที่ให้ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างานของ คนอื่น ทั้งนี้เพระผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ไม่ได้มีอำนาจสิทธิขาดในการบริหารงาน ในโรงเรียน การบริหารงานต้องใช้ทั้งศาสตร์ และศิลปะ จะเอาแต่ใจตนเองไม่ได้ หากมี ประสบการณ์ด้านการบริหารงานและประสบการณ์ชีวิตน้อย มุ่งแต่หลักการโดยขาดศิลปะใน การบริหาร ย่อมนำไปสู่การขัดแย้งในการบริหารงานได้มาก สาเหตุของความขัดแย้งรองลงมาพบว่า ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน เป็นสาเหตุ ของความขดั แยง้ อันดบั รอง ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั พนสั หันนาคินทร  (2526 : 234-235) ไดก้ ลา่ วไวถ้ งึ สาเหตุสำคัญของความขัดแย้ง 5 ประการ โดยผลการวิจัยที่พบในครั้งนี้ยังสอดคล้องกับ ผลการวจิ ยั ของสรุ างค์ โลห่ ส์ มั ฤทธิช์ ยั (2536 : บทคดั ยอ่ ) นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับคำกล่าวของ เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2540 : 8) และคำกล่าวของจุไร ลียากาศ (2526 : 201) อีกด้วยเช่นกัน ส่วนสาเหตุของความขัดแย้งที่อยู่ในระดับน้อย พบว่า ด้านสภาพขององค์การ เป็น สาเหตุของความขัดแย้งอยู่ในระดับน้อย ทั้งนี้เพราะโรงเรียนมัธยมศึกษาของกรมสามัญศึกษาใน ปัจจุบันเกือบทุกแห่งมีลักษณะที่ไม่แตกต่างกันในด้านอาคารสถานที่ ซึ่งจะมีปริมาณพอเพียงกับ จำนวนนักเรียนและบุคลากร จะไม่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่และความก้าวหน้าของบุคลากร มากนกั เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั องคป์ ระกอบดา้ นอนื่ ๆ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากรัฐบาลใหค้ วามสาํ คัญกบั การจดั การ 107 ศึกษาเพื่อดำเนินการให้สอดคล้องและเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ กำหนดมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการ ศึกษาอย่างเพียงพอ กรมสามัญศึกษา (2546 : 5-15) และประเด็นที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้ง ด้านสภาพขององค์การที่พบมากที่สุด คือหน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ รองลงมาคือ ความไม่ ชัดเจนของโครงสรา้ งการบรหิ ารและเปา้ หมายขององคก์ าร ทัง้ นีอ้ าจจะมีสาเหตุมาจากปจั จัย 2 สว่ น คือ ประเด็นที่ 1 ด้านงบประมาณแผ่นดินที่จัดสรรให้กับโรงเรียนได้รับไม่เพียงพอกับรายจ่ายตาม สภาพปัจจุบัน รวมถึงงบประมาณที่จัดให้มีความล่าช้าในการเบิกจ่ายไม่สอดคล้องกับภาระงาน ที่ต้องปฏิบัติ ประเด็นที่ 2 ในการระดมทรัพยากรสนับสนุนทำได้ไม่เต็มที่ด้วยติดขัดเงื่อนไข ตามกฎหมายหลายประการ รวมถึงแหล่งทุนแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันด้านเศรษฐกิจ รายได้ประชา กร ซึ่งนิวแมน วาร์เรน และแมคกิล (New Man , Warren and Mc Gill 1987 : 344 – 346) ได้ระบุถึง สาเหตุของความขดั แยง้ ในองคก์ ารไว้ 4 ประการ อนั ไดแ้ ก  การแขง่ ขนั เพอื่ ใหไ้ ดท้ รพั ยากรทมี่ อี ยู่ อย่างจำกัด โครงสร้างขององค์การรวมถึงการบริหาร ความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรื่อง ค่านิยม เป้าหมาย และความคลุมเครือในบทบาท และอำนาจหน้าที่ของบุคคลตำแหน่งต่างๆ ในองคก์ าร โดยมคี วามสอดคลอ้ งกับคำกล่าวของเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2540 : 8) ที่ว่า ความขัดแย้งมักจะเกิดขึ้น เมื่อทรัพยากรทางการศึกษามีไม่เพียงพอกับความต้องการของบุคคลหรือ กลุม่ ในสถานศกึ ษา หรอื องคก์ ารที่เกี่ยวขอ้ งกับสถานศกึ ษา ทรพั ยากรในทีน่ ี้ อาจเปน็ สงิ่ ทเี่ หน็ ได ้ และ สิง่ ทีเ่ ห็นไมไ่ ด  เชน่ คน เงนิ วสั ด ุ ตาํ แหนง่ สถานภาพ หรือเกียรติยศ นอกจากนี้ วอลตัน และ แมคเกอร์ซี (Walton and Mckersie 1965 : 288) ยังได้ระบุถึงสาเหตุของความขัดแย้ง ในองค์การว่า เกิดจากโครงสร้างที่มีลักษณะ 4 ประการ ที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความขัดแย้งในสายงานและระดับการบังคับบัญชา ความขัดแย้งในหน้าท ี่ ความขัดแยง้ ระหวา่ งสาย การบงั คับบญั ชากับสายอำนวยการ และความขดั แยง้ ระหวา่ งองคก์ ารรูปนยั กบั อรปู นยั และแคทซ  และ คาน (Katz and Kahn 1978 : 650) ยังกล่าวถึงสาเหตุของความขัดแย้งในองค์การว่า ลักษณะ ขององค์การ ที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้งขึ้นอยู่กับขนาดโครงสร้างและการบังคับบัญชา ซึ่งสอดคล้องกับข้อเท็จจริงในสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องมีผลกระทบต่อผู้ช่วยผู้บริหาร โรงเรียนทุกฝ่ายโดยตรง เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่กำหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มี แนวโน้มในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารงานของโรงเรียนใหม่ในหมวด 3 ว่าด้วย การกำหนดตำแหน่ง วิทยฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ ซึ่งไม่มีความชัดเจน และ มีแนวโน้มจะให้ยกเลิกตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหารสถานศึกษา ทำให้ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนทุกฝ่าย เกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับอนาคตในตำแหน่งทางการบริหาร ขาดขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน 108 2. ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร เลือกวิธีการจัดการกับความขัดแย้ง เรียงตามลำดับคือ วิธีการประนีประนอม วิธีการหลีกเลี่ยง วิธีการร่วมมือ และ วิธีการยอมให้ ทั้งนี้น่าจะขึ้นอยู่กับเหตุผลการเข้าสู่ตำแหน่ง ของผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง มาจากการคัดเลือกและการสอบแข่งขัน ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์สูง มีคุณวุฒิและวัยวุฒิอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับตำแหน่งทาง การบริหาร รวมถึงปัจจุบันผู้บริหารได้รับการพัฒนาส่งเสริมให้เข้ารับการอบรมสัมมนาเพื่อปรับ แนวคิด วิสัยทัศน์และกระบวนการในการบริหารจัดการศึกษาที่จะนำความสำเร็จมาสู่องค์การ มีศิลปะในการบริหารด้วยวิธีการต่างๆ เช่นการพบปะพูดจาทำความเข้าใจอย่างตรงไปตรงมาด้วย ความสุภาพอ่อนน้อม ด้วยเหตุด้วยผลด้วยการถ้อยทถี อ้ ยอาศยั กันยอมลดทิฐิ ลดความตอ้ งการของ ตนเองลงยอมรับข้อผิดพลาดของตนเพื่อให้ตกลงกันได้โดยการเดินสายกลางตามหลัก พระพุทธศาสนา ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของพงศา งามละเมียด (2518 : 12) และผลการวิจัย ของเจริญ โคกสีอำนวย (2530 : บทคัดย่อ) ผลการวิจัยของสุรางค์ โล่ห์สัมฤทธิชัย (2536 : บทคัดย่อ) ผลการวจิ ยั ของเสนห่  โสมนสั (2538 : บทคัดยอ่ ) และผลการวจิ ยั ของชลดิ า ด้วงแก้ว (2542 : บทคัดย่อ ) นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ริวิลลา (Revilla, 1984 : 1601-A) และคอนเทนท์ (Content, 1986 : 1942- A) ส่วนวิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ใช้อยู่ในระดับต่ำ คือวิธีการเอาชนะ ทั้งนี้เพราะวิธีนี้สร้างความขมขื่นให้กับคู่กรณี ผู้ชนะอาจพอใจ แต่ผู้แพ้อาจเสียใจ และอาจหาทางแกแ้ คน้ ซึง่ เปน็ วิธีการที่ไมร่ กั ษาหนา้ ของครู-อาจารย์ อาจทาํ ใหภ้ าพลักษณข์ องผูช้ ว่ ยผู้ บริหารฝ่ายปกครองออกมาเป็นนักเผด็จการ ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวนี้สอดคล้องกับผลการวิจัยของ สุรางค์ โล่ห์สัมฤทธิ์ชัย (2536 :บทคัดยอ่ ) ผลการวจิ ยั ของกาํ จัด คงหนู (2537 : 73) ผลการวิจัยของเสน่ห์ โสมนัส (2538 : บทคัดย่อ) และผลการวิจัยของ ลิทตัน (Litton, 1989 : 2219) และยังสอดคล้องกับข้อเสนอแนะของเสรมิ ศกั ด ิ์ วศิ าลาภรณ  (2540 : 104) ในเรื่องการใช้ วิธีการบงั คับในการจัดการกับความขดั แยง้ กต็ อ่ เมอื่ มเี รอื่ งจาํ เปน็ ฉกุ เฉนิ เกิดขึ้น และเมื่อผู้บริหาร มั่นใจว่าความคิดของตนเองถูกต้อง แน่นอน มีความบริสุทธิ์ ยุติธรรม ก็น่าจะไม่มีปัญหา ซึ่งสอดคล้องกับ สุรางค์ โล่ห์สัมฤทธิ์ชัย (2536 : 58) กล่าวว่า เพื่อประโยชน์ขององค์การและ ประสิทธิภาพในการบริหารงาน แม้จะมีความขัดแย้งเกิดขึ้นบ้างบางครั้ง ผู้บริหารมีความจำเป็น ต้องใช้วิธีการบังคับเพื่อให้การสั่งการมีผลต่อการบังคับบัญชา และให้สามารถบริหารองค์การไป สู่เป้าหมายและความสำเร็จได้ 3. จากการเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้ง ตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหาร โรงเรียนฝ่ายปกครอง จำแนกตามอายุ พบว่า อายุต่างกันมีวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธี การเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง และการยอมให้ ไม่แตกต่างกัน 109 ไม่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะว่าผู้ที่เข้าสู่ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหาร โรงเรียนฝ่ายปกครอง มีคุณสมบัติเหมาะสมตามหลักเกณฑ์ของกรมสามัญศึกษา ที่พิจารณา ความเหมาะสมทั้งคุณวุฒิและวัยวุฒิ ไว้เป็นมาตรฐานชัดเจน รวมถึงการผ่านการอบรมผู้บริหาร สถานศึกษาระดับสูงก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวนี้สอดคล้องกับผลการวิจัยของเจริญ โคกสอี าํ นวย (2530 : บทคัดย่อ) และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของบญั ญตั ิ ลาชโรจน  (2533 : ข) เช่นกัน 4. ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีวิธีการจัดการกับ ความขัดแย้งด้วยวิธีการเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม และการหลีกเลี่ยง ไม่แตกต่างกัน ไม่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เพราะว่าผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง นอกจากจะ ได้รับการคัดเลือก การสอบ การพิจารณาความเหมาะสมเข้าสู่ตำแหน่ง การเข้าอบรมก่อนเข้าสู่ ตำแหน่งอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 1 เดือน แล้วเมื่อปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งยังได้รับการอบรม ประชุม สัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถอยู่อย่างสม่ำเสมอตลอดเวลา รวมถึงการได้มีโอกาสศึกษาดู งานเพื่อเปิดโลกทัศน์ และเรียนรู้ประสบการณ์การบริหาร มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง ทำให้มีวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีดัง กล่าวไม่แตกต่างกัน ซึ่งผลการวิจัยที่พบในครั้งนี้สอดคล้องกับผลการวิจัยของเจริญ โคกสีอำนวย (2530: บทคัดย่อ) ที่พบในลักษณะเดียวกัน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีวิธีการจัดการกับความ ขัดแย้งด้วยวิธี การยอมให้ แตกต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งสามารถอธิบาย ได้ว่า เป็นเพราะผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์มากกว่า มีความสัมพันธ์กัน เปน็ การสว่ นตวั มากขนึ้ รจู้ กั สนทิ สนมคุน้ เคยกัน ทาํ ใหม้ กี ารเรยี นร ู้ มคี วามเขา้ ใจ ความไวว้ างใจ มาก มักใช้วิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธีการยอมให้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ กำจัด คงหนู (2537 : 73) ผลการวิจัยของ วิธลอค (Whitloke 1984 : 66-A) และยังสอดคล้องกับผล การวิจัยของคอนเทนท์ (Content 1986 : 1942 : A) 5. ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ที่มีวุฒิทางการศึกษาต่างกัน มีวิธีการจัดการกบั ความขดั แยง้ ดว้ ยวธิ ี การเอาชนะ การรว่ มมอื การประนีประนอม การหลีกเลีย่ ง ไมแ่ ตกตา่ งกนั ไม่ เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เพราะว่าผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองในปัจจุบันได้ รับการสนับสนุนส่งเสริมให้ได้รับการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นตามนโยบายของกรมสามัญศึกษา และนโยบายของโรงเรียนโดยทั่วไป ที่ต้องการยกระดับความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ วิสัยทัศน์ กอรปกับในสภาพปัจจุบันที่เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร มีการนำเทคโนโลยีสื่อสารใหม่ๆ ทันสมัยมาใช้ในการบริหารจัดการ การเรียนรู้ทาํ ให้ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองมีโอกาสที่ได้รับร ู้ ขอ้ มลู ขา่ วสารหลกั การ ทฤษฎี ความเคลือ่ นไหว ความกา้ วหนา้ ทางการบรหิ ารการศกึ ษา การบริหาร 110 งานบุคคล แนวปฏิบัติที่ทันสมัยใหม่ๆมาประกอบการบริหาร การตัดสินใจ และการแก้ปัญหา ความขดั แยง้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และทันท่วงที ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ เจรญิ โคกสอี าํ นวย (2530 : บทคัดย่อ) ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีวุฒิทางการศึกษาต่างกันมีวิธีการจัดการกับ ความขัดแย้งด้วยวิธีการยอมให้ต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน โดยผลการวิจัยที่พบในครั้งนี้ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ กำจัด คงหนู (2537 : 73) และสอดคล้องกับแนวคิดของ เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2540 : 106) ที่ว่า ไม่มีผู้บริหารคนใดใช้พฤติกรรมในการบริหารแบบใดแบบหนึ่ง ตลอดเวลา หรือแสดงพฤติกรรมแบบนั้นๆ ทุกครั้ง การที่ผู้บริหารจะใช้วิธีการบริหารอย่างใดนั้น คงเป็นเพราะความถนัดที่เคยใช้ สถานการณ์ที่เอื้ออำนวยให้แสดงพฤติกรรมนั้น ผสมผสานกับ ประสบการณ์ในอดีตและความจำเป็นในปัจจุบัน นอกจากยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของริวิลลา (Revilla, 1984 : 1601-A) 6. จากการเปรียบเทียบวิธีการจัดการกับความขัดแย้งตามทัศนะของผู้ช่วยผู้บริหาร โรงเรียนฝ่ายปกครอง จำแนกตามขนาดของโรงเรียน พบว่า ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีวิธีการจัดการกับความขัดแย้งด้วยวิธี การเอาชนะ การร่วมมือ การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง และการยอมให้ ไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้เพราะว่า ไม่ว่าผู้ช่วย ผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองจะอยู่ในโรงเรียนขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ต่างก็มี ประสบการณ์และวุฒิภาวะในด้านต่างๆใกล้เคียงกัน รวมถึงสภาพของปัญหาและสภาพของสังคม แต่ละโรงเรียนก็มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครองได้รับความ สะดวกรวดเร็ว ในการปฏิบัติงานด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ดังนั้นไม่ว่าผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่าย ปกครองจะอยู่ในโรงเรียนขนาดใดก็ตามต่างก็เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาที่คล้ายคลึงกัน โดยพบว่า ผลการวิจัยดังกล่าวมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของ เจริญ โคกสีอำนวย (2530 : บทคัดย่อ) ผลการวิจัยของบัญญัติ ลาชโรจน์ (2533 : ข) และยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของสรุ างค  โล่ห์สัมฤทธิ์ชัย (2536 : บทคัดย่อ) ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ข้อเสนอแนะสำหรับโรงเรียนมัยธมศึกษาทั่วไป 1) ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทำงาน ควรปรับปรุงในเรื่อง การแบ่งกันเป็นหมู่ พวกในกลุ่มครู การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน และการสื่อสารบกพร่อง และล่าช้า 111 2) ด้านองค์ประกอบด้านบุคคล ควรปรับปรุงในเรื่อง ประสบการณ์ชีวิต และประสบการณ์ในการทำงาน วิธีการทำงานที่ให้ความสำคัญกับงานของตนเองมากกว่างาน ของคนอื่น และลักษณะนิสัยที่ขาดการยืดหยุ่นในการทำงาน 3) ด้านสภาพขององค์การ ควรปรับปรุงในเรื่อง หน่วยงานมีทรัพยากร ไม่เพียงพอ ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการบริหารและเป้าหมายการทำงาน และการให้ ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม 4) วิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่ดีที่สุดคือ การประนีประนอม และวิธีที่ ไม่ควรนำมาใช้คือ วิธีการเอาชนะ 5) ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองที่มีประสบการณ์ในการทำงาน และ ได้รับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี ต่างใช้วิธีการจัดการความขัดแย้ง ด้วยการยอมให้ ดังนั้น จึงควรคัดเลือกผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองจากผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานมานาน และเปิดโอกาสให้ผู้จะมาที่ดำรงตำแหน่งดังกล่าวเข้ารับการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 1.2 กรมสามัญศึกษาควรบรรจุเนื้อหา การบริหารความขัดแย้งในหลักสูตร การฝึกอบรมผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน หรือจัดอบรมเป็นกรณีพิเศษ ทั้งทางด้านเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ การ เพื่อให้ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการบริหารความ ขัดแย้งมากยิ่งขึ้น อันจะนำไปสู่การบริหารองค์การที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 2. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัย ผลการศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร สามารถนำมาเป็นข้อเสนอแนะสำหรับ การวิจัยได้ดังนี้ 2.1 ควรได้ศึกษาบทบาท หรือคุณลักษณะของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ที่ส่งผลต่อสาเหตุของความขัดแย้ง 2.2 ควรได้ศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงาน ปกครองตามทัศนะของครู-อาจารย์ผู้ปฏิบัติการสอน บรรณานุกรม 113 บรรณานุกรม กรมสามัญศึกษา. (2538). แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกรมสามัญศึกษา. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนหลักในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : กรมสามัญศึกษา. . (2539). เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2539. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. . (2540). คู่มือการบริหารงานบุคคล กรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ : กองการ เจ้าหน้าที่ กรมสามัญศึกษา. . (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ. กำจัด คงหนู. (2537). วิธีการจัดการกับความขัดแย้งของศึกษาธิการอำเภอ เขตการศึกษา 5. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กิติมา ปรีดีดิลก. (2529). ทฤษฎีบริหารองค์การ. กรุงเทพฯ : หจก. ธนการพิมพ์. . (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒนา. เกริก วยัคฆานนท์. (2539). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. จุไร ลียากาศ. (2526). การพัฒนาการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์. เจริญ โคกสีอำนวย. (2530). วิธีแก้ความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. เจริญผล สุวรรณโชติ. (2542). ทฤษฎีบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. ชลิดา ด้วงแก้ว. (2542). สาเหตุความขัดแย้งและวิธีการจัดการกับความขัดแย้ง ศึกษาเฉพาะกรณี : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารองค์การ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก. ชูศรี วงค์รัตนะ. (2541). สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : เนรมิตรการพิมพ์. 114 ถวัลย์ วรเทพพุฒิพงษ์ และสุรสิทธิ์ รุ่งเรืองศิลป์. (2525). “การแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง ในหน่วยงาน”. เทศาภิบาล. ปีที่ 23 (กุมภาพันธ์) : 9-19. ถวิล เกื้อกูลวงศ์. (2530). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช. ทวีศักดิ์ บุญบูชาไชย. (2532). ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารกับพฤติกรรมความขัดแย้งใน โรงเรียนมัธยมศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทิศนา แขมมณี. (2522). การแก้ไขความขัดแย้ง. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองการพิมพ์. ธงชัย สันติวงษ์ และชัยยศ สันติวงษ์. (2535). พฤติกรรมองค์การ: การศึกษาการบริหาร พฤติกรรมองค์การเชิงบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. ธีระวุฒ ิ เจรญิ ราษฎร์. (2524). ความขดั แยง้ ในบทบาทของครใู หญโ่ รงเรยี นประถมศกึ ษาจงั หวดั นครพนม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2542). ความทรงจำ. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์. นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2537) “เทคนิคการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน”. วารสารพัฒนาชุมชน. ปีที่ 33. ฉบับที่ 8 (สิงหาคม) หน้า 38. นิวัฒน์ วชิรวราการ. (2537). “ปัญหาความขัดแย้งในสังคม”. วารสารข้าราชการ. ปีที่ 39. ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม – สิงหาคม) หน้า 62. บัญญัติ ลาชโรจน์. (2533). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับวิธีแก้ปัญหาความขัดแย้ง ของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาการบริหารอาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. บุญช่วย ศิริเกษ. (2525). ความคิดเห็นของอาจารย์เกี่ยวกับความขัดแย้งในวิทยาลัยครูผู้บริหาร โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 9. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประชุม โพธิกุล. (2529). การคลี่คลายความขัดแย้งเพื่อปรับปรุงระบบการตัดสินใจของผู้บริหาร โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัยศึกษา ในภูมิภาคตะวันตก. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปกร. 115 พงศา งามละเมียด. (2518). การศึกษาความขัดแย้งด้านบทบาทของครูใหญ่ครูและนักเรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. พนัส หันนาคินทร์. (2526). หลักการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. พรนพ พุกกะพันธุ์. (2542). การบริหารความขัดแย้ง. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พัชนี วรกวิน. (2522). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูจันทรเกษม. ไพบูลย์ ฉิ่งทองคำ ประชุม โพธิกุล และสิทธิพงศ์ สิทธิขจร. (2532 ). การจัดการความขัดแย้ง. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรเตรียมผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง กรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. ภิญโญ สาธร. (2526). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร. วิจิตร วรุตบางกูร. (2531). “การจัดการกับความขัดแย้ง”. คุรุปริทัศน์. ปีที่ 13 (กรกฎาคม): หน้า 64-70. . (2526). ศิลปศาสตร์น่ารู้สำหรับผู้นำ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2535). ความลับขององค์การพฤติกรรมองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมนิติ. วิเชียร รักการ. (2529). วัฒนธรรมและพฤติกรรมของไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. วิโรจน์ สารรัตนะ. (2542). การบริหาร: หลักการ ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทิพย์วิสุทธิ์. วีระพงษ์ แสนโภชน์. (2533). ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 9 ใน 5 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย ขอนแก่น และสกลนคร. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สงวน สุทธิเลิศอรุณ. (2525). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ : ชัยศิริการพิมพ์. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2536). แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535. กรุงเทพฯ : อรรถพลการพิมพ์. 116 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานการพิมพ์ จำกัด. เสน่ห์ โสมนัส. (2538). การศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของ ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2540). ความขัดแย้งการบริหารเพื่อความสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท เลิฟแอนด์ลิพเพรสจำกัด. อุทัย ธรรมเดโช. (2531). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาการพิมพ์. เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2527). หลักการบริหารทั่วไป. กรุงเทพฯ : อนงค์ศิลป์การพิมพ์. Adams Don C. (1989). “Perceptions of Conflict Management Styles and Commitment in Middle Level School”. Ph.D. Dissertation. The Pennsylvania State University. p. 1854. Ashworth. Mary Anne C. (1989). “A Study of Conflict Management Styles of Principals and Superintendents in the Public School of Chio”. Ph.D. Dissertation. Bowling Green State University. p. 2314. Black. Robert R, Shepard Herbert A. And Mouton. Jame S. (1977). Management of Organizational Behavior : Utilization Human Resources. 3 rd ed. New Jersey : Prentice-Hall Inc. Bradley Deanya N. (1983 ) “A Comparative Study of Conflict Management Style Uses by Women and Men in Middle Management in the Denver Metropolitan Area”. Dissertation Abstracts International. 57(7) : 66 – A ; January. Cash. Cynthia M. (1990). Conflict Management Climate and Procedures in Selected Public Elementary School in South Carolina” . Ph. D Dissertation. South Carolina State College. p. 3567. Chung. Kae H., And Magginson. Leon C. (1981). Organization Behavior : Developing Management Skill. New York : Harper and Row Publishers. Co Ser. Lewis A. (1965). The Function of Social Conflict. New York : The Free Press. Content, Sara Hays. (1986). “Conflict Management Styles of Principals in Elementary and Secondary Schools”. Dissertation Abstracts International. 47(6) : 1942-A- 1943-A ; December. 117 David Brown L. (1983). Managing conflict at Organizational Interfaces. California : Addison Wesley Publishing Company. De Bono Edward . (1987). Conflict : A Better Way to Resolve Them. Middlesex : Penguin. Deutsch Morton. (1973) The Resolution conflict. New Haven : Yale University Press . (1983). The Resolution Conflict: constructive and Destructive Process In Organization Theory : The Structure and Design of Organization. Ed. Stephen P. Robbins. New Jersey : Prentice-Hall Inc. Duke, James T. (1976). Conflict and Power in Social Life. Provo. Utah : Brigham Young University Press. Erickson, H.L. (1984). “Female Public School Admistrator and Conflict Management”. Dissertation Abstracts International. 45 (July) : 1251-A. Filley. Alan C. (1975). Interpersonal Conflict Resolution. lllinois : Scott Foreman and Company. Good, Cartar V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw. Hill Book Inc. Graham. Aron R. (1990). “Superintendent as Manager : Case Studies of Conflict Management in Several Diverse New Jersey Public School Districts”. Ph.D. Dissertation. Fordham University. p. 3573. Gulick Luther and L. Urwick. (eds). (1937). Papers on the Science of Administration. New York: Institute of Public Administration. Hoover. David R. (1990). “Relationship Among perceptions of Conflict Management Behaviors. Levels of Conflict and Organization Climate in High School”. Ph.D. Dissertation. The Pennsylvania State University. p. 2942. Howat G. and M. London. (1980). “Attributions of Conflict Management Strata Gives in Supervisor Subordinate”. Journal of Applied Psychology. 65(1) : January ; 172-175. Kae H. Chung and Leon C. Magginson. (1981). Organization Behavior : Developing Management Skill. New York : Harper and Row Publisher. Katz , Daniel , and Kahn , Robert L. (1978). The Social Psychology of Organization. 2nd ed., New York : John Wiley and Son. Kelly Jo. (1974). Organizational Behavior. lllinois : Richard Erwin Inc. 118 Knudson Harry H. and Fleenor Patrict C. (1978). Organizational Behavior. Massachusetts Winthrop Inc. Krejcie, Robert V. and Daryle, W. Morgan. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”. Educational and Psychological Measurement. 30(8) : May; 608. Litterer Joseph A. (1965). The Analysis of Organizations. New York : Wiley. Litton. Leonard G. (1989). “Conflict Management Practices of North Carolina Public High School Principals”. Ph.D. Dissertation. The University of North Carolina. p. 2219 Miles R.H. (1980). Macro Organizational Behavior. lllinois : Foreman. Newman, William H., Warren, Kirky E. and McGill, Andrew R. (1987). The Process of Management Strategy, Action, Results. 6th ed., New Jersey : Prentice-Hall. Owens, Robert G. (1987). Organizational Behavior in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs. New Jersey : Prentice-Hall . Owens, Robert G. (1991). Organizational Behavior in Education. 4th ed. New Jersey : Prentice-Hall. Pneuman, Roy W. and Magaret E. Bruehl. (1982). Managing Conflict : A Complete Process- Centered Handbook. Englewood Cliffs. New Jersey : Prentice-Hall. Revilla, Maria V. (1984). “Conflict Management Styles of Men and Women Administrators in Higher Education”. Dissertation Abstracts International. 45(6) : December ; 1601-A. Robbins, Stephen P. (1974). Managing Organizational Conflicts A Nontraditional Approach. New Jersey : Prentice-Hall. . (1990). Organization theory: Structure, Design, and Applications. 3 rd. ed. Englewood Cliffs. New Jersey : Prentice-Hall. . (1998). Organization Behavior : Concepts, Controversies, and Applications. 2 nd. ed. Englewood. Cliffs. New Jersey : Prentice-Hall . Rubble , T.L. and K.W. Thomas. (1976). “Support of Two Do Conflict Behavior”. Organizational Behavior and Human Performant. 22(4) : April ; 143-145. Stoner. James A.F. (1983). Management. 2 nd ed. New Jersey : Prentice-Hall. Tannenbaum and Scheldon. (1969). “Value. Man and Organization”. In Behavioral Science and the Manger’s Role. ed. W.B. Eddg. Washington D.C : NTD. 119 Thomas Kenneth W . and Kilmann. Ralph H. (1987). Thomas-Kilmann Conflict Mode Interest. New York : XICOM Incorporated. Thomas Kenneth W. (1976). “Conflict and Conflict Management”. In Handbook of Industrials and Organization Psychology . Edited by Marvin D. Dunnette. Chicago: Rand McNally. . (1979). “Organizational Conflict”. In Organizational Behavior. ed. Steven Kerr. Ohio : Publishing Inc. Trusty M Fransis. (1987). “Managing the Tensions that Go with the Planning Process”. in Strategic Planning and Leadership in Continuing Education. Ed. Robert G. Simerly and Associates. San Francisco : Jossey-Bass. Turner Steve and Frank Weed. (1983). Conflict in Organizations. New Jersey : Prentice Hall Inc. Walton, Richard W., and Mckersie, Robert B. (1965). A Behavioral Theory of Negotiations. New York : McGraw-Hill. Wayne K, Hoy. and Cecil G. Miskel. (1987). Educational Administration : Theory, Research, and Practice. 3rd ed. New York : Random House. Whitloke. Ray A. (1984). “A Comparative Study of Conflict Management Style Used by Women in the Middle Management in the Denver Metropolitan Area”. Dissertation Abstracts International. Vol. 45(6) : July ; 2974-A. Wijk Van,Gilles C. (1984). Organization Theory. New York : Facts on File. William F . Glueck. (1977). Management. IIIinois : Dryden Press Hinsdale. p.525. Wirawan. (1992). “The Relationship between Power Base Conflict Management Styles of Indonesia , s Formal Leaders”. Dissertation Abstracts International. : 78(5) : May ; 3797-A -3798-A. ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวิจัย 121 แบบสอบถาม เรื่อง การศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร คำชี้แจง 1. แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครองใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ตอนที่ 2 แบบสอบถามแบ่งออกเปน็ 2 ขอ้ ยอ่ ย 2.1แบบสอบถามสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร 2.2 แบบสอบถามวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน มธั ยมศกึ ษา ในโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สังกดั กรมสามญั ศึกษา กรงุ เทพมหานคร 2. ในแต่ละตอนมีคำชี้แจงในการประเมิน เพื่อความเข้าใจอย่างถูกต้องอีกครั้ง 3. คำตอบของท่านจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง เป็นอย่างยิ่ง 4. ข้อมูลที่ได้นี้ ผู้วิจัยจะเก็บเป็นความลับและใช้เป็นข้อมูลในการทาํ วิจัย ด้วยการนาํ เสนอข้อมูลเป็น ผลรวมเทา่ นนั้ จึงไมม่ ีผลตอ่ ตวั ผูต้ อบแบบสอบถาม 122 ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของ ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่อง ที่กำหนดให้ ตามสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับตัวท่าน 1. อายุ ไม่เกิน 45 ปี ตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป 2. ประสบการณ์ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง หรือปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง ไม่เกิน 10 ปี ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป 3. วุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี หรือต่ำกว่าปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี 4. ขนาดของโรงเรียน โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ 123 ตอนที่ 2 แบบสอบถามสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร 2.1 แบบสอบถามสาเหตุของความขัดแย้งของงานปกครองในโรงเรียนมัธยม ขอให้ท่านพิจารณาว่า การปฏิบัติงานปกครองในโรงเรียนของท่านความขัดแย้งมักเกิดจากสาเหตุต่อไปนี้ มาก นอ้ ยเพยี งใด โปรดทำเครื่องหมาย ลงในชอ่ งตามที่เปน็ จรงิ สาเหตุของความขดั แยง้ ระดับของสาเหตุ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด 1. สาเหตุจากองค์ประกอบด้านบุคคล 1.1 ลกั ษณะนสิ ยั ทขี่ าดการยดื หยนุ่ ในการทาํ งาน 1.2 พื้นฐานการศึกษา 1.3 คา่ นยิ ม ความเชอื่ และปรัชญาในการดำรงชวี ติ 1.4 วิธีการทำงานที่ใหค้ วามสำคัญกับงานของตนเองมากกวา่ งาน ของคนอื่น 1.5 ประสบการณช์ วี ติ และประสบการณใ์ นการทาํ งาน 2. สาเหตจุ ากปฏสิ มั พนั ธใ์ นการทาํ งาน 2.1 การขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในการทำงาน 2.2 การแบ่งกันเป็นหมู่พวกในกลุ่มครู 2.3 การใช้วิธีเผด็จการในการบริหาร 2.4 การสื่อสารบกพร่อง และล่าช้า 2.5 การให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง 3. สาเหตุจากสภาพขององค์การ 3.1 หน่วยงานมีทรัพยากรไม่เพียงพอ 3.2 ความไมช่ ดั เจนของโครงสรา้ งการบรหิ ารและเปา้ หมายการทาํ งาน 124 สาเหตุของความขดั แยง้ ระดับของสาเหตุ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด 3.3 กฎระเบียบที่เข้มงวดเกินไป 3.4 การทำงานที่ต้องแข่งขันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม 3.5 การให้ข้อยกเว้นหรือให้สิทธิพิเศษต่างๆ เฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม 2.2 แบบสอบถามวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง 1. แบบสอบถามมีทั้งหมด 30 ข้อ แต่ละข้อจะมีข้อย่อย 2 ข้อ คือ “ก” และ “ข” 2. โปรดทำเครื่องหมาย หนา้ ตัวเลือก “ก” หรอื “ข” ทีท่ า่ นเห็นพฤตกิ รรมในตัวเลือกนัน้ ท่านแสดงออกในการกับความขัดแย้งมากที่สุด หรือใกล้เคียงกับตัวท่านมากที่สุด เพียงตัวเลือก “ก” หรือ “ข” เท่านั้น 3. ข้อย่อยในแต่ละข้ออาจจะซ้ำกันในการตอบขอให้ท่านอย่าได้คำนึงถึงข้อที่ผ่านมา ให้พิจารณา เลือกตอบเฉพาะข้อที่ท่านกำลังจะตอบเท่านั้น 1. ………….ก. มีบ่อยครั้งที่ข้าพเจ้ามอบหมายให้คนอื่นรับผิดชอบแทนข้าพเจ้าในการแก้ปัญหา ………….ข. ข้าพเจ้าเน้นที่จะเจรจาในสิ่งที่ทุกฝ่ายเห็นพ้องกันมากกว่าที่จะมุ่งเจรจาในสิ่งที่ทุกฝ่าย มีความเห็นแตกต่างกัน 2. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามที่จะหาทางแก้ปัญหาด้วยการประนีประนอม ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามประสานความสนใจทุกอย่างของผู้อื่นและของข้าพเจ้าเข้าด้วยกัน 3. ………….ก. ข้าพเจ้ามักจะยืนยันในการที่จะบรรลุเป้าหมายของข้าพเจ้าให้ได้ ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามถนอมน้ำใจของคนอื่น และพยายามรักษาสัมพันธภาพของเราเอาไว้ 4. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามที่จะหาทางแก้ปัญหาด้วยการประนีประนอม ………….ข. ในบางครัง้ ขา้ พเจา้ ยอมเสียสละสิง่ ทีข่ า้ พเจา้ อยากได  เพอื่ ทจี่ ะใหผ้ อู้ นื่ สมปรารถนา 125 5. ……….ก. ข้าพเจ้าแสวงหาความช่วยเหลือจากคนอื่นอยู่เสมอในการที่จะแก้ปัญหา ……….ข. ข้าพเจ้าพยายามเท่าที่จำเป็นเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความตึงเครียดที่หาประโยชน์ไม่ได้ 6. ……….ก. ข้าพเจ้าพยายามหลีกเลี่ยงการทำสิ่งที่ข้าพเจ้าไม่สบอารมณ์ ……….ข. ข้าพเจ้าพยายามที่จะเป็นผู้ชนะ 7. ………….ก ข้าพเจ้าพยายามประวิงปัญหาจนกว่าข้าพเจ้ามีเวลาที่จะคิดอย่างรอบคอบ …………. ข. ข้าพเจ้ายอมแพ้ในบางประเด็นเพื่ออาจจะชนะในอีกบางประเด็น 8. …………ก. ข้าพเจ้ามักจะยืนยันในการที่จะบรรลุเป้าหมายของข้าพเจ้าให้ได้ …………ข. ข้าพเจ้าพยายามรับฟังความคิดเห็นทั้งหลายและประเด็นปัญหาอย่างเปิดเผย 9. ………….ก. ข้าพเจ้ารู้สึกว่าเป็นการไม่คุ้มค่าที่จะไปวิตกกังวลกับความขัดแย้งทุกเรื่อง ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามทำให้ได้ตามวิถีทางของข้าพเจ้า 10. ………….ก. ข้าพเจ้ามักจะยืนยันในการที่จะบรรลุเป้าหมายของข้าพเจ้าให้ได้ ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามที่จะหาทางแก้ปัญหาด้วยการประนีประนอม 11. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามรับฟังความคิดเห็นทั้งหลายและประเด็นปัญหาอย่างเปิดเผย ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามถนอมน้ำใจของคนอื่นและพยายามรักษาสัมพันธภาพของเราเอาไว้ 12. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามหลีกเลี่ยงการแสดงความคิดเห็นซึ่งจะนำไปสู่การโต้แย้งกันได้ ………….ข. ข้าพเจ้าจอยอมให้เขาได้ในสิ่งที่เขาต้องการบ้าง ถ้าหากเขายอมให้ข้าพเจ้าได้ในสิ่งที่ ข้าพเจ้าต้องการบ้าง 13. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามเสนอทางสายกลางในการแก้ปัญหา ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามผลักดันให้คนอื่นยอมรับความคิดเห็นของข้าพเจ้า 126 14. ………….ก. ข้าพเจ้าจะแสดงความคิดเห็นของข้าพเจ้าให้คนอื่นทราบและจะถามความคิดเห็นของคนอื่นๆ ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามจะแสดงให้คนอื่นเห็นว่าวิธีการของข้าพเจ้านั้นมีเหตุผลและมีประโยชน์ 15. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามถนอมน้ำใจของคนอื่นและพยายามรักษาสัมพันธภาพของเราเอาไว้ ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามทำเท่าที่จำเป็นเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความตึงเครียดที่หาประโยชน์ไม่ได้ 16. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามที่จะไม่ทำร้ายจิตใจหรือความรู้สึกของคนอื่น ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามที่จะชักจูงให้คนอื่นเชื่อว่าวิธีการของข้าพเจ้าเป็นสิ่งที่ดี 17. ………….ก. ข้าพเจ้ามักจะยืนยันในการที่จะบรรลุเป้าหมายของข้าพเจ้าให้ได้ ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามทำเท่าที่จำเป็นเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความตึงเครียดที่หาประโยชน์ไม่ได้ 18. ………….ก. ถ้าสามารถทำให้คนอื่นมีความสุขได้ ข้าพเจ้าจะยอมให้เขาทำตามความคิดเห็นของเขา ………….ข. ข้าพเจ้าจะยอมใหเ้ ขาไดใ้ นสิง่ ทีเ่ ขาตอ้ งการบา้ ง ถา้ หากเขายอมใหข้ า้ พเจา้ ไดใ้ นสิง่ ที่ ข้าพเจ้าต้องการบ้าง 19. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามรับฟังความคิดเห็นทั้งหลายและประเด็นปัญหาอย่างเปิดเผย ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามที่จะประวิงปัญหาจนกว่าข้าพเจ้ามีเวลาที่จะคิดอย่างรอบคอบ 20. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามทำงานให้บรรลุเป้าหมายโดยตระหนักถึงการมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามหาวิธีที่จะทำให้การได้เปรียบเสียเปรียบของทุกฝ่ายเป็นไปด้วยความยุติธรรม 21. ………….ก. ในการเจรจาต่อรองกันนั้น ข้าพเจ้าพยายามที่จะนึกถึงความประสงค์หรือความพอใจของผู้อื่น ………….ข. ข้าพเจ้าเอนเอียงไปในทางที่จะอภิปรายปัญหาอย่างตรงไปตรงมา 22. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามหาทางสายกลางระหว่างความคิดเห็นของข้าพเจ้ากับความคิดเห็นของคนอื่นๆ ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามพิทักษ์สิทธิ์ในการแสดงความคิดเห็นของข้าพเจ้า 127 23. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามทำให้ทุกฝ่ายมีความพอใจและสมประสงค์เกือบจะทุกครั้ง ………….ข. มีบ่อยครั้งที่ข้าพเจ้ามอบหมายให้คนอื่นรับผิดชอบแทนข้าพเจ้าในการแก้ปัญหา 24. ………….ก. ถ้าความคิดเห็นของผู้อื่นดูจะมีความสำคัญมากสำหรับเขา ข้าพเจ้าจะพยายามทำตามใจเขา ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามให้คนอื่นๆ มาตกลงกันเพื่อการประนีประนอม 25. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามแสดงให้คนอื่นเห็นว่าวิธีการของข้าพเจ้ามีเหตุผลและมีประโยชน์ ………….ข. ในการเจรจาต่อรองนั้น ข้าพเจ้าพยายามที่จะนึกถึงความประสงค์หรือความพอใจของคนอื่น 26. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามเสนอทางสายกลางในการแก้ปัญหา ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามทำให้ทุกฝ่ายมีความพอใจและสมประสงค์เกือบจะทุกครั้ง 27. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามหลีกเลี่ยงการแสดงความคิดเห็นซึ่งนำไปสู่การโต้แย้งกันได้ ………….ข. ถ้าสามารถทำให้คนอื่นมีความสุขได้ ข้าพเจ้าจะยอมให้เขาทำตามความคิดเห็นของเขา 28. ………….ก. ข้าพเจ้ามักจะยืนยันในการที่จะบรรลุเป้าหมายของข้าพเจ้าให้ได้ ………….ข. ข้าพเจ้าแสวงหาความช่วยเหลือจากคนอื่นอยู่เสมอในการที่จะแก้ปัญหา 29. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามเสนอทางสายกลางในการแก้ปัญหา ………….ข. ข้าพเจ้ารู้สึกว่าเป็นการไม่คุ้มค่าที่จะไปวิตกกังวลกับความขัดแย้งทุกเรื่อง 30. ………….ก. ข้าพเจ้าพยายามที่จะไม่ทำร้ายจิตใจหรือความรู้สึกของคนอื่น ………….ข. ข้าพเจ้าพยายามให้คนอื่นๆ มีส่วนรับรูใ้ นปญั หาขดั แยง้ เพอื่ ทเี่ ราจะไดร้ ว่ มมอื กนั และ ชว่ ยเหลอื กนั ในการแกป้ ญั หา ขอขอบพระคุณทา่ นเป็นอย่างยิง่ ทกี่ รณุ าตอบแบบสอบถามฉบบั นี้ ภาคผนวก ข รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ 129 รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภรณ์ ลิ้มบริบูรณ์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อินทิรา บุณยาทร 3. ดร.วิโรจน  วฒั นานมิ ติ รกลุ 4. ดร.ปรีชา บุญคมรัตน์ 5. นายทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ ภาคผนวก ค หนังสือราชการที่เกี่ยวข้อง 131 ที่ ศธ 0806.053 / พิเศษ โรงเรียนโพธิสารพิทยากร พุทธมณฑลสาย 1 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 26 พฤษภาคม 2546 เรื่อง ขออนุญาตใช้เครื่องมือวัด เรียน ศาสตราจารย์ ดร.เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ ด้วยข้าพเจ้า นายสุรชัย อนุมาศ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน โรงเรียนโพธิสารพิทยากร เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร กำลังศึกษาในสาขาวิชาการบริหาร การศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้ทำงานวิจัยในหัวข้อเรื่อง “การศึกษาสาเหตุ และวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ ศึกษา กรุงเทพมหานคร ” และได้นำเครื่องวัดแบบพฤติกรรมของบุคคล เมื่อเผชิญกับความขัด แย้งที่เรียกว่า “ Thomas – Kilman Conflic Mode Instrument “ มาใช้เป็นเครื่องมือวัด วิธีการจัด การกับความขัดแย้ง ข้าพเจ้าจึงเรียนมาเพื่อขออนุญาตใช้เครื่องมือวัดดังกล่าวเพื่องานวิจัยในครั้งนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ขอขอบคุณยิ่งมา ณ โอกาสนี้ ฝ่ายปกครอง โทร. 0-2448-7103 โทรสาร. 0-2448-7108 ขอแสดงความนับถือ (นายสุรชัย อนุมาศ) ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนโพธิสารพิทยากร 132 ที่ ทม ๑๐๐๑(๒๑)/ พิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท ๒๓ กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๖ เรื่อง การใช้เครื่องมือเพื่อการวิจัย เรียน ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนโพธิสารพิทยาลงกร (นายสุรชัย อนุมาศ) ตามที่ท่านได้ขออนุญาตใช้เครื่องมือวิจัย “Thomas-Kilman Conflic Mode Instrument” ที่ข้าพเจ้าได้แปลไว้ในหนังสือเรื่อง ความขัดแย้ง การบริหารเพื่อความสร้างสรรค์ เพื่อใช้ดำเนินการทำวิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการจัดการกับความ ขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร” นั้น ข้าพเจ้าพิจารณาแล้ว เห็นสมควรให้ใช้เครื่องมือดังกล่าวได้ จึงเรียนมาเพื่อทราบ ฝ่ายปกครอง โทร. ๐-๒๖๖๔-๑๐๐๐ ต่อ ๕๗๒๙, ๕๖๕๔ โทรสาร. ๐-๒๒๕๙-๑๘๒๒ ขอแสดงความนับถือ (ศาสตราจารย์ ดร.เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์) รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 133 ที่ ศธ 0806.053 / พิเศษ โรงเรียนโพธิสารพิทยากร พุทธมณฑลสาย 1 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 30 พฤษภาคม 2546 เรื่อง ขออนุญาตท่านผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง ตอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัย เรียน ท่านผู้บริหารโรงเรียน ด้วยข้าพเจ้า นายสุรชัย อนุมาศ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน โรงเรียนโพธิสารพิทยากร เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร กำลังศึกษาในสาขาวิชาการบริหาร การศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้ทำงานวิจัยในหัวข้อเรื่อง “การศึกษาสาเหตุ และวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ ศึกษา กรุงเทพมหานคร ” โดยศึกษาจากผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง หรือผู้ที่กำลังปฏิบัติงานในหน้าที่ ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง กระผมจึงเรียนมาเพื่อ ขอความอนุเคราะห์จากท่าน ได้โปรดกรุณาพิจารณาอนุญาตให้ ท่านผู้ช่วยผู้บริหารฝ่าย ปกครองตอบแบบสอบถาม เพื่อนำไปหาค่าความเชื่อมั่น และจัดส่งกลับตามที่อยู่ ตามจ่าหน้าซองที่ส่งมาพร้อมหนังสือฉบับนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และพิจารณาอนุญาตให้ ท่านผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายปกครอง ให้การอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามและส่งกลับด้วยความรวดเร็วด้วย เป็นพระคุณและ ความกรุณายิ่ง ฝ่ายปกครอง โทร. 0-2448-7103 โทรสาร. 0-2448-7108 ขอแสดงความนับถือ (นายสุรชัย อนุมาศ) ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนโพธิสารพิทยากร 134 ที่ ศธ 0806.053 / พิเศษ โรงเรียนโพธิสารพิทยากร พุทธมณฑลสาย 1 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 10 มิถุนายน 2546 เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัย เรียน ท่านผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง ด้วยข้าพเจ้า นายสุรชัย อนุมาศ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน โรงเรียนโพธิสารพิทยากร เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร กำลังศึกษาในสาขาวิชาการบริหาร การศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้ทำงานวิจัยในหัวข้อเรื่อง “การศึกษาสาเหตุ และวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ ศึกษา กรุงเทพมหานคร ” โดยศึกษาจากผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง หรือผู้ที่กำลังปฏิบัติงานในหน้าที่ ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายปกครอง กระผมจึงเรียนมาเพื่อ ขอความอนุเคราะห์จากท่าน ได้โปรดกรุณาตอบแบบสอบถาม และจัดส่งกลับตามที่อยู่ตาม จ่าหน้าซองที่ส่งมาพร้อมหนังสือฉบับนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้การอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามและส่งกลับด้วย ความรวดเร็วด้วย เป็นพระคุณและความกรุณายิ่ง ฝ่ายปกครอง โทร. 0-2448-7103 โทรสาร. 0-2448-7108 ขอแสดงความนับถือ (นายสุรชัย อนุมาศ) ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนโพธิสารพิทยากร ภาคผนวก ง ประวัติผู้วิจัย 136 ประวัติผู้วิจัย ชื่อ-ชื่อสกุล นายสุรชัย อนุมาศ วัน เดือน ปี เกิด 10 พฤศจิกายน 2498 สถานที่เกิด อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ประวัติการศึกษา 2515 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร 2519 ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูง วิทยาลัยครูเพชรบุรี 2520 การศึกษาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน ประวัติการทำงาน 2521 อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนชลธารวิทยา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 2525 อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนสวนศรีวิทยา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 2528 อาจารย์ 1 ระดับ 4 โรงเรียนวัดประสาท เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 2541 ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน โรงเรียนสุวรรณพลับพลาพิทยาคม กรุงเทพมหานคร 2542 ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน โรงเรียนโพธิสารพิทยากร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง 2546 ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนโพธิสารพิทยากร การศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียน (ตอนที่ 1)
การศึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการกับความขัดแย้งของงานปกครอง ในโรงเรียน (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น