วันจันทร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2554

ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา (ตอนที่ 2)



จากตารางที่ 2 พบว่า ครูโรงเรียนประถมศึกษา ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ
79.41 มีประสบการณ์การทำงาน 1 - 10 ปี คิดเป็นร้อยละ 47.06 สอนในโรงเรียนขนาดกลาง (นัก
เรียน 401 – 800 คน ) คิดเป็นร้อยละ 47.55 และสอนระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 68.14
61
ตอนที่ 2 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร จำแนกเป็นรายด้านและรวมทุกด้าน
ตารางที่ 3 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร จำแนกเป็นรายด้านและรวมทุกด้าน
ความต้องการ X
__ S.D. ระดับความต้องการ
1. ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ 3.63 1.05 มาก
2. ด้านการจัดการเรียนการสอน 4.14 0.81 มาก
3. ด้านนิเทศภายใน 4.17 0.94 มาก
4. ด้านวัดผลและประเมินผล 4.13 0.79 มาก
5. ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน 3.62 1.04 มาก
6. ด้านการประชุมอบรมทางวิชาการ 3.96 0.91 มาก
7. ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้
อื่น ๆ ในโรงเรียน 3.82 1.02 มาก
รวม 3.92 0.94 มาก
จากตารางที่ 3 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา โดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก (X
__
= 3.92 , S.D. = 0.94 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า ความต้องการด้านวิชาการ
อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยความต้องการด้านนิเทศภายในอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.17 , S.D. =
0.94 ) รองลงมา คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน (X
__
= 4.14 , S.D. = 0.81) และด้านวัดผลและ
ประเมินผล (X
__
= 4.13 , S.D. = 0.79 )
62
ตารางที่ 4 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้
ความต้องการด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ X
__ S.D. ระดบั ความ
ต้องการ
1. จัดประชุมชี้แจงเรื่องเอกสารประกอบหลักสูตร 3.62 1.09 มาก
2. ประชุมครูเพื่อทำความเข้าใจรายละเอียดต่างๆ ของหลักสูตร 3.55 1.10 มาก
3. จัดประชุมครูเพื่อวางแผนการนำหลักสูตรไปใช้ 3.65 1.12 มาก
4. จัดหาเอกสารต่าง ๆ ของหลักสูตรให้ครูทำความเข้าใจ 3.71 1.14 มาก
5. คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร 3.69 1.01 มาก
6. จัดให้มีการวิเคราะห์และประเมินหลักสูตรก่อนนำไปใช้ 3.61 1.03 มาก
7. ใช้หลักสูตรเป็นหลักในการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน 3.73 .93 มาก
8. ส่งเสริมให้ครูจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น 3.51 1.03 มาก
9. ประชาสัมพันธ์การใช้หลักสูตรให้ผู้ปกครองและชุมชนทราบ
อย่างทั่วถึง
3.60 1.02 มาก
รวม 3.63 1.05 มาก
จากตารางที่ 4 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.63 , S.D. = 1.05 ) เมอื่
พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยความต้องการเกี่ยว
กับการใช้หลักสูตรเป็นหลักในการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน อยู่ในระดับสูงสุด (X
__
=
3.73 , S.D. = 0.93 ) รองลงมา คือ การจัดหาเอกสารต่าง ๆ ของหลักสูตรให้ครูทำความเข้าใจ (X
__
=
3.71 , S.D. = 1.14) และคำแนะนำเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร (X
__
= 3.69 , S.D. = 1.01 )
63
ตารางที่ 5 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ด้านการจัดการเรียนการสอน
ความต้องการด้านการจัดเรียนการสอน X
__ S.D. ระดบั ความ
ต้องการ
1. ประชุมครูเพื่อจัดตารางสอนและเตรียมงานก่อนเปิดภาคเรียน 3.72 1.04 มาก
2. จัดครูเข้าสอนในแต่ละชั้นเรียนโดยพิจารณาจากความรู้ความ
สามารถที่ตรงสายงาน
4.27 .70 มาก
3. เชิญวิทยากรท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 4.18 .85 มาก
4. จัดกิจกรรมเสริมให้ทุกกลุ่มประสบการณ์ตามจุดมุ่งหมายของ
หลักสูตรภายในเวลาที่กำหนด
4.12 .79 มาก
5. จัดหากำหนดการสอน แผนการสอนให้มีกลุ่มประสบการณ์ 4.23 .78 มาก
6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูจัดการสอนซ่อมเสริมให้นักเรียนที่มี
ความสามารถแตกต่างกัน
4.10 .81 มาก
7. จัดหาสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน
การสอนของนักเรียนอย่างเพียงพอ
4.32 .70 มาก
8. จัดทัศนศึกษานอกสถานที่เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง 4.19 .81 มาก
รวม 4.14 0.81 มาก
จากตารางที่ 5 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านจัดการเรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.14, S.D. = 0.81 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ ราย
ข้อ พบว่า ความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยความต้องการเกี่ยวกับการจัดหาสื่อ
การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียนอย่างเพียงพอ อยู่ใน
ระดับสูงสุด (X
__
= 4.32 , S.D. = 0.70 ) รองลงมา คือ การจัดครูเข้าสอนในแต่ละชั้นเรียนโดย
พิจารณาจากความรู้ความสามารถที่ตรงสายงาน (X
__
= 4.27 , S.D. = 0.70) และจัดหากำหนดการ
สอน แผนการสอนให้มีกลุ่มประสบการณ์ (X
__
= 4.23 , S.D. = 0.78 )
64
ตารางที่ 6 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ด้านการนิเทศภายใน
ความต้องการด้านการนิเทศภายใน X
__ S.D. ระดบั ความ
ต้องการ
1. สำรวจข้อมูลด้านวิชาการก่อนวางแผนการนิเทศภายในโรงเรียน 4.16 .79 มาก
2. สร้างความเข้าใจและชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของการนิเทศภายใน
โรงเรียน
4.20 .82 มาก
3. เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการวางแผนและกำหนดจุดมุ่งหมาย
การนิเทศภายในโรงเรียน
4.09 .83 มาก
4. แต่งตั้งคณะกรรมการในการนิเทศภายในโรงเรียน 3.74 .97 มาก
5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูมีการนิเทศภายในระหว่างครูด้วยกันและ
ครูกับผู้บริหาร
3.86 .97 มาก
6. คำแนะนำในเรื่องการนิเทศภายในจากผู้บริหารและคณะกรรมการ
นิเทศภายในโรงเรียน
3.69 1.04 มาก
7. การตรวจเยี่ยมชั้นเรียนขณะทำการสอนและคำแนะนำในส่วนของ
การจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหาร
3.46 1.11 ปานกลาง
8. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการเรียนการ
สอนระหว่างเพื่อนร่วมงาน
3.58 .91 มาก
9. เยี่ยมชมโรงเรียนที่ได้รับเป็นโรงเรียนดีเด่นและเป็นตัวอย่างใน
เรื่องการจัดการเรียนการสอน
3.63 .92 มาก
10. ชี้แจงผลการนิเทศภายในให้ครูผู้สอน 3.63 .98 มาก
11. ติดตามและประเมินผลการนิเทศภายในเป็นระยะ 3.68 1.02 มาก
รวม 4.17 0.94 มาก
จากตารางที่ 6 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านการนิเทศภายใน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.17, S.D. = 0.94 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้
พบว่า ความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมากทุกข้อ ยกเว้นความต้องการเกี่ยวกับการตรวจเยี่ยม
ชั้นเรียนขณะทำการสอนและคำแนะนำในส่วนของการจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหารอยู่ในระดับ
65
ปานกลาง โดยความต้องการเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจและชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของการนิเทศ
ภายในโรงเรียน อยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.20 , S.D. = 0.82 ) รองลงมา คือ การเปิดโอกาสให้มี
ส่วนร่วมในการวางแผนและกำหนดจุดมุ่งหมายการนิเทศภายในโรงเรียน (X
__
= 4.16 , S.D. = 0.79)
และการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการวางแผนและกำหนดจุดมุ่งหมายการนิเทศภายในโรงเรียน (X
__
= 4.09 , S.D. = 0.83 )
66
ตารางที่ 7 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ด้านวัดผลและประเมินผล
ความต้องการด้านวัดผลและประเมินผล X
__ S.D. ระดบั ความ
ต้องการ
1. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมิน 3.70 .97 มาก
2. ให้ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนหรือโครงการในการวัดผลและ
ประเมินผลให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
3.64 .97 มาก
3. กำหนดวันเวลาในการวัดผลและประเมินผลระหว่างภาคเรียนและ
ปลายภาคเรียนไว้ล่วงหน้า
4.11 .77 มาก
4. เชิญวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผลประเมินผลมาให้ความรู้
แก่ครูในโรงเรียน
4.08 .89 มาก
5. แต่งตั้งบุคลากรในการรับผิดชอบการวัดประเมินผล 4.22 .72 มาก
6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูใช้วิธีการวัดผลประเมินผลอย่าง
หลากหลาย
4.37 .69 มาก
7. สร้างเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพ 4.29 .69 มาก
8. ส่งเสริมให้ครูทำการวัดผลประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน
และหลังเรียนอย่างสม่ำเสมอ
4.20 .75 มาก
9. ส่งเสริมให้ครูจัดทำแบบทดสอบในทุกกลุ่มประสบการณ์ไว้
ล่วงหน้า
4.25 .76 มาก
10. ส่งเสริมให้ครูมีการวิเคราะห์ข้อสอบและทำเป็นคลังข้อสอบทุก
กลุ่มประสบการณ์ในแต่ละระดับชั้น
4.27 .78 มาก
11. ใช้ผลจากการวัดและประเมินผลเป็นข้อมูลในการวางแผนการ
จัดการศึกษา
4.34 .71 มาก
รวม 4.13 0.79 มาก
จากตารางที่ 7 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านวัดผลและประเมินผล โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 4.13, S.D. = 0.79 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ ราย
ข้อ พบว่าความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยความต้องการเกี่ยวกับการส่ง
เสริมและสนับสนุนให้ครูใช้วิธีการวัดผลประเมินผลอย่างหลากหลาย อยู่ในระดับสูงสุด (X
__
=
67
4.37 , S.D. = 0.69 ) รองลงมา คือ การใช้ผลจากการวัดและประเมินผลเป็นข้อมูลในการวางแผน
การจัดการศึกษา (X
__
= 4.34 , S.D. = 0.71) และการสร้างเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียน
ที่มีคุณภาพ (X
__
= 4.29 , S.D. = 0.69 )
68
ตารางที่ 8 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน
ความต้องการด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน X
__ S.D. ระดบั ความ
ต้องการ
1. สำรวจความต้องการด้านสื่อและวัสดุประกอบการเรียนการสอน
ของครูในแต่ละกลุ่มประสบการณ์
4.22 .78 มาก
2. สนับสนุนด้านงบประมาณในการจัดทำสื่อให้เพียงพอกับความ
ต้องการ
3.56 1.10 มาก
3. ส่งเสริมให้มีการสร้างสื่อประกอบการเรียนการสอนและคู่มือการ
ใช้ให้ครบทุกกลุ่มประสบการณ์
3.66 .96 มาก
4. จัดการอบรมการผลิตสื่อการเรียนการสอนโดยเชิญวิทยากรหรือ
ผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้และสาธิตการผลิตสื่อโดยนำวัสดุใน
ท้องถิ่นมาดัดแปลงเป็นสื่อ
3.51 1.12 มาก
5. สำรวจสภาพความพร้อมของสื่อการเรียนการสอน 3.36 1.18 ปานกลาง
6. จัดทำคลังสื่อประกอบการเรียนการสอนและให้บริการอย่างเป็น
ระบบ
3.59 1.05 มาก
7. ส่งเสริมให้มีการนิเทศและติดตามผลการใช้สื่อการเรียนการสอน 3.50 1.12 มาก
8. จัดเก็บและบำรุงรักษาสื่อการเรียนการสอนอย่างมีระบบ 3.56 1.00 มาก
รวม 3.62 1.04 มาก
จากตารางที่ 8 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.62, S.D. = 1.04 ) เมอื่ พจิ ารณา
เป็นรายข้อ พบว่า ความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมากทุกข้อ ยกเว้นความต้องการเกี่ยวกับ
การสำรวจสภาพความพร้อมของสื่อการเรียนการสอนอยู่ในระดับปานกลาง โดยความต้องการเกี่ยว
กับสำรวจความต้องการด้านสื่อและวัสดุประกอบการเรียนการสอนของครูในแต่ละกลุ่มประสบการณ์
อยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.22, S.D. = 0.78 ) รองลงมา คือ การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารสรา้ งสอื่ ประกอบ
การเรียนการสอนและคู่มือการใช้ให้ครบทุกกลุ่มประสบการณ์ (X
__
= 3.66 , S.D. = 0.96) และการ
จัดทำคลังสื่อประกอบการเรียนการสอนและให้บริการอย่างเป็นระบบ (X
__
= 3.59 , S.D. = 1.05 )
69
ตารางที่ 9 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ด้านประชุมอบรมทางวิชาการ
ความต้องการด้านประชุมอบรมทางวิชาการ X
__ S.D. ระดบั ความ
ต้องการ
1. สำรวจความต้องการที่จะเข้ารับการอบรม 3.58 1.06 มาก
2. สนับสนุนงบประมาณในการประชุม อบรมและสัมมนาทางวิชา
การอย่างเพียงพอ
3.63 1.03 มาก
3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูได้เข้ารับการอบรมตรงตามความ
ต้องการ
3.58 1.11 มาก
4. จัดให้มีการประชุมอบรมและสัมมนาทางวิชาการภายในโรงเรียน 4.17 .86 มาก
5. จัดการอบรมเกี่ยวกับ
5.1 การบริหารชั้นเรียน
5.2 กิจกรรมเสริมหลักสูตร
5.3 การวิเคราะห์หลักสูตร
5.4 การวิจัยในชั้นเรียน
5.5 การสอนซ่อมเสริม
5.6 การวัดผลและประเมินผล
5.7 การใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตขั้นพื้นฐาน
5.8 วิธีสอนแบบต่าง ๆ เช่น การสอนแบบบูรณาการและการ
สอนแบบซิปปา โมเดล (CIPPA Model) เป็นต้น
3.94
4.13
4.12
4.13
4.07
4.12
4.12
4.29
.87
.84
.81
.78
.91
.87
.81
.80
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
6. จัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการระหว่างโรงเรียน
หรือระหว่างกลุ่มโรงเรียน
3.97 .91 มาก
7. ส่งเสริมให้ครูได้จัดทำผลงานวิชาการ 3.83 .98 มาก
8. สนับสนุนให้มีการรายงานติดตามผลการประชุม อบรมและ
สัมมนาทางวิชาการ
3.58 .95 มาก
รวม 3.96 0.91 มาก
70
จากตารางที่ 9 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษาด้านประชุม
อบรมทางวิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.96, S.D. = 0.91 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบ
ว่า ความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยความต้องการเกี่ยวกับการจัดอบรมเกี่ยวกับ
วิธีสอนแบบต่าง ๆ เช่น การสอนแบบบูรณาการและการสอนแบบซิปปา โมเดล (CIPPA Model)
เป็นต้นอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.29 , S.D. = 0.80 ) รองลงมา คือ การประชมุ อบรมและ
สัมมนาเรื่องกิจกรรมเสริมหลักสูตร และการวิจัยในชั้นเรียน (X
__
= 4.13 , S.D. = 0.84, 0.78)
การวิเคราะห์หลักสูตร การวัดผลและประเมินผล การใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตขั้นพื้นฐาน
(X
__
= 4.12 , S.D. = 0.81, 0.78 , 0.81 )
71
ตารางที่ 10 ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียน
ความต้องการด้านห้องสมุด X
__ S.D. ระดบั ความ
ต้องการ
1. มีบรรณารักษ์หรือครูที่รับผิดชอบโดยตรง 3.78 1.06 มาก
2. จัดงบประมาณในการซื้อหนังสือและเอกสาร 3.76 .99 มาก
3. ส่งเสริมความร่วมมือในการวางแผนการใช้ห้องสมุด 3.60 .99 มาก
4. จัดหาหนังสือ เอกสารและสิ่งพิมพ์ให้เพียงพอกับความต้องการ
ของนักเรียน
3.48 1.14 ปานกลาง
5. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องอำนวยความสะดวกในการ
จัดกิจกรรมอย่างเพียงพอ
3.62 .99 มาก
6. จัดหาคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ค้นหาข้อมูล 3.62 1.13 มาก
7. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ 3.63 1.03 มาก
8. อบรมการซ่อมแซมหนังสือที่ชำรุด 3.56 1.00 มาก
9. คำแนะนำและชี้แนะเทคนิคการบริหารห้องสมุด 4.11 .84 มาก
10. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานการใช้ห้องสมุดและความ
ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.14 .88 มาก
11. ห้องและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
11.1 ห้องสมุดสมัยใหม่
11.2 ห้องคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
11.3 ห้องปฏิบัติการทางภาษา
11.4 ห้องวิทยาศาสตร์
11.5 ห้องดนตรี
11.6 สถานที่ฝึกพลศึกษา
11.7 ห้องคหกรรม
11.8 โรงฝึกงาน
11.9 แปลงหรือโรงเรือนเกษตรกรรม
11.10 ห้องปฏิบัติการทางวัฒนธรรมและจริยธรรม
11.11 ห้องศิลปะและนาฎศิลป์
11.12 ลานเอกนกประสงค์
4.13
4.13
4.21
4.21
4.14
4.16
4.00
4.05
3.63
3.37
3.32
3.31
.92
.96
.83
.80
.91
.93
1.06
1.11
1.23
1.23
1.18
1.31
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
ปานกลาง
ปานกลาง
ปานกลาง
รวม 3.82 1.02 มาก
72
จากตารางที่ 10 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา ด้าน
ห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X
__
= 3.82, S.D. = 1.02 ) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า ความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมาก
ทุกข้อ ยกเว้นความต้องการเกี่ยวกับการจัดหาหนังสือ เอกสารและสิ่งพิมพ์ให้เพียงพอกับความ
ต้องการของนักเรียน ห้องปฏิบัติการทางวัฒนธรรมและ จริยธรรม ห้องศิลปะและนาฎศิลป์และ
ลานเอนกประสงค์อยู่ในระดับปานกลาง โดยความต้องการเกี่ยวกับห้องวิทยาศาสตร์และห้อง
ปฏิบัติการทางภาษาอยู่ในระดับสูงสุด (X
__
= 4.21 , S.D. = 0.80, 0.83 ) รองลงมา คือ สถานที่
ฝึกพลศึกษา (X
__
= 4.16 , S.D. = 0.93) ห้องดนตรีและการติดตามประเมินผลการดำเนินการใช้ห้อง
สมุดและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (X
__
= 4.14 , S.D. = 0.91 ,0.88) โดยลำดับ
73
ตอนที่ 3 การศึกษาเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงาน
และขนาดโรงเรียน
ตารางที่ 11 การศึกษาเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามเพศ
ความต้องการ สถานภาพ n X S.D. t
1. ด้านหลักสูตรและการนำ
หลักสูตรไปใช้
ชาย
หญิง
42
162
29.26
33.56
7.58
8.11
3.10**
2. ด้านการจัดการเรียนการสอน ชาย
หญิง
42
162
31.31
33.62
4.34
4.61
2.92**
3. ด้านนิเทศภายใน ชาย
หญิง
42
162
40.26
42.10
6.52
8.12
1.36
4. ด้านวัดผลและประเมินผล ชาย
หญิง
42
162
44.05
45.73
5.68
6.52
1.53
5. ด้านวัสดุและสื่อการเรียน
การสอน
ชาย
หญิง
42
162
26.83
29.51
6.30
6.72
2.33*
6. ด้านการประชุมอบรมทางวิชาการ ชาย
หญิง
42
162
57.81
59.86
7.14
9.81
1.27
7. ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสาร -
สนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ใน
โรงเรียน
ชาย
หญิง
42
162
80.38
84.88
12.54
16.46
1.65
โดยรวมทุกด้าน ชาย
หญิง
42
162
309.90
329.27
38.99
50.52
2.31*
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 11 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษาเมื่อจำแนก
ตามเพศ โดยภาพรวมครูมีความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูหญิง
มีความต้องการสูงกว่าครูชาย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ครูมีความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัย
74
สำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดการเรียนการสอน
และมีความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านวัสดุและสื่อการเรียนการ
สอน ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่พบความแตกต่าง
75
ตารางที่ 12 การศึกษาเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน
ความต้องการ แหล่งความ
แปรปรวน df SS MS F
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
488.66
13083.99
ด้านหลักสูตรและการนำ
หลักสูตรไปใช้
รวม 203 13572.65
244.33
65.09
3.75*
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
136.99
4239.92
ด้านการจัดการเรียนการสอน
รวม 203 4376.88
68.48
21.09
3.25*
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
221.40
12257.67
ด้านนิเทศภายใน
รวม 203 12479.07
110.70
60.98
1.82
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
398.027
7863.38
ด้านวัดผลและประเมินผล
รวม 203 8252.41
194.51
39.12
4.97**
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
139.80
8997.89
ด้านวัสดุและสื่อการเรียน
การสอน
รวม 203 9137.69
69.90
44.77
1.56
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
592.03
17118.26
ด้านการประชุมอบรมทาง
วิชาการ
รวม 203 17710.29
296.02
85.17
3.48*
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
675.95
50054.65
ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสาร
สนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
ในโรงเรียน รวม 203 50730.60
337.98
249.03
1.36
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
7859.60
477947.91
โดยรวมทุกด้าน
รวม 203 485807.51
3929.80
2377.85
1.65
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
76
จากตารางที่ 12 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา เมื่อ
จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน โดยรวมทุกด้านไม่พบความแตกต่าง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบ
ว่า ครูมีความต้องการด้านวิชาการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในด้านวัดผลและ
ประเมินผล และมีความต้องการด้านวิชาการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้าน
หลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการประชุมอบรมทางวิชาการ
ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่พบความแตกต่าง
เนื่องจากความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา เมื่อจำแนกตามประสบ
การณ์ทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้วิจัยจึงเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยราย
คู่ โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่ (Schaffe) ผลปรากฏดังตาราง
77
ตารางที่ 13 การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียน
ประถมศึกษา ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน
ประสบการณก์ ารทาํ งาน 1 - 10 ปี 11 - 20 ปี 21 ปีขึ้นไป
X
__ 32.59 30.89 35.17
1 - 10 ปี
11 - 20 ปี
21 ปีขึ้นไป
32.59
30.89
35.17
- 1.71
-
2.58
4.29 *
-
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 13 พบว่า ครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 11 - 20 ปี กับ ประสบการณ์การ
ทำงาน 21 ปีขึ้นไป มีความต้องการด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 21 ปีขึ้นไป มีความต้องการด้าน
หลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้สูงกว่าครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 11 – 20 ปี ส่วนคู่อื่น ๆ
ไม่พบความแตกต่าง
78
ตารางที่ 14 การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความต้องการด้านวิชาการของครู
โรงเรียนประถมศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน
ประสบการณก์ ารทาํ งาน 1 - 10 ปี 11 - 20 ปี 21 ปีขึ้นไป
X
__ 34.01 32.33 32.43
1 - 10 ปี
11 - 20 ปี
21 ปีขึ้นไป
34.01
32.33
32.43
- 1.68
-
1.58
0.90
-
จากตารางที่ 14 พบว่า ผลทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความต้องการด้านวิชาการของ
ครูโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอนแล้วไม่พบความแตกต่างเป็นรายคู่ แสดงว่า
เมื่อจำแนกตามประสบการณ์การทำงานครูความต้องการทางด้านวิชาการ ด้านการจัดการเรียนการ
สอน ไม่พบความแตกต่าง
ตารางที่ 15 การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความต้องการด้านวิชาการของครู
โรงเรียนประถมศึกษา ด้านวัดผลและประเมินผล จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน
ประสบการณก์ ารทาํ งาน 1 - 10 ปี 11 - 20 ปี 21 ปีขึ้นไป
X
__ 46.57 45.31 43.06
1 - 10 ปี
11 - 20 ปี
21 ปีขึ้นไป
46.57
45.31
43.06
- 1.26
-
3.51**
2.25
-
** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
จากตารางที่ 15 พบว่า ครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 - 10 ปี กับ ประสบการณ์การ
ทำงาน 21 ปีขึ้นไป มีความต้องการเกี่ยวกับด้านวัดผลและประเมินผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 โดยครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 – 10 ปี มีความต้องการด้านวัดผลและ
ประเมินผลสูงกว่าครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 21 ปีขึ้นไป ส่วนคู่อื่น ๆ ไม่พบความแตกต่าง
79
ตารางที่ 16 การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความต้องการด้านวิชาการของครู
โรงเรียนประถมศึกษา ด้านการประชุมอบรมทางวิชาการ จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน
ประสบการณก์ ารทาํ งาน 1 - 10 ปี 11 - 20 ปี 21 ปีขึ้นไป
X
__ 61.09 58.80 56.89
1 - 10 ปี
11 - 20 ปี
21 ปีขึ้นไป
61.09
58.80
56.89
- 2.29
-
4.20*
1.91
-
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 16 พบว่า ครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 - 10 ปี กับ ประสบการณ์การ
ทำงาน 21 ปีขึ้นไป มีความต้องการเกี่ยวกับด้านประชุมอบรมทางวิชาการ แตกต่างกันอย่างมีนัย
สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 – 10 ปี มีความต้องการด้าน
ประชุมอบรมทางวิชาการสูงกว่าครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 21 ปีขึ้นไป ส่วนคู่อื่น ๆ ไม่พบ
ความแตกต่าง
80
ตารางที่ 17 การศึกษาเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ความต้องการ แหล่งความ
แปรปรวน df SS MS F
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
427.06
13145.59
ด้านหลักสูตรและการนำไปใช้
รวม 203 13572.65
213.53
65.40
3.27*
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
101.77
4275.11
ด้านการจัดการเรียนการสอน
รวม 203 4376.88
50.886
21.27
2.39
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
35.00
12444.07
ด้านนิเทศภายใน
รวม 203 12479.07
17.50
61.91
0.28
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
292.06
7960.35
ด้านวัดผลและประเมินผล
รวม 203 8252.41
146.03
39.60
3.69*
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
18.47
9119.22
ด้านวัสดุประกอบหลักสูตร
และสื่อการเรียนการสอน
รวม 203 9137.69
9.23
45.37
0.20
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
50.129
17660.17
ด้านการประชุมอบรมทางวิชาการ
รวม 203 17710.29
25.07
87.86
0.29
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
625.46
50105.14
ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสาร -
สนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ใน
โรงเรียน รวม 203 50730.60
312.73
249.28
1.26
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
2
201
2489.15
โดยรวมทกุ ดา้ น 483318.36
รวม 203 485807.51
1244.58
2404.57
0.52
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
81
จากตารางที่ 17 พบว่า ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา เมื่อจำแนก
ตามขนาดโรงเรียน โดยรวมทุกด้าน พบว่า มีความต้องการไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่าครูมีความต้องการด้านวิชาการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านหลัก
สูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านวัดผลและประเมินผล ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่พบความแตกต่าง
เนื่องจากความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา เมื่อจำแนกตามขนาด
โรงเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้วิจัยจึงเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่
โดยใช้วิธีของเชฟเฟ่ ผลปรากฏดังตาราง
ตารางที่ 18 การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความต้องการด้านวิชาการของครู
โรงเรียนประถมศึกษา ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ขนาดโรงเรยี น ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก
X
__ 32.76 31.49 35.34
ขนาดใหญ่
ขนาดกลาง
ขนาดเล็ก
32.76
31.49
35.34
- 1.26
-
2.58
3.85*
-
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 18 พบว่า โรงเรียนขนาดกลางกับโรงเรียนขนาดเล็ก มีความต้องการเกี่ยวกับ
ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย
โรงเรียนขนาดเล็กมีความต้องการเกี่ยวกับด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้สูงกว่าโรงเรียน
ขนาดกลาง ส่วนคู่อื่น ๆ ไม่พบความแตกต่าง
82
ตารางที่ 19 การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความต้องการด้านวิชาการของครู
โรงเรียนประถมศึกษา ด้านวัดผลและประเมินผล จำแนกตามขนาดโรงเรียน
ขนาดโรงเรยี น ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก
X
__ 44.06 46.63 44.59
ขนาดใหญ่
ขนาดกลาง
ขนาดเล็ก
44.06
46.63
44.59
- 2.57*
-
0.52
2.04
-
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 19 พบว่า โรงเรียนขนาดกลางกับโรงเรียนขนาดใหญ่ มีความต้องการเกี่ยวกับ
ด้านวัดผลและประเมินผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยโรงเรียนขนาด
กลางมีความต้องการเกี่ยวกับด้านวัดผลและประเมินผลสูงกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่ ส่วนคู่อื่น ๆ ไม่พบ
ความแตกต่าง
83
ตอนที่ 4 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
ตารางที่ 20 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรจัดอบรมหลักสูตรและการปฏิรูปการศึกษา โดยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละ
สาขาที่เกี่ยวข้อง
63 30.88
2. ควรจัดงบประมาณในการจัดทำเอกสารหลักสูตรเพิ่มเติมในการบริการครู 55 26.96
3. ควรให้คำแนะนำแก่ครูเกี่ยวกับหลักสูตรและเอกสารจัดทำหลักสูตร 42 20.59
4. ควรติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตรเพื่อการแก้ไขปรับปรุง 18 8.82
จากตารางที่ 20 พบว่า ข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ มากที่สุด คือ ควรจัดอบรมหลักสูตรและการปฏิรูปการ
ศึกษา โดยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาที่เกี่ยวข้อง คิดเป็นร้อยละ 30.88 รองลงมา คือ ควรจัดงบ
ประมาณในการจัดทำเอกสารหลักสูตรเพิ่มเติมในการบริการครู คิดเป็นร้อยละ 26.96 และควรให้คำ
แนะนำแก่ครูเกี่ยวกับหลักสูตรและเอกสารจัดทำหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 20.59
84
ตารางที่ 21 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี ด้านการจัดการเรียนการสอน
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรจัดครูเข้าชั้นเรียนตามความรู้ความสามารถและความถนัด 58 28.43
2. สนับสนุนให้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอน 46 22.55
3. ควรลดชั่วโมงการสอนให้เหมาะสม 33 16.18
4. ควรจัดประเมินผลการปฏิบัติการสอน 21 10.45
5. ควรจัดตารางสอนก่อนเปิดภาคเรียน 8 3.92
จากตารางที่ 21 พบว่า ข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านการจัดการเรียนการสอน มากที่สุด คือ ควรจัดครูเข้าชั้นเรียนตามความรู้ความสามารถและ
ความถนัด คิดเป็นร้อยละ 28.43 รองลงมา คือ สนับสนุนให้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผน
การสอน คิดเป็นร้อยละ 22.55 และควรลดชั่วโมงการสอนให้เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 16.18
85
ตารางที่ 22 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี ด้านการนิเทศภายใน
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรกำหนดแผนการนิเทศภายในไว้ให้ชัดเจน 52 25.49
2. สนับสนุนให้ครูนิเทศภายในกันเอง 37 18.14
3. ควรจัดระยะเวลาในการนิเทศภายในให้เหมาะสม 29 14.22
จากตารางที่ 22 พบว่า ข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านการนิเทศภายใน มากที่สุด คือ ควรกำหนดแผนการนิเทศภายในไว้ให้ชัดเจน คิดเป็นร้อยละ
25.49 รองลงมา คือ สนับสนุนให้ครูนิเทศภายในกันเอง คิดเป็นร้อยละ 18.14 และควรจัด
ระยะเวลาในการนิเทศภายในให้เหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 14.22
86
ตารางที่ 23 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี ด้านวัดผลและประเมินผล
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรมีการวิเคราะห์ข้อสอบและเก็บข้อสอบที่มีคุณภาพไว้ใช้ในการทดสอบ
ต่อไป
51 25.00
2. ควรจัดอบรมให้ครูผู้สอนเกี่ยวกับวิธีสร้างเครื่องมือ และการวัดผลประเมิน
ผลผู้เรียน
43 21.08
3. ควรจัดหนังสือเรียน หนังสืออ่านประกอบ และหนังสืออ้างอิงต่าง ๆ เพื่อ
ใช้ในวัดผลและประเมินผล
30 14.01
4. ควรสร้างมาตรฐานในการวัดผลประเมินผลอย่างชัดเจน 23 11.27
5. ควรนำผลการประเมินไปพัฒนาระบบการวัดผลและประเมินผลของ
โรงเรียน
14 6.86
จากตารางที่ 23 พบว่า ข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านวัดผลและประเมินผล มากที่สุด คือ ควรมีการวิเคราะห์ข้อสอบและเก็บข้อสอบที่มีคุณภาพไว้
ใช้ในการทดสอบต่อไป คิดเป็นร้อยละ 25.00 รองลงมา คือ ควรจัดอบรมให้ครูผู้สอนเกี่ยวกับ
วิธีสร้างเครื่องมือ และการวัดผลประเมินผลผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 21.08 และควรจัดหนังสือเรียน
หนังสืออ่านประกอบ และหนังสืออ้างอิงต่าง ๆ เพื่อใช้ในการวัดผลและประเมินผล คิดเป็นร้อยละ
14.01
87
ตารางที่ 24 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรสำรวจสภาพความต้องการใช้สื่อของครูในโรงเรียน 56 27.45
2. ควรจัดหาสื่อการเรียนการสอนให้เพียงพอ 38 18.63
3. ควรเตรียมและซ่อมบำรุงวัสดุอุปกรณ์ 35 17.16
4. ควรจัดประชาสัมพันธ์และให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ 24 11.76
5. ควรนำวัสดุอุปกรณ์ท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน 5 2.45
จากตารางที่ 24 พบว่า ข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน มากที่สุด คือ ควรสำรวจสภาพความต้องการใช้สื่อของครูในโรง
เรียน คิดเป็นร้อยละ 27.45 รองลงมา คือ ควรจัดหาสื่อการเรียนการสอนให้เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ
18.63 และควรเตรียมและซ่อมบำรุงวัสดุอุปกรณ์คิดเป็นร้อยละ 17.16
88
ตารางที่ 25 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี ด้านประชุมอบรมทางวิชาการ
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรสำรวจความต้องการในการประชุมอบรมทางวิชาการ 48 23.53
2. ควรนำผลการประเมินการจัดประชุมอบรมทางวิชาการภายในโรงเรียน
ไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพโรงเรียน
42 20.59
3. ควรจัดให้มีการประชุมอบรมทางวิชาการในโรงเรียน 39 19.12
4. ควรจัดหาวิทยากรในท้องถิ่นมาประชุมอบรมทางวิชาการภายในโรงเรียน 19 9.31
5. ควรจัดระยะเวลาในการอบรมให้เหมาะสม 18 8.82
จากตารางที่ 25 พบว่า ข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านประชุมอบรมทางวิชาการ มากที่สุด คือ ควรสำรวจความต้องการในการประชุมอบรมทางวิชา
การ คิดเป็นร้อยละ 23.53 รองลงมา คือ ควรนำผลการประเมินการจัดประชุมอบรมทางวิชาการ
ภายในโรงเรียนไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 20.59 ควรจัดให้มีการประชุม
อบรมทางวิชาการในโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 19.12
89
ตารางที่ 26 การศึกษาข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตธนบุรี ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียน
รายการ จำนวน ร้อยละ
1. ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดซื้อหนังสือเอกสาร วารสารต่าง ๆ 63 30.88
2. ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วม 41 20.08
3. ควรขยายบริเวณห้องสมุดให้มีขนาดใหญ่ขึ้น 33 16.18
4. ควรจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสนใจการใช้ห้องสมุด 27 13.24
5. ควรจัดมุมในการเลือกศึกษาต่อ 16 7.84
จากตารางที่ 26 พบว่า ข้อเสนอแนะความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ด้านห้องสมุด มากที่สุด คือ ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดซื้อหนังสือเอกสาร วารสารต่าง ๆ คิด
เป็นร้อยละ 30.88 รองลงมา คือ ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วม คิด
เป็นร้อยละ 20.08 และควรขยายบริเวณห้องสมุดให้มีขนาดใหญ่ขึ้น คิดเป็นร้อยละ 16.18
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความต้องการและเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครู
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามเพศ ประสบ
การณ์การทำงาน และขนาดโรงเรียน ผลการศึกษา การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะที่ได้จาการ
ศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอไว้ดังนี้
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนัก
งานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน
3. เพื่อนำผลการศึกษาวิจัยไปใช้พัฒนางานด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
สมมติฐานการวิจัย
ครูโรงเรียนประถมศึกษาที่มีเพศ ประสบการณ์การทำงานและการสอนในโรงเรียนที่มีขนาดต่าง
กันมีความต้องการด้านวิชาการแตกต่างกัน
วิธีดำเนินการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูที่สอนโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2545 จำนวน 342 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
จำนวน 204 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบ่งชั้น
91
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม ซึ่งสอบถามเกี่ยวกับความต้องการด้านวิชา
การของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้น
จำนวน 1 ฉบับ มีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ คือ ระดับความต้องการมากที่สุด มาก
ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด จำนวน 66 ข้อ โดยสอบถามความต้องการด้านวิชาการของครู
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำนวน 7 ด้าน คือ ด้านหลัก
สูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการนิเทศภายใน ด้านการวัดผล
และประเมินผล ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน ด้านการประชุมอบรมทางวิชาการ และด้าน
ห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียน ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น
ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.98
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างในโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยใช้การส่งแบบสอบถาม จำนวน 204 ฉบับ ทาง
ไปรษณีย์และใช้โทรศัพท์ทวงถามในบางรายที่ยังไม่ส่งแบบสอบถามกลับคืน ได้รับแบบสอบถามมา
ทั้งสิ้น 204 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ เพื่อ
วิเคราะห์สถิติดังนี้
1. ข้อมูลสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม หาค่าร้อยละ (%)
2. เปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา โดยจำแนกตามเพศ
ประสบการณ์การทำงาน และขนาดของโรงเรียน ใช้การวิเคราะห์ด้วยค่าสถิติ t-test และ F-test
สรุปผลการวิจัย
1. ผลการศึกษาความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานคร พบว่า ครูมีความต้องการทางด้านวิชาการโดยรวมและรายด้านทั้ง 7 ด้าน
อยู่ในระดับมาก
92
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ครูโรงเรียนประถมศึกษามีความต้องการทางด้านวิชาการ
ในด้านนิเทศภายในอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการจัดการเรียนการสอนและด้านวัดผล
ประเมินผลตามลำดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า
1.1 ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีความต้องการในดับมาก ทั้ง 9 ข้อ
1.2 ด้านการจัดการเรียนการสอน ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร มีความต้องการด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก ทั้ง 8 ข้อ
1.3 ด้านนิเทศภายใน ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร มีความต้องการด้านนิเทศภายในอยู่ในระดับมากทุกข้อ ยกเว้น การตรวจเยี่ยมชั้น
เรียนขณะทำการสอนและคำแนะนำในส่วนของการจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหารอยู่ในระดับ
ปานกลาง
1.4 ด้านการวัดผลและประเมินผล ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร มีความต้องการทางด้านการวัดผลประเมินผลอยู่ในระดับมาก ทั้ง 11 ข้อ
1.5 ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีความต้องการในระดับมาก ทั้ง 9 ข้อ
1.6 ด้านประชุมอบรมทางวิชาการ ครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร มีความต้องการด้านการประชุมอบรมทางวิชาการอยู่ในระดับมาก ทั้ง 8 ข้อ โดย
ข้อที่ครูมีความต้องการมากที่สุดคือคือ ต้องการให้มีการอบรมเกี่ยวกับวิธีสอนแบบต่าง ๆ เช่น การ
สอนแบบบูรณาการและการสอนแบบซิปปา โมเดล (CIPPA Model)
1.7 ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียน ครูโรง
เรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีความต้องการในระดับมาก ยก
เว้นการจัดหาหนังสือ เอกสารและสิ่งพิมพ์ให้เพียงพอกับความต้องการของนักเรียน สำหรับข้อที่ครู
มีความต้องการมากที่สุดคือ การติดตามและประเมินการดำเนินงานการใช้ห้องสมุดและความก้าว
หน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียนครูมีความต้องการห้องวิทยาศาสตร์และห้อง
ปฏิบัติการทางภาษามากที่สุด
2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เมื่อจำแนกตามเพศ โดยภาพรวมพบว่าครูหญิงมีความ
ต้องการด้านวิชาการสูงกว่าครูชาย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตร
ไปใช้ มีความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการ
93
สอนมีความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนในด้านอื่น ๆ ไม่พบความ
แตกต่าง
3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยภาพรวมพบว่ามี
ความต้องการไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านวัดผลและประเมินผลมี
ความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านหลักสูตรและการนำหลัก
สูตรไปใช้ ด้านการจัดการเรียนการสอนและด้านประชุมอบรมทางวิชาการ มีความต้องการแตกต่าง
กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงได้ทำการสอบเป็นรายคู่ ผลการทดสอบพบว่า ครูที่มี
ประสบการณ์การทำงาน 11 – 20 ปี กับครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 21 ปีขึ้นไป มีความต้องการ
ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนครูที่มี
ประสบการณ์การทำงาน 1 – 10 ปี กับครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 21 ปีขึ้นไป มีความต้องการ
ด้านวัดผลประเมินและด้านการประชุมอบรมทางวิชาการแตกต่างกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
.01
4. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมพบว่ามี
ความต้องการด้านวิชาการไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามี
ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้
และด้านการวัดผลและประเมินผล จึงทำการทดสอบเป็นรายคู่ ผลการทดสอบพบว่า โรงเรียน
ขนาดกลางกับโรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนขนาดกลางกับโรงเรียนขนาดใหญ่ มีความต้องการใน
ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้และด้านวัดผลและประเมินผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่
ระดับ .05
การอภิปรายผล
จากการสรุปและวิเคราะห์ข้อมูล ระดับความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถม
ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร พบประเด็นที่น่าสนใจและนำมาอภิปรายได้ดัง
ต่อไปนี้
1. ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านพบว่า ครูมีความต้องการด้านวิชาการอยู่ในระดับมาก ซึ่ง
สอดคล้องกับงานวิจัยของนิทัศน์ ปลัดพรหม (2542 : บทคัดย่อ) ได้ทำการวิจัยเรื่องความต้องการงาน
วิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย
94
ผลการวิจัยพบว่า ครูมีความต้องการวิชาการโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ
ผลการวิจัยของทองเบิ้ม มีชำนาญ (2540 : ก- ข) ได้ทำการวิจัยเรื่องการศึกษาการบริหารงานวิชาการ
ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่าสภาพการบริหาร
งานวิชาการมีปัญหาอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ จุฬารัตน์ เย็นสวัสดิ์ (2541 : บท
คัดย่อ) ได้ทำการวิจัยเรื่อง ความต้องการในการพัฒนาทางด้านวิชาการของครูผู้สอนระดับก่อน
ประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครพนม ผลการวิจัยพบว่าครูมีความต้องการ
พัฒนาทางด้านวิชาการโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของ
เกรียงไกร ศรีลี (2542 : บทคัดย่อ) ซึ่งการวิจัยเรื่องการศึกษาความต้องการสนับสนุนการปฏิบัติงาน
วิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลำภู ผลการวิจัย
พบว่าครูมีความต้องการสนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบประเด็นที่นำมาอภิปรายผลได้ดังนี้
1.1 ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ครูมีความต้องการในระดับมากทุกข้อ เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อพบว่าครูมีความต้องการใช้หลักสูตรเป็นหลักในการจัดประสบการณ์การเรียนการ
สอนเป็นอันดับสูงสุดซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของนิทัศน์ ปลัดพรหม (2542 : 68) ว่าครูต้องการนำ
หลักสูตรไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ปัจจุบันพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ได้กำหนดให้มีการปรับเปลี่ยนการใช้หลักสูตร ซึ่งจากเดิมโรงเรียนประถมศึกษาจะใช้หลักสูตร
ประถมศึกษา พ.ศ.2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) ในทุกระดับชั้น โดยแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม
ประสบการณ์ คือ กลุ่มทักษะ กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย กลุ่ม
การงานพื้นฐานอาชีพและกลุ่มประสบการณ์พิเศษ มาใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2545
ซึ่งได้กำหนดโครงสร้างของการเรียนรู้มาเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลป การงานอาชีพและ
เทคโนโลยีและภาษาต่างประเทศ (กรมวิชาการ 2545 : 5) ถ้าพิจารณาดูให้ถ่องแท้แล้วจะพบว่าครูยัง
ขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้หลักสูตรทั้งหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ.2521 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.2533) และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2545 จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้สอนมีความต้องการ
เอกสารประกอบหลักสูตรเพื่อทำความเข้าใจและนำมาเป็นแนวทางในการจัดแนวการสอน แผนการ
เรียนการสอน อีกประการหนึ่งหลักสูตรยังกำหนดให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น โดยการ
เชิญบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถมาเป็นวิทยากรในการให้ความรู้หรือครูผู้สอนจะพานักเรียนออก
ไปแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความสนใจและความถนัดของนักเรียนแต่ละคนก็
ได้ ซึ่งจะทำให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง
1.2 ด้านการจัดการเรียนการสอน ครูมีความต้องการในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อพบว่าครูมีความต้องการเกี่ยวกับการจัดหาสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรมการ
95
เรียนการสอนของนักเรียนอย่างเพียงพอ ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละ
ชั้น แต่ละวิชา แต่ละชั่วโมง ครูผู้สอนจะต้องจัดเตรียมสื่อการสอนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ แต่ทั้งนี้อาจจะสืบเนื่องมากจากครูมีภาระในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน
หลายระดับชั้น หลายวิชาและมีภาระงานอื่นที่รับผิดชอบมากจึงทำให้มีเวลาในการจัดหาหรือผลิตสื่อ
น้อยและไม่เพียงพอกับความต้องการ อีกประการหนึ่งโรงเรียนมีข้อจำกัดในเรื่องของงบประมาณที่
จะนำมาจัดหาสื่อหรือวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตสื่อ
1.3 ด้านนิเทศภายใน ครูมีความต้องการในระดับมาก ยกเว้นการตรวจเยี่ยมชั้นเรียนขณะ
ทำการสอนและคำแนะนำในส่วนของการจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหาร อยู่ในดับปานกลาง ซึ่ง
คล้ายกับงานวิจัยของทวี สิงหราช (2540 : 8) ได้ทำการศึกษาความต้องการของครูเกี่ยวกับการนิเทศ
ภายในเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนคำเที่ยงอนุสสรณ์ จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบ
ว่า การนิเทศภายในเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องการศึกษาดูงานโรงเรียนที่ชนะการ
ประกวดกิจกรรมดีเด่นด้านต่าง ๆ เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพการเรียน
การสอนของโรงเรียน นอกจากนี้ยังต้องการให้มีการประชุมครูผู้สอน เพื่อระดมความคิดในการปรับ
ปรุงคุณภาพการเรียนการสอน ต้องการให้คำปรึกษาและการเยี่ยมชั้นเรียนจากฝ่ายบริหาร การ
ประกวดครูดีเด่นและประกาศเกียรติคุณครูที่ทำชื่อเสียงให้โรงเรียน ส่วนครูที่ต้องการการตรวจเยี่ยม
ชั้นเรียนขณะทำการสอนและคำแนะนำในส่วนของการจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหาร อยู่ใน
ระดับปานกลางนั้น ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากครูผู้สอนได้ทำการนิเทศการสอนกันระหว่างครูด้วยกันเป็น
ปกติ และมีการแนะนำในส่วนที่บกพร่องและแก้ไขอยู่เสมอ นอกจากนี้นังมีการเยี่ยมชั้นเรียนจาก
ครูและผู้บริหารในขณะที่ทำการสอนและไม่ได้ทำการสอนและมีการติชมกันอยู่เสมอ จึงทำให้ความ
ต้องการ การนิเทศจากผู้บริหารลดลง
1.4 ด้านการวัดผลและประเมินผล ครูมีความต้องการในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อพบว่าครูมีความต้องการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูได้ใช้วิธีการวัดผลประเมินผลอย่าง
หลากหลาย ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของนิทัศน์ ปลัดพรหม (25421 : 141) ที่กล่าวว่าครูที่ปฏิบัติ
งานในโรงเรียนขนาดกลางมีความต้องการใช้เครื่องมือวัดผลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินผลการ
เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ จัดทำคลังข้อสอบทุกกลุ่มประสบการณ์และมีวิธีการวัดผลประเมินผลด้วยวิธี
การหลากหลาย ซึ่งผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่า การวัดผลประเมินผลเป็นการปรับปรุงการเรียนการสอน
ดังนั้นเครื่องมือในการวัดผลประเมินผลควรมีหลายรูปแบบและหลากหลาย ซึ่งครูผู้สอนจะใช้วัดผล
นั้นควรวัดผลก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียนเพื่อทำให้ทราบว่านักเรียนมีข้อบกพร่องมากน้อย
เพียงใด ดังนั้นการวัดผลประเมินผลจึงถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่จะช่วยให้การเรียนรู้ของนัก
เรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการตรวจสอบว่านักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ที่กำหนดไว้หรือไม่ มากน้องเพียงใด และยังจะเป็นข้อมูลให้ครูผู้สอนนำผลของการวัดผลประเมิน
96
ผลไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งต่อไปได้ อีกประการหนึ่งครูผู้สอนอาจจะ
ไม่มีความรู้ความเข้าใจในการวัดผลประเมินผลอย่างเพียงพอ จึงควรจัดให้มีการอบรมและให้ความรู้
เกี่ยวกับการวัดผลประเมินผลกับครูผู้สอนเป็นระยะ
1.5 ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน ครูมีความต้องการในระดับมากทุกข้อ ยกเว้นการ
สำรวจสภาพความพร้อมของสื่อการเรียนการสอน ซึ่งครูมีความต้องการในระดับปานกลาง ผู้วิจัยมี
ความคิดเห็นว่า สภาพของสื่อการเรียนการสอนของแต่ละโรงเรียนมีอยู่แล้วในระดับหนึ่งแต่ยังไม่
ขาดการสำรวจสภาพควมพร้อมของสื่อที่มีอยู่แล้วนั้นว่าวัสดุชิ้นใดที่ยังสามารถใช้งานได้ ชิ้นใดชำรุด
แต่สามารถนำมาซ่อมแซมได้ ชิ้นใดชำรุดแล้วไม่สามารถซ่อมได้ ดังนั้นหน่วยงานต้นสังกัดหรือผู้ที่
มีส่วนเกี่ยวข้องควรจัดให้มีการสำรวจสภาพของวัสดุและสื่อการเรียนการสอนและสำรวจดูว่าโรง
เรียนใดมีสื่อการเรียนการสอนอยู่แล้วไม่ได้ใช้ โดยนำมาแลกเปลี่ยนกันใช้ระหว่างโรงเรียนภายใน
กลุ่ม ดีกว่าจะปล่อยให้อยู่โดยเปล่าประโยชน์ หรือจัดสรรวัสดุชิ้นใหม่มาให้ นอกจากนี้หน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องควรสำรวจความต้องการว่าโรงเรียนใดต้องการวัสดุประเภทใด
อะไรบ้าง มากน้อยเพียงใดจึงจัดสรรวัสดุสื่อการเรียนการสอนมาให้ หรือจัดสรรเป็นงบประมาณมา
ให้แต่ละโรงเรียนเพื่อที่ครูผู้สอนจะดำเนินการจัดหาสื่อการเรียนการสอนที่ตรงกับความต้องการหรือ
ตรงกับกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละเรื่อง
1.6 ด้านการประชุมอบรมทางวิชาการ ครูมีความต้องการในระดับมากทุกข้อ เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ครูมีความต้องการเกี่ยวกับการจัดอบรมเกี่ยวกับวิธีการสอนแบบต่าง ๆ เช่น
การสอนแบบบูรณาการและการสอนแบบซิปปา โมเดล (CIPPA Model) ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่า
การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน ส่งเสริมให้ครูใช้วิธีการสอนในหลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละรูปแบบมี
ลักษณะการจัดการเรียนการสอนแตกต่างกันออกไป แต่ทั้งนี้ครูผู้สอนยังขาดความรู้ความเข้าใจใน
เทคนิคหรือวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบต่าง ๆ ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่บรรลุวัตถุ
ประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้นจึงควรจัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอนให้กับครู เพื่อให้
เกิดความรู้ความเข้าใจและสามารถนำมาปรับปรุงการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิ
ผลมากขึ้น
1.7 ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียน ครูมีความ
ต้องการในระดับมากทุกข้อ ยกเว้นการจัดหาหนังสือ เอกสารและสิ่งพิมพ์ให้เพียงพอกับความ
ตอ้ งการของนกั เรยี น ซึ่งแตกต่างกับงานวิจัยของนิทัศน  ปลัดพรหม (2542 : 75) ที่พบว่าครูมีความ
ต้องการการจัดหาเอกสาร หนังสือประจำห้องสมุดอย่างเพียงพอ และแตกต่างกับงานวิจัยของ
เกรียงไกร ศรีลี (2542 :84) ที่พบว่าครูมีความต้องการการสนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการด้านห้อง
สมุดเป็นอันดับหนึ่ง ซึ่งผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าโรงเรียนประถมศึกษาในต่างจังหวัด ยังขาดแคลนใน
เรื่องงบประมาณในการจัดหาหนังสือ เอกสาร วารสารหรือสิ่งตีพิมพ์เพื่อจะนำมาไว้ในห้องสมุดยัง
97
ไม่เพียงพอกับความต้องการของนักเรียนซึ่งจะคล้ายคลึงกับโรงเรียนประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร
แต่ยังมีข้อแตกต่างกันอยู่ที่ว่าโรงเรียนประถมศึกษาในต่างจังหวัดส่วนใหญ่กระจายอยู่ตามหมู่บ้าน
มากกว่าในตัวจังหวัด ระบบการคมนาคมไม่สะดวกและแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลมีน้อยและห่างไกลจาก
ตัวโรงเรียน ซึ่งแตกต่างกับโรงเรียนประถมศึกษาในกรุงเทพมหานครที่มีการคมนาคมสะดวก แหล่ง
ค้นคว้าหาความรู้นอกจากห้องสมุดในโรงเรียนแล้วยังมีแหล่งอื่นที่จะให้นักเรียนไปค้นคว้าหาความรู้
ได้มากกว่า เช่นห้องสมุดของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ระดับอุดมศึกษา หรืออินเตอร์เน็ต
(Internet) และเว็บไซด์ (Website) ต่าง ๆ นอกจากนี้นักเรียนยังสามารถขอหนังสือ เอกสาร วาร
สารหรือสิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ จากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาได้
สำหรับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หรือ IT โรงเรียนควร
ต้องมีแผนหลักซึ่งเป็นการฉายให้เห็นภาพรวมและกรอบความคิดของการพัฒนา IT ของโรงเรียน
ระบบสารสนเทศของโรงเรียนจำเป็นต้องมีลักษณะเป็นเครือข่ายและต้องอาศัยการประสานกันมิใช่
ต่างคนต่างทำ สมควรต้องเชื่อมโยงกันโดยสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ การพัฒนาโครงสร้างพื้น
ฐานดา้ น IT ไม่ว่าจะเป็นด้านโทรคมนาคม ด้านฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร  ควรมีแผนพัฒนาบุคลากร
ด้าน IT รวมอยู่ในแผนหลัก เมื่อโรงเรียนสามารถพัฒนา IT ขึ้นอย่างเต็มภาคภูมิในโรงเรียนแล้ว
นักเรียนก็สามารถช่วยเหลือผู้ปกครองทางบ้านได้ ยิ่งไปกว่านี้โรงเรียนยังสามารถฝึกอบรมบุคลากร
ให้ชุมชนได้ด้วย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สำนักงานคณะ
กรรมการการศึกษาแห่งชาติ,2545 : 27) เมื่อถึงเวลานั้นประเทศของเราก็มีพลเมืองซึ่งมีศักยภาพ
สามารถแข่งขันกับชาวโลกได้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
โรงเรียนควรมีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรให้สามารถเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีและมีความ
ชำนาญด้าน IT อย่างชัดเจน นอกจากนี้โรงเรียนจะต้องสร้างและจัดหาอุปกรณ์ด้าน IT ที่ทันสมัย
เหมาะสม เพียงพอให้แก่ครูและบุคลากรในโรงเรียนไว้ใช้งาน
IT เป็นกลไกสำคัญของ E-Commerce เมื่อนำ IT มาพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียนได้ ก็
ถือว่าโรงเรียนได้ปฏิบัติหน้าที่รองรับโครงการ E-Citizen ของชาติด้วย
2. ผลการเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนัก
งานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เมื่อจำแนกตามเพศโดยภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่ว่าครูโรงเรียนประถมศึกษาที่มีเพศต่างกัน
มีความต้องการด้านวิชาการต่างกัน ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้แตกต่างกับงานวิจัยของนิทัศน์
ปลัดพรหม (2542 : บทคัดย่อ) ที่พบว่าครูเพศชายและครูเพศหญิงมีความต้องการวิชาการไม่แตกต่าง
กัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าครูชายและหญิงมีความต้องการด้านวิชาการแตกต่างกันในด้าน
หลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดการเรียนการสอนและด้านวัสดุและสื่อการเรียนการ
สอน ทั้งนี้ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่า เพศเป็นตัวกำหนดว่าครูหญิงมีความต้องการด้านวิชาการมากกว่า
98
ครูชาย ทั้งอาจจะเป็นเพราะว่าครูหญิงจะมีความละเอียดอ่อน มีความคิดการตัดสินใจช้าและรอบคอบ
กว่า ส่วนครูชายนั้นจะเป็นผู้ที่จะต้องตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ขาดความละเอียด
รอบคอบได้ในส่วนของรายละเอียดปลีกย่อยของบางเรื่องได้ อีกประการหนึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ
วิจัยครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นครูเพศหญิง ซึ่งอาจจะส่งผลให้ความต้องการด้านวิชาการสูงกว่าครูเพศชายได้
3. ผลการเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนัก
งานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยภาพรวมมีความต้องการ
ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ว่าครูที่มีประสบการณ์ต่างกันมีความต้องการด้านวิชา
การแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาในรายด้านพบว่าครูมีความต้องการแตกต่างกันใน 4 ด้าน คือด้านหลัก
สูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัดผลและประเมินผลและด้าน
ประชุมอบรมทางวิชาการ ทั้งนี้ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าครูที่มีประสบการณ์การการทำงาน 21 ปีขึ้นไป
มีความรู้ความเข้าใจ มีประสบการณ์การทำงาน มีการตัดสินใจได้รวดเร็วกว่าครูที่มีประสบการณ์การ
ทำงาน 11 – 20 ปี และครูที่มีประสบการณ์ที่มีการทำงาน 1 – 10 ปี จากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้
พบว่า ครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 - 10 ปี ควรจะต้องมีการพัฒนาตนเอง โดยส่งเสริมให้เข้ารับ
การประชุมและอบรมทางวิชาการ อีกทั้งยังต้องได้รับการชี้แนะจากผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงาน
ที่สูงกว่า เพื่อให้ครูที่มีประสบการณ์ 1 - 10 ปี เกิดความเชื่อมั่นในตนเองมากยิ่งขึ้น
4. ผลการเปรียบเทียบความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนัก
งานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยภาพรวมพบว่าไม่มีความแตกต่าง
กัน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ที่ว่าครูที่สอนในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความ
ต้องการด้านวิชาการแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ครูโรงเรียนขนาดกลางกับโรงเรียน
ขนาดเล็กมีความต้องการแตกต่างและมีข้อจำกัดในด้านทรัพยากร เช่น จำนวนนักเรียน บุคลากร งบ
ประมาณ อาคารสถานที่ รวมถึงการจัดสรรต่าง ๆ ถ้าพิจารณากันให้ละเอียดแล้วจะเห็นว่าโรงเรียนที่
มีขนาดต่างกันจะได้รับการจัดสรรงบประมาณที่ต่างกัน โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดใหญ่จะได้รับการ
จัดสรรงบประมาณมากกว่าโรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดกลางได้รับการจัดสรรงบ
ประมาณมากกว่าโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งงบประมาณนี้ถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่มีต่อการจัดหาเอกสาร
ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารหลักสูตรหรือเอกสารเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล นอกจากนี้งบ
ประมาณยังมีส่วนสนับสนุนให้โรงเรียนส่งบุคลากรเข้ารับการศึกษาอบรมทางวิชาการในส่องที่ครูยัง
ไม่เข้าใจ อีกประการหนึ่งโรงเรียนขนาดใหญ่ยังได้เปรียบในเรื่องของบุคลากรที่มีจำนวนมากกว่า
และบุคลากรกลุ่มนี้อาจจะเป็นกลุ่มที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของหลักสูตรและการนำหลักสูตรไป
ใช้ รวมถึงการวัดผลประเมินผลมากกว่าโรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็กได้
99
ข้อเสนอแนะ
จากผลการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานวิชาการของโรง
เรียนประถมศึกษา ดังต่อไปนี้
1. ข้อเสนอแนะสำหรับครู
1.1 จัดครูเข้าชั้นเรียนตามความรู้ความสามารถและความถนัด
1.2 ควรทำความเข้าใจและชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของการนิเทศภายใน
1.3 ควรสำรวจความต้องการในการประชุมอบรมทางวิชาการ
1.4 ควรจัดหาสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
อย่างเพียงพอ
1.5 ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดซื้อหนังสือ เอกสารและวารสารหรือนิตยสารต่าง ๆ
ให้มีความสมบูรณ์และหลากหลาย
1.6 ควรจัดอบรมหลักสูตรและการปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ข้อเสนอแนะสำหรับโรงเรียน
2.1 ควรกำหนดแผนการนิเทศภายในไว้ให้ชัดเจน
2.2 จัดหาหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรเพื่อให้เป็นแนวทางในการจัดการเรียน
การสอน
2.3 ควรสำรวจความต้องการสื่อและวัสดุประกอบการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่ม
ประสบการณ์
2.4 ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการวัดผลและประเมินผล ด้วยวิธีการอันหลากหลาย
2.5 ควรใช้การฝึกอบรมและการประชุมสัมมนาหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการเป็น
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาบุคลากร
2.6 จัดทำแผนติดตามและประเมินผลการดำเนินงานและปรับปรุงห้องสมุด
2.7 ควรมีแผนหลักด้าน IT ให้มีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรและเครื่องมืออุปกรณ์
ด้าน IT ที่ชัดเจน
2.8 เร่งพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้รู้ IT และพัฒนาบุคลากร IT ให้เชี่ยวชาญ
3. ข้อเสนอแนะสำหรับหน่วยงานต้นสังกัด
3.1 ควรจัดส่งศึกษานิเทศก์ชั้นนำหรือบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจมาให้ความรู้เกี่ยวกับ
การนิเทศภายใน การวัดผลประเมินผล การสอนซ่อมเสริม การใช้หลักสูตร วิธีการสำรวจ การจัด
100
หารวมทั้งการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและการกำหนดเกณฑ์การวัดผลประเมินผลให้มีมาตร
ฐานเดียวกัน
3.2 การปฏิรูปการศึกษาในระดับโรงเรียนก็คือการปฏิรูปการเรียนการสอนในโรงเรียน
การปฏิรูปการเรียนการสอนจะประสบความสำเร็จก็ต่อเมื่อได้ประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไป
ในโรงเรียนอย่างเต็มรูปแบบ
3.3 เร่งพัฒนา สนับสนุนและส่งเสริมโครงสร้างสารสนเทศระดับชาติให้ทั่วประเทศ
3.4 การใช้หลักการ “รฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส” เพอื่ ปฏริ ปู การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ได้
ฉันใด การใช้หลักการ “เทคโนโลยีสารสนเทศ” ก็เพื่อการปฏิรูปการเรียนการสอนในโรงเรียนได้ฉัน
นั้น
4. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
ควรศึกษาและวิจัยในเรื่องต่อไปนี้
4.1 การศึกษาปัญหาและความต้องการการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร
4.2 ศึกษาสภาพปัญหาการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร
4.3 สภาพปัญหาและความต้องการในการดำเนินงานห้องสมุดของโรงเรียนประถมศึกษา
แต่ละขนาดแบบเจาะลึกลงในรายละเอียด
4.4 ศึกษาวิจัยเรื่องการจัดตั้งและการปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียนที่ทันสมัยและแหล่ง
เรียนรู้อื่น ๆ ในโรงเรียนให้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวิธีสอน ด้วย
4.5 ศึกษาปัญหาและความต้องการในการใช้นวัตถกรรมทางการเรียนการสอนของครู
โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
4.6 ศึกษาวิจัยในรายละเอียดของเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในด้านเนื้อหาสาระ วิธีการ
และความคุ้มค่า
4.7 ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานครที่เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
บรรณานุกรม
การศึกษากรุงเทพมหานคร, สำนัก. 2545ก. วารสารการศึกษากรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : ฝ่าย
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา.
_______. 2545ข. เอกสารแนวทางดำเนินงานโครงการโรงเรียนรักการอ่าน. หน่วยศึกษานิเทศก์.
________. 2543. รายงานสถิติการศึกษาปี 2543 ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
_______. 2540ก. เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : กองวิชาการ สำนัก
การศึกษา กรุงเทพมหานคร.
_______. 2540ข. แผนงานการศึกษาและแผนงานวัฒนธรรมในแผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคมของ
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2540-2544) และแผนพัฒนาการศึกษาของสำนักการ
ศึกษา ในระยะแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2540-2544). เอกสารฝ่ายแผนงานและ
สารสนเทศทางการศึกษา ลำดับที่ 09/2540 : พิมพ์ที่งานผลิตสื่อการเรียนการสอน.
_______. 2540ค. มาตรฐานโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : หน่วยศึกษา
นิเทศก์ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ็การเกษตรแห่งประเทศไทย.
_______.2535. คู่มือการประเมินเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน โรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร.
กรุงเทพมหานคร : หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร.
กิติมา ปรีดีดิลก. 2532. การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรา
พิพัฒน์.
กิดานันท์ มลิทอง.2531. เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์.
เกรียงไกร ศรีลี. 2542. การศึกษาความต้องการสนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กรมวิชาการ. 2545. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์องค์
การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.)
102
________. 2534. ข้อคิดเห็นเบื้องต้นในการสอนและการสอนที่เน้นกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์คุรุสภา.
_______. 2534. แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาวิจัยสนเทศ. 11,(126) :
มีนาคม. 14-15
คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน .2528. แนวการใช้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช
2521 . กรุงเทพมหานคร: เซ็นทรัลเอ๊กซ์ เพรสศึกษาการพิมพ์.
_______. 2541ก. การบริหารโรงเรียนตามแนวปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
_______. 2541ข. ชุดฝึกอบรมผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง เล่ม 5 บริหารศาสตร์. กรุงเทพมหานคร:
โรง พิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
_______. 2539. คู่มือศึกษานิเทศก์ ชุดฝึกปฏิบัติการพัฒนาระบบนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
_______. 2537ก . คู่มือปฏิบัติงานสำหรับผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพร้าว.
_______. 2537ข. มิติใหม่การนิเทศภายในโรงเรียน . นครปฐม : หน่วยศึกษานิเทศก์.
_______. 2536ก. เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ.2536. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
_______. 2536ข. คู่มือการนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะ
กรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.
_______. 2534ก . การบริหารงานวิชาการ . ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่ม 4 กรุงเทพมหานคร : สามเจริญ
พานิช.
_______. 2534ข . การนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
_______. 2534ค. โครงการอบรมผู้บริหารและผู้ช่วยผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วน
จำกัดอรุณการพิมพ์.
_______. 2533. ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองโครงการพัฒนาบุคลากรกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา.
กรุงเทพมหานคร : บริษัทรวมบุญการพิมพ์.
_______. 2532. ประสิทธิภาพการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : รุ่งศิลป์การพิมพ์.
_______. 2529. แนวทางปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
103
_______. 2528 ก. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
_______. 2528ข .นโยบายการประถมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.
กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนสามเจริญ.
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,สำนักงาน. 2545. รายงานการประชุมปฏิบัติการ เรื่อง ภาพอนาคตและ
กลยุทธ์ : เราจะใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการปฏิรูปการเรียนรู้ในโรงเรียนได้อย่างไร ?. กรุงเทพมหานคร :
บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.
_______. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร : พริกหลานกราฟฟิค.
คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ,สำนักงานเลขานุการ. 2545 . กรอบนโยบายเทคโนโลยีสาร
สนเทศระยะ พ.ศ.2544- 2553 ของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ธนาเพรส แอนด์
กราฟฟิก จำกัด.
จิราภรณ์ ศิริทวี. 2545. การประเมินผู้เรียน : ประสบการณ์จากการปฏิบัติ. เอกสารประกอบการสัมมนา
ทางวิชาการ สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จุฬารัตน์ เย็นสวัสดิ์. 2541. ความต้องการในการพัฒนาทางด้านวิชาการของครูผู้สอนระดับก่อนประถม
ศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมาสารคาม.
จุลมาศ จำปา. 2542. ศึกษาความรู้ความเข้าใจและเจตคติต่อการนิเทศภายในโรงเรียนของผู้บริหารสังกัด
สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
เฉลียว พันธุ์สีดา. 2535. คู่มือการบริหารงานห้องสมุดโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : คอมฟอร์ม.
ไฉน ยังละออ. 2540. การศึกษาการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนแกนนำ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การประถมศึกษาแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ชรัตน์ สินสอาด. 2536. สมรรถภาพของผู้บริหารในการจัดดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ. ปริญญานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชาญชัย อาจินสมาจาร. 2531. การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จงเจริญการพิมพ์.
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2533. เทคโนโลยีการสอน:การออกแบบพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
104
ดำรงค์ วัฒนา. 2539. การนำระบบสารสนเทศไปใช้ในการปรับปรุงการบริหารภาครัฐ. คณะกรรมการปฏิรูป
การระบบราชการ.
ทวี สิงหราช.2540. ความต้องการของครูเกี่ยวกับการนิเทศภายในเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียน
คำเที่ยงอนุสสรณ์ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาเชียงใหม่.
ทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ. 2544. การวัดผลปะเมินผล .ครุศาสตร์สาร สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
ทองเบิ้ม มีชำนาญ.2540. การศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนัก
งานคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหา
วิทยาลัยขอนแก่น.
_______. 2532. กระบวนการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ธำรง บัวศรี. 2532. ทฤษฎีหลักสูตรการออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : เอราวัณการพิมพ์.
นัฎฐกร แก่นดี. 2535. ปัญหาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในของผู้บริหารโรงเรียนประถม
ศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการ
บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นิทัศน์ ปลัดพรหม. 2542. ความต้องการงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา
อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บันลือ พฤกษวัน. 2536. การนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
บุญชม ศรีสะอาด.2534. การวิจัยเบื้องต้น. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์.
บุญเลี้ยง ทุมคำ.2542. การศึกษาสภาพการปฏิบัติงานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน
การประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประคอง กรรณสูตร.2540. สถิติศาสตร์ประยุกต์สำหรับครู. พิมพ์ครั้งที่ 10 กรุงเทพมหานคร:
ไทยวัฒนาพานิช
ประทีป จรัสรุ่งรวีการ.2535. ห้องสมุดและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพมหานคร : แสงศิลป์การพิมพ์.
ประภาพรรณ เส็งวงศ์. 2534. คู่มือการดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ. สมุทรปราการ .
(อัดสำเนา)
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน. 2535. การบรหิ ารงานวชิ าการ. กรงุ เทพมหานคร : สหมิตรออฟเซท.
_______. 2535. การนิเทศการสอน. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดี.
105
ปิยะชัย ตุ่ยสิมา. 2543. ปัญหาการดำเนินการวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดเทศบาลเขตการศึกษา 10.
วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
พวา พันธุ์เมฆา. 2540. การลงรายการหลัก รายการพรรณนาสำหรับหนังสือภาษาไทยตามกฎเกณฑ์เอเอซี
อาร์ (1988). กรุงเทพมหานาคร : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ.
พงษ์ศักดิ์ อินทรามะ. 2536. การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา
จังหวัดศรีษะเกศ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพโรจน์ โตเทศ. วารสารการศึกษา กรุงเทพมหานคร ปีที่ 25 , ฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการ
ศึกษา กองวิชาการสำนักการศึกษา.
ไพศาล หวังพานิช. 2545. การวัดผลและประเมินผลการเรียน. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มนัส สายโกสุม.2541. ผลกระทบของการปฏิรูปการศึกษาที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานของโรงเรียน
สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอเมืองพะเยา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่.
ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย นำประเสริฐชัย. 2546. ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร : หจก.
เม็ดทรายพริ้นติ้ง.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. 2540 : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
รุ่ง แก้วแดง และคณะ. 2528. “การประชุม” การฝึกอบรมผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา หน่วยที่
1 – 4. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วราณี เผ่าหอม. 2543. คุณภาพการดำเนินงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนัก
งานการประถมศึกษาจังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วัลลภ สวัสดิวัลลภ. 2533. คู่มืองานเทคนิคและการฝึกงานห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร : โรงพิพม์อักษร
ไทย.
วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์. 2536. หลักการนิเทศการศึกษา. กรุงเพทหมานคร : พรศิวาการพิมพ์.
วาณี ฐานปนวงศ์ศาสนติ. 2531. กิจกรรมห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
วิจิตรา ลีสี. 2542. การาสำรวจปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด
สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
106
วิเชียร นพพลกรัง. 2532. การบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถม
ศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิโรจน์ ศรีโภคา. 2536. การบริหารงานวิชาการในหลักสูตรผู้บริหารสถานศึกษาระดับสูง.
กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.
วิไลศิน เสาวกุล. 2542. ปัญหาการบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองเมือพล
จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยามหาสารคาม.
ศึกษาธิการ,กระทรวง. 2534. แนวทางการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สงัด อุทรานันท์. 2540. การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มิตรสยาม.
_______. 2534. พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: วงเดือนการพิมพ์.
_______. 2532. เทคนิคการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สยามมิตร.
สนั่น มีสัตย์ธรรม. 2538. ทางสายใหม่ของการปฏิบัติราชการ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กาฬสินธุ์ :
ประสานการพิมพ์.
สนอง เครือมาก. 2539. คู่มือสอบปฏิบัติการ. นครสวรรค์ : เรียนดี.
สนอง เครือมากและวสิฐ วงศ์จิตราทร. 2532. คู่มือสอบและปฏิบัติการ. นครสวรรค์ : วิสุทธิ์การพิมพ์.
________. 2537. หลักการนิเทศการสอน.กรุงเพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรการพิมพ์.
สันต์ ธรรมบำรุง.2537.หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
สมเดช สีแสง. 2541. แบบฝึกใกล้สอบผู้บริหารการศึกษา เล่มที่ 1. ชัยนาท : ชมรมพัฒนาความรู้ด้าน
ระเบียบกฎหมาย.
สมนึก ภัททิยธนี. 2541. การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ประสานการพิมพ์.
สมยศ พงษ์ศิริพัฒน์. 2543. สภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนัก
งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดปทุมธานี. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
สุกานดา ตปนียางกรู. 2537. หลักการนิเทศการศึกษา. ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย. 2533. เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดระบบการสอนงานและอาชีพ.
หน่วยที่ 1-5. กรุงเทพมหานคร: สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.
107
สุนิษสา สุมโนจิตราภรณ์. 2539. ความต้องการของครูมัธยมศึกษาเกี่ยวกับงานพัฒนาวิชาการของสำนัก
งานสามัญจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
สุมิตร คุณานุกร. 2533. หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
หวน พินธุพันธุ์. 2538. การบริหารงานห้องสมุดโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
ไทยวัฒนาพานิช.
_______. 2528. การบริหารโรงเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
อาภา บุญช่วย.2537. การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : โอเอพริ้นติ้งเฮ้าท์.
อมรา นิสะโสกะ.2539. บทบาทการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษาใน
เขตการศกึ ษา 6. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
อรนันท์ โพธิหน่อทอง. 2529. บทบาทผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียนตาม
ทัศนะผู้บริหารและครูสังกัดโรงเรียนเทศบาลเขตการศึกษา 12. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อ้อม ประนอม. 2532. “นิเทศเข้าถึงคน”.สารพัฒนาหลักสูตร. 8(89): 50 – 54 สิงหาคม 2532.
อาคม จันทสุนทร. 2538. การนิเทศภายในโรงเรียน. เอกสารการสัมมนาเรื่องการส่งเสริมการนิเทศการ
ศึกษาภายในโรงเรียนของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะ
ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อำนาจ จันทร์แป้น. 2532. การพัฒนาหลักสูตรทฤษฎีสู่การปฏิบัติระดับโรงเรียน. ส.ทรัพย์การพิมพ์.
อุทัย ธรรมเตโช. 2531. หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เจ้าพระยาการพิมพ์.
อัมพร ฟุ้งเฟื่อง. 2541. การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองเชียงราย. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Agthe, Robert R .“The Elementary Principals Perecptions of Their Roles and Teachers Roles in
Curriculum Decision Making.” 1980. Disseratation Abstracts International. 41(3): 935-A
September.
Chapman, David W. and Burschfield, Shirley. 1992. Headmaster’s Beliefs about Their Role in
Inproving Student Performance Research Reports. Tallahassee : Florida State University.
108
Clickman, Carl D, Stephen P.Gordon and Jovita m.Ross-Gordon. 1998. Supervison of instruction :
A developemental approach. 4th ed: MA. Needham Heights.
Desautel, Rodney A.1978. “Administrative Role Perceptions of North Dakota Elementary
School Prinicipals as Related to Selected Demensions of Administrative Function,
“Dissertatiom Abstracts International. Michigan : University Microfilms International.
Francis, Elaine Barry. 1988. “Teacher Evaluation and the Improvenment of Instruction in Elementary
Schools, “Dissertation Abstract International. 49(3) :429 September.
Good, Cartet V. 1973. Dictionary of Education. 3 rd ed. New York : Mcgraw Hill.
Harris, Ben M. 1975. Supervisory Behevior in Education. 2 nd ed. Englewood Cliffs,N.J: Prentice-
Hall.
Marks,James Robert. Emery Stoops and Joyce King Stoops, 1978. Handbook of Educational
Supervision. : a Guide for the Practitioner- Bostan. : Allyn and Bacon Inc.
Mattox, Donald Dean. 1987. “A Study of inservice Need of Illionois Pubic School Elementary
Prinicipals,” Dissestation Abstract International. 12(8) : 354-A, June.
Martellaro, Helena Christina Aroson.1984 “ The Relationship of School Enrollments Size to
Academic Achievement in New Mexico,” Dissertation Abstracts International. 45(4) : 384.AMay.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร
คำชี้แจง 1. แบบสอบถามนี้เป็นแบบสอบถามความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถม
ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
2. ลักษณะแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
3. โปรดตอบคำถามทั้ง 2 ตอนให้ครบทุกข้อด้วยความจริงใจ
4. คำตอบทั้งหมดของท่านผู้วิจัยจะรักษาไว้เป็นความลับและจะไม่มีผลเสียหายใด ๆ ต่อ
ท่าน
ขอบขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ
นางสาววันเพ็ญ คชนิล
นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
สถาบันราชัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
110
ตอนที่ 1
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงใน ( ) หน้าข้อคำตอบที่เป็นจริงในแต่ละข้อเพียงข้อเดียว
1. เพศ
( ) ชาย
( ) หญิง
2. ประสบการณ์การทำงาน
( ) 1 – 10 ปี
( ) 11 - 20 ปี
( ) 21 ปีขึ้นไป
3. ขนาดโรงเรียนของท่าน
( ) ขนาดใหญ่ (นักเรียน 801 คนขึ้นไป)
( ) ขนาดกลาง (นักเรียน 401 – 800 คน)
( ) ขนาดเล็ก (นักเรียน 1 – 400 คน)
4. ระดับที่ทำการสอน
( ) ก่อนประถมศึกษา
( ) ประถมศึกษา
111
ตอนที่ 2
ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
คำชี้แจง แบบสอบถามนี้มีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง
น้อย และน้อยที่สุด ซึ่งสอบถามเกี่ยวกับความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โปรดอ่านข้อความแต่ละรายการให้ละเอียดว่าท่านมีความต้องการ
ด้านวิชาการระดับใด แล้วทำเครื่องหมาย ลงในช่องระดับความต้องการเพียงข้อละ 1 เครื่องหมาย
ด้วยความจริงใจ เพื่อบอกระดับความต้องการของท่านตามความเป็นจริงที่สุด
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
ด้านหลักสูตรและการนำไปใช้
จัดประชุมชี้แจงเรื่องเอกสารประกอบหลักสูตร……….
ประชุมครูเพื่อทำความเข้าใจรายละเอียดต่าง ๆ ของ
หลักสูตร……………………………………………….
จัดประชุมครูเพื่อวางแผนการนำหลักสูตรไปใช้………
จัดหาเอกสารต่าง ๆ ของหลักสูตรให้ครูทำความ
เข้าใจ.………………………………………………….
คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรและเอกสารประกอบ
หลักสูตร……………………………………………….
จัดให้มีการวิเคราะห์และประเมินหลักสูตรก่อนนำไป
ใช้……………………………………………………...
ใช้หลักสูตรเป็นหลักในการจัดประสบการณ์การเรียน
การสอน……………………………………………….
ส่งเสริมให้ครูจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น………………….
ประชาสัมพันธ์การใช้หลักสูตรให้ผู้ปกครองและชุมชน
ทราบอย่างทั่วถึง………………………………………
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
112
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..
113
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ด้านการจัดการเรียนการสอน
ประชุมครูเพื่อจัดตารางสอนและเตรียมงานก่อนเปิดภาค
เรียน……………………………………………………...
จัดครูเข้าสอนในแต่ละชั้นเรียนโดยพิจารณาจากความรู้
ความสามารถที่ตรงสายงาน……………………………...
เชิญวิทยากรท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน………………………………………...
จัดกิจกรรมเสริมให้ทุกกลุ่มประสบการณ์ตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตรภายในเวลาที่กำหนด………………………
จัดหากำหนดการสอน แผนการสอนให้ทุกกลุ่มประสบ
การณ์…………………………………………………….
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูจัดการสอนซ่อมเสริมให้กับ
นักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน……………………
จัดหาสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรมการ
เรียนการสอนของนักเรียนอย่างเพียงพอ…………………
จัดทัศนศึกษานอกสถานที่เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบ
การณ์ตรง…………………………………………….….
…….
……
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
……
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
……
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…...
…..
…..
…..
……
……
……
……
……
……
……
……
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
114
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
1.
2
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
ด้านการนิเทศภายใน
สำรวจข้อมูลด้านวิชาการก่อนวางแผนการนิเทศภายใน
โรงเรียน………………………………………………….
สร้างความเข้าใจและชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของการนิเทศ
ภายในโรงเรียน…………………………………………..
เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการวางแผนและกำหนด
จุดมุ่งหมายการนิเทศภายในโรงเรียน…………………….
แต่งตั้งคณะกรรมการในการนิเทศภายในโรงเรียน………
ส่งเสริมสนันสนุนให้ครูมีการนิเทศภายในระหว่างครูด้วย
กันและครูกับผู้บริหาร……………………………….
คำแนะนำในเรื่องการนิเทศภายในจากผู้บริหารและคณะ
กรรมการการนิเทศภายในโรงเรียน………………………
การตรวจเยี่ยมชั้นเรียนขณะทำการสอนและคำแนะนำใน
ส่วนของการจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหาร………….
จัดให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการ
เรียนการสอนระหว่างเพื่อนร่วมงาน…………………….
เยี่ยมชมโรงเรียนที่ได้รับเป็นโรงเรียนดีเด่นและเป็นตัว
อย่างในเรื่องการจัดการเรียนการสอน……………………
ชี้แจงผลการนิเทศภายในให้ครูผู้สอนได้ทราบเพื่อปรับ
ปรุงการจัดการเรียนการอน……………………….……..
ติดตามและประเมินผลการนิเทศภายในเป็นระยะ……….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
115
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
116
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
ด้านวัดผลและประเมินผล
ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผล…………….
ให้ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนหรือโครงการในการ
วัดผลและประเมินผลให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของ
หลักสูตร…………………………………………………
กำหนดวัน เวลาในการวัดผลและประเมินผลระหว่างภาค
เรียนและปลายภาคเรียนไว้ล่วงหน้า……………………..
เชิญวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผลประเมินผลมา
ให้ความรู้แก่ครูในโรงเรียน……………………………...
แต่งตั้งบุคลากรในการรับผิดชอบการวัดผลประเมินผล….
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูใช้วิธีการวัดผลประเมินผล
อย่างหลากหลาย…………………………………………
สร้างเครื่องมือวัดผลประเมินผลการเรียนที่มีคุณภาพ……
ส่งเสริมให้ครูทำการวัดผลประเมินผลก่อนเรียน ระหว่าง
เรียนและหลังเรียนอย่างสม่ำเสมอ……………………….
ส่งเสริมให้ครูจัดทำแบบทดสอบในทุกกลุ่มประสบการณ์
ไว้ล่วงหน้า…………………………………….…………
ส่งเสริมให้ครูมีการวิเคราะห์ข้อสอบและทำเป็นคลังข้อ
สอบทุกกลุ่มประสบการณ์ในแต่ละระดับชั้น……………
ใช้ผลจากการวัดและประเมินผลเป็นข้อมูลในการ
วางแผนการจัดการศึกษา…………………………………
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…...
…...
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…...
…..
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
117
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
118
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ด้านวัสดุและสื่อการเรียนการสอน
สำรวจความต้องการด้านสื่อและวัสดุประกอบการเรียน
การสอนของครูในแต่ละกลุ่มประสบการณ์……………..
สนับสนุนด้านงบประมาณในการจัดทำสื่อให้เพียงพอกับ
ความต้องการ……………………………………………
ส่งเสริมให้มีการสร้างสื่อประกอบการเรียนการสอนและ
คู่มือการใช้ให้ครบทุกกลุ่มประสบการณ์………………...
จัดการอบรมการผลิตสื่อการเรียนการสอนโดยเชิญ
วิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้และสาธิตการผลิต
สื่อโดยนำวัสดุในท้องถิ่นมาดัดแปลงเป็นสื่อ…………….
สำรวจสภาพความพร้อมของสื่อการเรียนการสอน………
จัดทำคลังสื่อประกอบการเรียนการสอนและให้บริการ
อย่างเป็นระบบ…………………………………………..
ส่งเสริมให้มีการนิเทศและติดตามผลการใช้สื่อการเรียน
การสอน………………………………………………….
จัดเก็บและบำรุงรักษาสื่อการเรียนการสอนอย่างมีระบบ..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
……
……
……
……
……
……
……
……
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
119
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
ด้านประชุมอบรมทางวิชาการ
สำรวจความต้องการที่จะเข้ารับการอบรม……………….
สนับสนุนงบประมาณในการประชุม อบรมและสัมมนา
ทางวิชาการอย่างเพียงพอ………………………………..
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูได้เข้ารับการอบรมตรงตาม
ความต้องการ…………………………………………….
จัดให้มีการประชุมอบรมและสัมมนาทางวิชาการภายใน
โรงเรียน………………………………………………….
จัดการอบรมเกี่ยวกับ
5.1 การบริหารชั้นเรียน………………………………….
5.2 กิจกรรมเสริมหลักสูตร……………………………...
5.3 การวิเคราะห์หลักสูตร………………………………
5.4 การวิจัยในชั้นเรียน………………………………….
5.5 การสอนซ่อมเสริม…………………………………..
5.6 การวัดผลและประเมินผล…………………………...
5.7 การใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตขั้นพื้นฐาน…….
5.8 วิธีสอนแบบต่าง ๆ เช่น การสอนแบบบูรณาการและ
การสอนแบบ CIPPA Model เป็นต้น…………….
จัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการระหว่าง
โรงเรียนหรือระหว่างกลุ่มโรงเรียน……………………...
ส่งเสริมให้ครูได้จัดทำผลงานทางวิชาการ……………….
สนับสนุนให้มีการรายงานติดตามผลการประชุม อบรม
และสัมมนาทางวิชาการ…………….……………………
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
……
……
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
……
……
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
……
……
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..

……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
120
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
121
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
ด้านห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้
อื่น ๆ ในโรงเรียน
มีบรรณารักษ์หรือครูที่รับผิดชอบโดยตรง……………….
จัดงบประมาณในการซื้อหนังสือและเอกสาร……………
ส่งเสริมความร่วมมือในการวางแผนการใช้ห้องสมุด……
จัดหาหนังสือ เอกสารและสิ่งพิมพ์ให้เพียงพอกับความ
ต้องการของนักเรียน……………………………………..
จัดหาวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องอำนวยความสะดวกในการ
จัดกิจกรรมอย่างเพียงพอ…………………………………
จัดหาคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ค้นหาข้อมูล……………….
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ……..
อบรมการซ่อมแซมหนังสือที่ชำรุด………………………
คำแนะนำและชี้แนะเทคนิคการบริหารห้องสมุด………..
ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานการใช้ห้องสมุด
และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ………..…..
ห้องและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
11.1 ห้องสมุดสมัยใหม่…………………………………
11.2 ห้องคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต…………………
11.3 ห้องปฏิบัติการทางภาษา…………………………..
11.4 ห้องวิทยาศาสตร์…………………………………..
11.5 ห้องดนตรี………………………………………….
11.6 สถานที่ฝึกพลศึกษา………………………………..
11.7 ห้องคหกรรม………………………………………
11.8 โรงฝึกงาน………………………………………….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
…..
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
……
122
ข้อ ความต้องการด้านวิชาการ ระดับความต้องการ
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
11.9 แปลงหรือโรงเรือนเกษตรกรรม……………….….
11.10 ห้องปฏิบัติการทางวัฒนธรรมและจริยธรรม……...
11.11 ห้องศิลปะและนาฏศิลป์…………………………..
11.12 ลานเอนกประสงค์………………………………..
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…….
…..
…..
…..
…..
…..
……
……
……
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก ข
รายนามผู้เชี่ยวชาญ
1. ดร.สรายุทธ์ เศรษฐขจร ประธานกรรมการหลักสูตรการบริหาร ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษาสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
2. ดร.บัณฑิต แท่นพิทักษ์ ศึกษานิเทศก์ 7 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
3. ดร.ทิวัตถ์ มณีโชติ นักวิชาการศึกษา 8 ว. สำนักนิเทศและพัฒนามาตรฐาน
การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
กระทรวงศึกษาธิการ
4. นายอุดมศักดิ์ นาดี หัวหน้าฝ่ายวัดผลและประเมินผลการศึกษา สำนักการศึกษา
กรุงเทพมหานคร
5. นางมาลี ฐานปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนฐานปัญญา
ภาคผนวก ค
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ นางสาววันเพ็ญ คชนิล
วันเดือนปีเกิด 23 สิงหาคม 2507
สถานที่เกิด ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
ที่อยู่ปัจจุบัน 1067 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
ตำแหน่งหน้าที่การงาน อาจารย์ 1 ระดับ 4
สถานที่ทำงานปัจจุบัน โรงเรียนวัดประดิษฐาราม สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2525 มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
พ.ศ.2527 ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) สาขาการอนุบาลศึกษา
วิทยาลัยครูพิบูลสงครามพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
พ.ศ.2529 ปริญญาครุศาสตร์บัณฑิต (คบ.) สาขาวิชาสังคมศึกษา
วิทยาลัยครูพิบูลสงครามพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
พ.ศ.2539 ปริญญาครุศาสตร์บัณฑิต (คบ.) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สถาบันราชภัฏ
พิบูลสงครามพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
พ.ศ.2546 ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต (คม.) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สถาบัน
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
บรรณานุกรม

ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา (ตอนที่ 1)
ความต้องการด้านวิชาการของครูโรงเรียนประถมศึกษา (ตอนที่ 2)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น