บทที่ 1
บทนำ
1.1กกความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
1.1กกพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีการกำหนดระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาว่า “ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง”
สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ ได้กำหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา ให้สถาบันราชัฏ
ทั่วประเทศนำไปปฎิบัติ เพื่อให้การศึกษาในสถาบันราชภัฏมีคุณภาพ และได้มาตรฐานในการ
ประเมินคุณภาพการศึกษามีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลหลาย ๆ ด้านก่อให้เกิดความยุ่งยากและใช้
เวลานานในการรวบรวม อาจก่อให้เกิดข้อผิดพลาดได้ ระบบสารสนเทศเพื่อการประเมิน
คุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างสารสนเทศ รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ ทำให้การเรียกใช้ การสืบค้น
สอบถามและการรายงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง
1.2กกวัตถุประสงค์
1.1กกเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการรวบรวมข้อมูล/สารสนเทศ สำหรับการประเมิน
คุณภาพทางการศึกษา
1.3กกสมมติฐาน
1.1กกระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฎ จะช่วยอำนวยความ
สะดวกในการเตรียมข้อมูล/สารสนเทศต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษา
1.4กกขอบเขตโครงการ
1.4.1กกเตรียมสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาประกอบ
ด้วยสารสนเทศในด้าน
1.4.1.1กกการเรียนการสอน
1.4.1.2กกการพัฒนานักศึกษา
2
1.4.1.3กกการวิจัย
1.4.1.4กกการบริการทางวิชาการสู่ท้องถิ่นและสังคม
1.4.1.5กกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนะธรรม
1.4.1.6กกการบริหารจัดการ
1.4.1.7กกการเงินงบประมาณ
1.4.2กกพัฒนาระบบประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ
1.4.3กกพัฒนาโปรแกรมในรูปแบบของเว็บเบสซึ่งประกอบไปด้วย
1.4.3.1กกคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ติดตั้งระบบปฎิบัติการลีนุกซ์/วินโดว์เก้าแปด
โปรแกรมพีเอชพีรุ่น 4.0 ขึ้นไป เป็นตัวแปลภาษา ใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
(RDBMS-Relational Database Management System) แบบมายเอส
คิวแอล (MySQL)
1.4.3.2กกคอมพิวเตอร์ลูกข่ายติดตั้งระบบปฎิบัติการวินโดว์เก้าแปด หรือลีนุกซ์
พร้อมเว็บบราวเซอร์ที่สามารถทำงานร่วมกับโปรแกรมภาษาพีเอชพีและระบบจัดการฐานข้อมูล
แบบมายเอสคิวแอลได้
1.5กกนิยามศัพท์เฉพาะ
1.5.1กกการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการในการควบคุม
ตรวจสอบคุณภาพ และประเมินคุณภาพอย่างเป็นระบบ เพื่อให้มั่นใจว่า ผลผลิตของการศึกษา
มีคุณภาพตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้
1.5.2กกการประเมินคุณภาพการศึกษา หมายถึง การประเมินค่าระดับคุณภาพของ
กิจกรรมเฉพาะอย่าง
1.5.3กกการประเมินภายใน หมายถึง การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเองหรือ
หน่วยงาน
ต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษานั้น
1.5.4กกการประเมินภายนอก หมายถึง การประเมินผล การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงานมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษาหรือบุคคล/หน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง
3
1.5.5กกมาตรฐานการศึกษา หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์
และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับ
ส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา
1.5.6กกดัชนี หมายถึง สิ่งที่ใช้ในการวัดหรือประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ใน
บางครั้งเรียกว่า ตัวบ่งชี้หรือตัวชี้
1.5.7กกเกณฑ์ หมายถึง สิ่งที่ใช้ชี้วัดคุณภาพ เช่นระดับคะแนน ตัวเลขหรือเครื่องหมาย
อื่น ๆ
เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียง
1.5.8กกคณะวิชา หมายถึง คณะวิชาที่เปิดสอนในสาขาต่าง ๆ หรือหน่วยงานเทียบเท่า
คณะวิชา เช่น สำนัก เป็นต้น
1.5.9กกโปรแกรมวิชา หมายถึง หน่วยงานที่เปิดสอนเฉพาะสาขา หรือ หน่วยงาน
เทียบเท่าโปรแกรมวิชา
1.5.10กรายงานการศึกษาตนเอง หมายถึง รายงานที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของ
หน่วยงาน พร้อมทั้งวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อพัฒนาปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น
1.5.11กการประเมินตนเอง หมายถึง รายงานที่แสดงผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
พร้อมทั้งวิเคราะห์ตนเองโดยคนในหน่วยงาน พร้อมทั้งการวางแผน แก้ไขจุดอ่อน เสริมจุดแข็ง
1.6กกประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.6.1กกเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ในหน่วยงานประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันราชภัฏ เพื่อ
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา
1.6.2กกสะดวกรวดเร็ว และถูกต้องในการเรียกใช้ สืบค้น รายงานต่าง ๆ
1.6.3กกเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลให้กับผู้บริหารในสถาบันราชภัฏ
(หน้าแรกโปรดใช้ไฟล์ บทที่ 2 หน้าที่ 1)
บทที่ 2
ทฤษฎีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
2.1กกในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ ผู้พัฒนา
ได้ศึกษาหลักการทฤษฎีและเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
ระบบประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้
2.1กก2.1กกการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
2.1กก2.2กกระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา
2.1กก2.3กกระบบการประกันคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ
2.1กก2.4กกระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ
2.1กก2.5กกหน่วยงานที่ต้องประเมินคุณภาพ
2.1กก2.6กกเกณฑ์การประเมิน
2.1กก2.7กกองค์ประกอบที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ
2.1กก2.8กกตัวอย่างผลการประเมินคุณภาพตามรายองค์ประกอบ
2.1กก2.9กกระบบฐานข้อมูล
2.1กก2.10กวงจรการพัฒนาระบบ
2.1กก2.11กภาษาที่ใช้พัฒนาระบบ
2.1กก2.12กงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1กก2.13กบทสรุปการนำเทคโนโลยีไปใช้
2.1กกการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
2.1กก2.1.1กกความเป็นมา
2.1กก2.1.1กกการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นระบบที่สถานศึกษาจะต้องดำเนินการ
เพื่อให้
การศึกษามีคุณภาพตรงตามเป้าหมายที่วางไว้ การประกันคุณภาพจะเกี่ยวข้องกับ 4 คำ
ประกอบด้วย Quality Control, Quality Audit , Quality
Accreditation, Quality Assessment
2.1กก2.1.1กก2.1.1.1กกการประกันคุณภาพ หมายถึง การกำหนดจุดประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง
5
การปฎิบัติเพื่อให้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
2.1กก2.1.1กก2.1.1.2กกการควบคุมคุณภาพ หมายถึง การดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ทุกขั้นตอน
2.1กก2.1.1กก2.1.1.3กกการตรวจสอบคุณภาพ ประกอบด้วย
2.1กก2.1.1กก2.1.1.3กกก)กกการตรวจสอบคุณภาพใน (Internal Quality
Audit) เป็นการตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น
2.1กก2.1.1กก2.1.1.3กกข)กกการตรวจสอบคุณภาพภายนอก (External Quality
Audit) เป็นการตรวจสอบคุณภาพจากหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกซึ่งได้รับการรับรอง
จากสำนักรับรองมาตรฐานการศึกษา
2.1กก2.1.1กก2.1.1.3กกค)กกการรับรองคุณภาพ (Quality
Accreditation) การรับรองคุณภาพ
มาตรฐานมาตรฐานที่ถูกกำหนดขึ้น
2.1กก2.1.1กก2.1.1.3กกง)กกการหาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับคุณภาพ ตาม
กฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น
2.1กก2.1.2กกวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพ
2.1กก2.1.2กกการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษามีวัตถุประสงค์ดังนี้
2.1กก2.1.2กก2.1.2.1กกเพื่อให้หน่วยงานทางการศึกษา ได้พัฒนาคุณภาพผลผลิตทาง
การศึกษาและ ประสิทธิภาพในการปฎิบัติงานของผู้เกี่ยวข้อง
2.1กก2.1.2กก2.1.2.2กกเพื่อให้สังคมมั่นใจเกี่ยวกับผลผลิต/บริการของหน่วยงานทาง
การศึกษา
2.1กก2.1.2กก2.1.2.3กกเพื่อให้สำนักงานงบประมาณ จัดสรรงบประมาณได้ถูกต้องและ
เหมาะสม
2.1กก2.1.2กก2.1.2.4กกเพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้สมัครเข้าศึกษา ในหน่วยงานทาง
การศึกษาเกี่ยวกับ
คุณภาพของบัณฑิต
2.1กก2.1.2กก2.1.2.5กกเพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้ปกครอง ผู้จ้าง รัฐบาล เกี่ยวกับกลไกในการ
ดำเนินงานของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา คณะวิชา ภาควิชา
2.1กก2.1.2กก2.1.2.6กกเพื่อให้เกิดความโปร่งใสในกระบวนการจัดการศึกษาแก่ประชาชน
6
2.1กก2.1.2กกองค์ประกอบของการประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพการศึกษาแยกได้ 2 อย่าง
2.1กก2.1.2กก2.1.3.1กกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นการควบคุมและ
ตรวจสอบ โดย ตัวเอง เพื่อให้รู้จุดบกพร่อง เพื่อการแก้ไขปรับปรุงกับเสริมจุดแข็งให้แข็ง
ยิ่งขึ้น
2.1กก2.1.2กก2.1.3.2กกการประกันคุณภาพการศึกษาโดยภายนอก เป็นการ
ตรวจสอบจากกลุ่มผู้มีความรู้ความสามารถหรือเกี่ยวข้องกับการใช้งานบัณฑิตการตรวจสอบจาก
ภายนอก มักจะใช้การเยี่ยมชมเพื่อหาข้อมูลมาตัดสินใจตามเกณฑ์ภายนอกที่กำหนด การ
ประกันคุณภาพจากภายนอก มักเกิดหลังจากที่หน่วยงานการศึกษาดำเนินประกันคุณภาพภายใน
ตนเอง จนถึงระดับที่พึงพอใจ จึงจะมีการประกันคุณภาพโดยภายนอก ผลการตัดสินจาก
ภายนอกมักสรุปได้ว่ายอมรับ / ไม่ยอมรับ มติที่ประเมินแล้วแจ้งสู่หน่วยงานกับประชาชนให้
ทราบทั่วกัน การประกันคุณภาพจากภายนอกมักทำทุก ๆ 5-6 ปี ส่วนการประกันคุณภาพ
ภายในเป็นการทำทุก ๆ ภาคการศึกษา
2.2กกระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา
2.2กก2.2.1กกระบบ The Malcom Baldrige National Quality Award
2.2กก2.2.1กกเป็นแนวทางการตรวจสอบคุณภาพองค์กรซึ่งแนวทางนี้อาจนำมาใช้ในการ
ตรวจสอบคุณภาพขององค์กรทางด้านการศึกษา โดยกระบวนการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกการเป็นผู้นำ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกก)กกความเป็นผู้นำของผู้บริหารองค์กร
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกข)กกระบบการนำและความร่วมมือภายในองค์กร
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกค)กกความเชื่อถือของสังคมและความสำคัญต่อสาธารณะชน
2.2กก2.2.1กก2.2.1.2กกสารสนเทศและการวิเคราะห์
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกก)กกการบริหารสารสนเทศและระบบข้อมูล
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกข)กกระบบสารสนเทศและการสนับสนุนความเป็นผู้นำทาง
วิชาการ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกค)กกการวิเคราะห์และใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิผล
2.2กก2.2.1กก2.2.1.3กกการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกก)กกกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกข)กกกระบวนการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์
7
2.2กก2.2.1กก2.2.1.4กกการพัฒนาและบริหารทรัพยากรมนุษย์
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกก)กกการวางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกข)กกการมีส่วนร่วมของบุคลากร
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกค)กกการศึกษา การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกง)กกความพึงพอใจของบุคลากร
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกจ)กกการประเมินผลงานและการตอบแทน
2.2กก2.2.1กก2.2.1.5กกการบริหารกระบวนการผลิตบัณฑิต วิจัย และบริการวิชาการ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกก)กกกระบวนการคัดเลือกนักเรียน/นักศึกษาที่มีคุณภาพ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกข)กกกระบวนการบริหารวิชาการ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกค)กกการบริหารกระบวนการสนับสนุน
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกง)กกปรับปรุงสมรรถนะของผู้ผลิตบัณฑิต
2.2กก2.2.1กก2.2.1.6กกสัมฤทธิ์ผลทางวิชาการ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกก)กกสัมฤทธิ์ผลทางวิชาการ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกข)กกสัมฤทธิ์ผลทางการวิจัย
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกค)กกสัมฤทธิ์ผลทางบริการวิชาการ
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกง)กกสัมฤทธิ์ผลทางศิลปและวัฒนธรรม
2.2กก2.2.1กก2.2.1.7กกสัมฤทธิ์ผลในการผลิตบัณฑิต
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกก)กกความรู้เกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของสังคมต่อบัณฑิต
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกข)กกการบริหารความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับสังคม
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกค)กกความพึงพอใจของสังคม กระบวนการประเมิน
2.2กก2.2.1กก2.2.1.1กกง)กกความพึงพอใจของสังคม ผลลัพธ์และการเปรียบเทียบ
5.กกการบริหารกระบวนการผลิต
บัณฑิตวิจัยและบริการวิชาการ
4.กกการพัฒนาและการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์
7.กกสัมฤทธิ์ผล
ในการผลิตบัณฑิต
1.กกการเป็นผู้นำ
8
ภาพที่ก2-1กกระบบ The Malcom Baldrige National Quality
2.2กก2.2.2กกระบบ CIPOI
2.2กก2.2.1กกCIPOI มีชื่อเต็มคือ Context, Input, Process, Output,
Impact หมายถึง การประเมิน
การประเมินตามด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 5 ด้าน คือ ด้านบริหาร ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านการดำเนินการ
ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ
Context
Impact
Input
Process
Output
ปรัชญา นโยบาย วัตถุประสงค์ ปณิธาน และแผนสภาพ
แวดล้อมอาคารสถานที่ สภาพการบริหารจัดการ
คณาจารย์ บุคลากร นักเรียน/นักศึกษา ผู้บริหาร เงินและ
งบประมาณ สื่อ และเครื่องมือ
กระบวนการบริหารและจัดการ กระบวนการเรียนการสอน
กระบวนการเงินและงบประมาณ กระบวนการทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม กระบวนการวิจัย กระบวนการบริหารการ
ทางวิชาการ กระบวนการประกันคุณภาพ
ปริมาณและคุณภาพ นักเรียน บัณฑิต งานวิจัย
งานบริการทางวิชาการ งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ศรัทธาของประชาชนต่อหน่วยงาน การสนองตอบด้าน
กำลังคนของประเทศ ผลกระทบต่อสังคม และประเทศชาติ
3.กกการทำแผนยุทธศาสตร์
2.กกสารสนเทศการวิเคราะห์
6.กกสัมฤทธิ์ผล
ทางวิชาการ
9
ภาพที่ก2-2กกระบบ Context, Input, Process, Output, Impact
2.2กก2.2.3กกระบบ Input Process Output
2.2กก2.2.2กกระบบประกันคุณภาพของสถาบันใช้ระบบ Input Process Output
(IPO) ซึ่งเป็นระบบพื้นฐานที่ใช้กับทุกวงการ ดังแสดง ในแผนภูมิ
ภาพที่ก2-3กกระบบ Input Process Output
2.2กก2.2.2กกผลลัพธ์ในกระบวนการผลิตบัณฑิตของสถานศึกษา คือ การได้บัณฑิตซึ่งตรงกับ
ปรัชญา พันธกิจและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
และความพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิจารณาจากปัจจัยนำเข้าได้แก่ ทรัพยากรคน ทรัพยากรเงิน
สภาพแวดล้อม เครื่องมืออุปกรณ์ นโยบาย หลักสูตร แผน ปัจจัยเกื้อหนุนในส่วนของ
กระบวนการได้แก่ การเรียนการสอน การให้คำปรึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ เป็นต้น
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ในกระบวนการผลิตบัณฑิตให้แสดงให้เห็นในรูปแบบดังนี้
ปัจจัยนำเข้า
Input
กระบวนการ
Process
ผลลัพธ์
Output
บัณฑิต
ที่พึง
ประสงค์
ปรัชญา พันธกิจ
วัตถุประสงค์
ระบบและกลไกการ
ประกันคุณภาพ
ปัจจัยนำเข้า
- ทรัพยากรคน
- ทรัพยากรเงิน
- สภาพแวดล้อม
เครื่องมืออุปกรณ์
- นโยบาย หลักสูตร
แผน
- ปัจจัยเกื้อหนุน
กระบวนการผลิต
- กระบวนการบริหารจัดการ
- กระบวนการเรียนการสอน
- กระบวนการวิจัย
- กระบวนการให้บริการ
ผลผลิต
- ปริมาณบัณฑิต
- คุณภาพบัณฑิต
- บริการต่าง ๆ
- ศรัทธาของประชาชน
10
ภาพที่ก2-4กกความสัมพันธ์กระบวนการผลิตบัณฑิต
10
2.3กกระบบการประกันคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ
2.3กกการประกันคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฎ ได้นำวิธีการที่เรียกว่า PDCA (
Plan-Do-Check-Act) ซึ่งเป็นกิจกรรมพื้นฐานในการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ
ประกอบด้วยกิจกรรม ซึ่งมีการใช้อย่างแพร่หลาย ขั้นตอนการปฏิบัติตามวิธี PDCA มีดังนี้
2.3กกPlan หมายถึง การกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีการและขั้นตอนต่างๆ ในการ
ปฏิบัติงาน
2.3กกDo หมายถึง การปฏิบัติงานตามกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้กำหนดไว้โดยมีการศึกษาข้อมูล
ประกอบด้วยรายละเอียดและเงื่อนไขต่าง ๆ การปฏิบัติต้องเป็นไปตามแผน วิธีการ และขั้นตอนที่
กำหนดไว้
2.3กกCheek หมายถึง การตรวจสอบและประเมิน เพื่อให้ทราบว่าหน่วยงานได้ปฏิบัติงาน
กิจกรรมตามมาตรฐานที่กำหนดไว้หรือไม่
2.3กกAct หมายถึง การปรับปรุง เพื่อให้การทำงานนั้นมีประสิทธิภาพ เป็นขั้นตอนหลังจาก
ที่ได้มีการตรวจสอบ การปรับปรุงอาจเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าหรือค้นหาสาเหตุของ
ปัญหา ซึ่งวิธีการอาจแตกต่างไปจากเดิม
2.4กกระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ
2.3กกการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ แบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่
2.3กก2.4.1กกการประเมินภายใน หมายถึง การประเมินภายในสถาบันราชภัฏ โดยบุคลากร
ภายในสถาบันราชภัฏนั้น ซึ่งการประเมินภายในจะต้องประเมินประกอบด้วย
2.3กก2.4.1กก2.4.1.1กกการประเมินตนเอง หมายถึง การประเมินหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้ทราบ
ผลของการดำเนินกิจกรรมตามมาตรฐานที่กำหนด โดยผู้ประเมินเป็นบุคลากรภายในหน่วยงาน
นั้น ๆ เพื่อให้ทราบระดับการปฏิบัติงานพร้อมทั้งศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง แนวทางแก้ไข และ
แนวทางเสริม เพื่อปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น
2.3กก2.4.1กก2.4.1.2กกการประเมินภายใน หมายถึง การประเมินหน่วยงานต่าง ๆ
โดยบุคลากรภายในสถาบัน แต่มีข้อแตกต่างจากการประเมินตนเองคือ ผู้ประเมินจะเป็นคนนอก
หน่วยงานหรือเป็นคณะกรรมการประเมินการที่ได้รับการแต่งตั้งแต่กรรมการเหล่านั้นอยู่ภายใน
สถาบัน
2.3กก2.4.2กกการประเมินคุณภาพการศึกษาจากภายนอก หมายถึง การประเมินคุณภาพ
การศึกษาโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือคณะกรรมการ
11
หน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
ขั้นตอนการประกันและประเมินคุณภาพการศึกษามีขั้นตอนดังภาพที่ 2-5
ภาพที่ก2-5กกขั้นตอนการประกันและประเมินคุณภาพการศึกษา
1. เตรียมความพร้อม
ของบุคลากร
- สร้างความตระหนัก
- พัฒนาความรู้และ
ทักษะ
2. แต่งตั้งคณะกรรมการ
1.กกวางแผนการปฎิบัติงาน (P)
1.กก-กกกำหนดเป้าหมายหรือ
มาตรฐาน
1.กก-กกการศึกษา
1.กก-กกจัดลำดับความสำคัญของ
เป้าหมาย
1.กก-กกกำหนดแนวทางการ
ดำเนินงาน
1.กก-กกกำหนดระยะเวลา
จัดทำรายงาน
ประเมินตนเองหรือ
รายงานประจำปี
- รวบรวมผลการ
ดำเนินงานและ
ผลการประเมิน
- วิเคราะห์ตามมาตรฐาน
- เขียนรายงาน
2.กกกำเนินการตามแผน (D)
1.กก-กกส่งเสริม สนับสนุน
1.กก-กกจัดสิ่งอำนวยความสะดวก
1.กก-กกสนับสนุนทรัพยากร
1.กก-กกกำกับ ติดตาม
1.กก-กกให้การนิเทศ
3.กกตรวจสอบประเมินผล (C)
3.กก-กกวางกรอบการประเมิน
3.กก-กกจัดหาหรือจัดทำเครื่องมือ
3.กก-กกเก็บข้อมูล
3.กก-กกวิเคราะห์ข้อมูล
3.กก-กกแปลความหมาย
3.กก-กกตรวจสอบ/ปรับปรุง
3.กก-กกคุณภาพการประเมิน
4.กกนำผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
(A)
4.กก-กกปรับปรุงการปฎิบัติงานของ
บุคลากร
4 กก-กกวางแผนในระยะต่อไป
การเตรียมการ
การดำเนินการ
การรายงาน
12
2.5กกหน่วยงานที่ต้องประเมินคุณภาพ
2.5กกหน่วยงานทุกหน่วยงานในสถาบันราชภัฏจะต้องดำเนินการประกันคุณภาพ ซึ่งหน่วยงาน
เหล่านั้นแสดงดังภาพที่ 2-6
ภาพที่ก2-6กกโครงสร้างหน่วยงานที่ต้องดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา
2.6กกเกณฑ์การประเมิน
2.6กก2.6.1กกเกณฑ์ 3A
2.6กก2.6.1กกเกณฑ์การประเมิน 3A จะพิจารณาปัจจัย 3A จะประเมินทั้งในเชิงปริมาณ
และคุณภาพเพื่อสะท้อนภาพความเป็นจริงของแต่ละมาตรฐานประกอบด้วย
2.6กก2.6.1กก2.6.1.1กกความตระหนักถึงความสำคัญ (Awareness) ของการ
พัฒนาการศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐานความเข้าใจในสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น และมีจิตใจที่อยากพัฒนาให้ดี
ขึ้น
สถาบันราชภัฎ
คณะวิชา สำนัก ศูนย์
คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
โปรแกรมวิชา
…………….
คณะวิทยาการจัดการ
โปรแกรมวิชา
…………….
คณะ……………..
สำนักส่งเสริม
สำนักวางแผน
สำนัก……………
ศูนย์คอมพิวเตอร์
ศูนย์ภาษา
ศูนย์……………
………
13
2.6กก2.6.1กก2.6.1.2กกความพยายาม (Attempt) ที่จะทำให้ความตระหนักนั้นเป็น
ความจริง โดยมีร่องรอยความพยายามในการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของ
สถาบันให้ดีขึ้น
2.6กก2.6.1กก2.6.1.3กกการบรรลุผลสัมฤทธิ์ (Achievement ) จากความพยายาม
ที่ได้ดำเนินการมาและเกิดผลตามสภาพจริงในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้
2.6กกการนำเกณฑ์ 3A มาใช้ในการประเมินขึ้นอยู่กับหน่วยงานการศึกษาจะนำไปปรับใช้
ตัวอย่าง
มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้นำมาใช้ดังตารางที่ 2-1 (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,ก2547:ก
45)
ตารางที่ก2-1กกเกณฑ์การประเมิน 3 A ที่ใช้ในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ระดับ ความหมาย
1 การที่หน่วยงานมีความตระหนักถึงความสำคัญ (Awareness) ของ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยอาจแสดงในรูปของการระบุไว้ใน
นโยบายแผนงาน หรือการประชุมปรึกษาหารือและหยิบยกประเด็น
ปัญหามารอภิปรายกัน ฯลฯ
2 มี (1)+การที่หน่วยงานมีความพยายาม (Attempt) ในการ
ดำเนินงานเพื่อ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยอาจแสดงในรูปของการแต่งตั้งคณะ
ดำเนินงานการสนับสนุนการดำเนินงานด้วยการจัดสรรงบประมาณ
กำลังคน เวลาหรือมีโครงการ ฯลฯ
3-4-5 เทียบเท่ากับการบรรลุผลตามเกณฑ์ (Achievement) โดยจำแนก
เป็น
3 ระดับ
3 (2) + การที่หน่วยงานมีการบรรลุผลตามเกณฑ์ตรงกับช่วงขั้นต่ำสุด
ของเกณฑ์ที่ทางคณะกรรมการการประกันคุณภาพ ของมหาวิทยาลัยระบุ
ไว้
4 (2)+ การที่หน่วยงานมีการบรรลุผลตามเกณฑ์ตรงกับช่วงขั้นกลางของ
เกณฑ์ที่ทางคณะกรรมการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยระบุไว้
14
5 มี(2)+ การที่หน่วยงานมีการบรรลุผลตามเกณฑ์ตรงกับช่วงขั้นสูงสุด
ของเกณฑ์ที่ทางคณะกรรมการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยระบุไว้
14
2.7กกองค์ประกอบที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ
2.7กกองค์ประกอบ หมายถึง ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏแบ่งออก
เป็น 9 องค์ประกอบ แต่ละองค์ประกอบจะมีดัชนีชี้วัดซึ่งเป็นกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ และในแต่
ละดัชนีชี้จะมีเกณฑ์ประเมินเป็นตัวกำหนดรายละเอียดภาคผนวก ข ตารางที ข-1 ถึง ข-9 แสดง
องค์ประกอบที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษา
2.7กก2.7.1กกองค์ประกอบที่ 1กปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และแผนงานประกอบด้วย
3 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.2กกองค์ประกอบที่ 2กการเรียนการสอน ประกอบด้วย 12 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.3กกองค์ประกอบที่ 3กการพัฒนานักศึกษา ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.4กกองค์ประกอบที่ 4กการวิจัย ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.5กกองค์ประกอบที่ 5กการบริการวิชาการสู่ท้องถิ่นและสังคม ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.6กกองค์ประกอบที่ 6กการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.7กกองค์ประกอบที่ 7กการบริหารจัดการ ประกอบด้วย 8 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.8กกองค์ประกอบที่ 8กการเงินและงบประมาณ ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด
2.7กก2.7.9กกองค์ประกอบที่ 9กการประกันคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด
2.8กกตัวอย่างการประเมินคุณภาพการศึกษาตามรายองค์ประกอบ
2.7กกการประเมินคุณภาพการศึกษาประกอบด้วย
2.7กก2.8.1กกการประเมินตนเอง เป็นการประเมินหน่วยงานโดยบุคลากรภายในหน่วยงานนั้น
เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพการทำงาน ศึกษาจุดอ่อนและจุดแข็งในการปฏิบัติงานเพื่อหาแนวทางใน
การแก้ไขและแนวทางเสริมประสิทธิภาพการทำงานให้ดีขึ้น
2.7กก2.8.2กกการประเมินภายในเป็นการประเมินหน่วยงานเช่นคณะวิชา โปรแกรมวิชา ในสถาบัน
ราชภัฏแต่ละแห่ง โดยคณะกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นภายใน เกณฑ์การประเมินส่วนใหญ่จะใช้ตัวเลข
เพื่อบ่งบอกถึงประสิทธิภาพของการประเมิน เช่น การประเมินใช้ตัวเลข 6 ระดับ ประกอบด้วย
รายละเอียดดังนี้ 5 หมายถึง ดีมาก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถึง พอใช้ 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง
น้อยมาก และ 0 หมายถึง ไม่ได้ดำเนินการ เป็นต้น ตัวอย่างการประเมินตามรายองค์ประกอบ
แสดงรายละเอียดใน ภาคผนวก ข ตารางที่ ข-10 ถึง ข-18
15
2.9กกระบบฐานข้อมูล
2.9กกระบบฐานข้อ หมายถึง การจัดเก็บบันทึกข้อมูลที่สัมพันธ์กันไว้ในลักษณะของระบบ
เบ็ดเสร็จ (Integrated System) กล่าวคือ มีเก็บบันทึกข้อมูลไว้ส่วนกลางเพื่อลดปัญหา
ความซ้ำซ้อนของข้อมูล อีกทั้งเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้และปฏิบัติกับข้อมูลในฐานข้อมูลร่วมกัน
ได้ (พุธษมดี,ก2539:ก1)
2.9กก2.9.1กกองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล
2.9กก2.9.1กกระบบฐานข้อมูล ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ 4 องค์ประกอบได้แก่
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล (Data) บุคลากร
(People)
2.9กก2.9.1กก2.9.1.1กกฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่
ประกอบกันเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ อุปกรณ์นำเข้า อุปกรณ์แสดงผล อุปกรณ์ประมวลผล
หน่วยความจำประเภทต่าง ๆ นอกจากนี้ฮาร์ดแวร์เหล่านี้อาจต่อเชื่อมกันเป็นระบบเครือข่าย
เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูล
ร่วมกันได้
2.9กก2.9.1กก2.9.1.2กกซอฟต์แวร์ (Software) เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อจัดการ
ควบคุม และอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ซอฟต์แวร์ที่จำเป็นได้แก่
2.9กก2.9.1กก2.9.1.1กกก)กกโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ โปรแกรมระบบเงินเดือน
และบุคลากร โปรแกรมระบบสินค้าคงคลัง
2.9กก2.9.1กก2.9.1.1กกข)กกระบบจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ใน
การบริหาร
จัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft SQL, MySQL, Oracle
2.9กก2.9.1กก2.9.1.3กกข้อมูล (Data) มีการจัดเก็บในหน่วยความจำสำรอง
ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์
เทปแม่เหล็ก เป็นต้น ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลจะต้องได้รับการออกแบบเพื่อให้สามารถจัดการ
ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และสามารถเรียกใช้ข้อมูลร่วมกัน
2.9กก2.9.1กก2.9.1.4กกบุคลากร (People) ในระบบฐานข้อมูลหมายถึงผู้ใช้งาน
ระบบฐานข้อมูล ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ (พุทธษดี,ก2539:ก3)
16
2.9กก2.9.1กก2.9.1.1กกก)กกผู้พัฒนาโปรแกรม(Application Programmer)
หมายถึง ผู้ที่ทำหน้าที่ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
2.9กก2.9.1กก2.9.1.1กกข)กกผู้ใช้งาน (End User) หมายถึง ผู้ใช้งานข้อมูลใน
ระบบ ผ่านปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ
2.9กก2.9.1กก2.9.1.1กกค)กกผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA: Data Base
Administrator) เป็นบุคคลที่
ทำหน้าที่ในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล ดูแล รับผิดชอบ ตัดสินใจเกี่ยวกับระบบ
ฐานข้อมูล เช่น การจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การกำหนดระบบรักษาความปลอดภัย เป็น
ต้น
2.9กก2.9.2 กกฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ก(Relational Database) ระบบจัดการ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์สร้างขึ้นโดย Dr. Edgar Frank Codd ซึ่งฐานข้อมูล
ดังกล่าวเป็นที่นิยมและใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นการรวบรวม
table หรือ รีเลชันก(Relation) ที่มีความสัมพันธ์กันมาไว้ด้วยเพื่อความสะดวกในการ
จัดการข้อมูล
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกโครงสร้างข้อมูลของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ มีโครงสร้างการ
จัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ประกอบด้วยโครงสร้างดังนี้ก(โอภาส,ก2545:ก66)
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกก)กกรีเลชั่นก(Relation) ในบางครั้งเรียกว่า เทเบิลก
(Table) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางซึ่งประกอบด้วยแถวและ
คอลัมน์ ซึ่งในระบบฐาน
ข้อมูลหนึ่งจะประกอบด้วยตารางหลายตาราง
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกข)กกแอตทริบิวต์ก(Attribute) ในบางครั้งเรียก
คอลัมน์ก(Column) หรือ
ฟิลด์ (Field) เป็นตัวที่บอกคุณลักษณะหรือคุณสมบัติของตาราง
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกค)กกโดเมนก(Domain) โดเมน หมายถึงค่าของข้อมูลที่
เป็นได้ โดยโดเมนจะเป็นตัวควบคุมค่าของข้อมูล เช่น สีของรถยนต์มี 5 สี ได้แก่ แดง เขียว
น้ำเงิน บรอนด์ ขาว หรือ เพศ ประกอบด้วยค่า 2 ค่า ได้แก่ ชาย และ หญิง เป็นต้น
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกง)กกทูเพิลก(Tuple) บางครั้งเรียก แถวก(Row) หรือ
เรคคอร์ดก(Record )
ซึ่งประกอบด้วยคอลัมน์หลาย ๆ คอลัมน์ที่มีความสัมพันธ์กัน
17
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกจ)กกดีกรี (Degree) หมายถึง จำนวนแอตทริบิวต์ที่มีใน
รีเลชันหรือเทเบิล
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกฉ)กกคาร์ดินาลิตี้ก(Cardinality) หมายถึง จำนวนเรคค
อร์ด หรือ แถวใน
รีเรชันหนึ่งสัมพันธ์กับอีกรีเลชันหนึ่ง ได้แก่ ความสัมพันธ์แบบ หนึ่งต่อหนึ่ง (one-tomany)
หนึ่งต่อกลุ่มก(one-to-many) กลุ่มต่อกลุ่มก(many –to-many)
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.2กกคุณสมบัติของรีเลชัน โดยรีเลชัน หรือเทเบิลในฐานข้อมูลเชิง
สัมพันธ์ มี
คุณสมบัติดังนี้
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกก)กกต้องมีชื่อที่ไม่ซ้ำกัน
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกข)กกค่าของแอตทริบิวต์หรือคอลัมน์จะต้องมีค่าไม่ซ้ำกัน
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกค)กกในรีเลชันหนึ่งจะมีแอตทริบิวต์เพียงแอตทริบิวต์เดียวเท่านั้น
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกง)กกค่าของแอตทริบิวต์จะต้องเป็นไปตามค่าโดเมนของแอตทริ
บิวต์นั้น ๆ
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกจ)กกการเรียงลำดับของแอตทริบิวต์ถือว่าไม่มีความแตกต่าง
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกฉ)กกค่าของแถวจะต้องมีค่าที่แตกต่างกัน ไม่ซ้ำกัน
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.1กกช)กกการเรียงลำดับของแถว ถือว่าไม่มีความแตกต่าง
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.3กกคีย์ (Keys) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ซึ่งจะทำการจัดเก็บข้อมูล
ในรูปแบบของ
ตาราง ซึ่งประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บในคอลัมน์ของแต่ละแถว ดังนั้นเมื่อ
ต้องการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวจำเป็นต้องมีตัวชี้ข้อมูล ซึ่งอาจเป็นคอลัมน์เดี่ยวๆ หรือประกอบด้วย
คอลัมน์หลาย ๆ คอลัมน์ จะเรียกว่า คีย์ โดยมีรายละเอียด คือ
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.3กกก)กกคีย์คู่แข่ง (Candidate Key) เป็นแอตทริบิวต์ใด ๆ
หรือเป็นกลุ่มของแอตทริบิวต์ ที่ทำให้ข้อมูลในตารางไม่ซ้ำกัน
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.3กกข)กกคีย์หลักก(Primary Key) เป็นคีย์คู่แข่งที่ถูกเลือกมา
เพื่อชี้ หรืออ้างอิง ข้อมูลในตาราง ค่าของคีย์หลักจะต้องไม่เป็นค่า NULL หมายถึง ไม่ทราบ
ค่าที่แน่นอน
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.3กกค)กกคีย์นอกก(Foreign key) เป็นคีย์คู่แข่งแต่ไม่ได้ถูก
เลือกให้เป็นคีย์หลักที่ทำหน้าที่สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสองตาราง
18
2.9กก2.9.3กกการออกแบบฐานข้อมูลประกอบด้วยขั้นตอน 6 ขั้นตอน
2.9กก2.9.3กก2.9.3.1กกสำรวจความต้องการใช้งาน (Requirements
Analysis) สำรวจผู้ใช้งานในระบบว่าต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง จากทุก ๆ งานที่มีอยู่ใน
ระบบ
2.9กก2.9.3กก2.9.3.2กกออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด (Conceptual
Design) ในขั้นตอนนี้จะเป็นนำเอาความต้องการที่ได้จากการสำรวจความต้องการของผู้ใช้
มากำหนดความสัมพันธ์ของ
ข้อมูล การออกแบบในขั้นตอนนี้จะเป็นการออกแบบในเชิงแนวความคิด ซึ่งยังไม่สามารถนำไปใช้
งานได้ ส่วนใหญ่จะเป็นการออกแบบในลักษณะส่วนย่อย การออกแบบประกอบไปด้วย เอ็น
ติตี้ ความสัมพันธ์ แอตริบิวต์ต่าง ๆ คีย์หลัก คีย์รอง เป็นต้น
2.9กก2.9.3กก2.9.3.3กกออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Logicalก เป็นการออกแบบ
ฐานข้อมูลให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น อาจสร้างเป็นแบบจำลองต่าง ๆเช่น ER-Diagram เลือก
โมเดลที่จะใช้งานโดยไม่ต้องคำนึงถึงระบบจัดการฐานข้อมูลเช่นโมเดลเชิงสัมพันธ์ ในขั้นตอนนี้
จะนำรายละเอียดของส่วน
ย่อย ๆ ที่ได้ออกแบบไว้ในขั้นตอนระดับแนวความคิดมารวมเข้ากันเป็นระบบใหญ่ เพื่อให้มีความ
ชัดเจนยิ่งขึ้น
2.9กก2.9.3กก2.9.3.4กกปรับโครงสร้างข้อมูล (Schema Refinement) เป็น
ขั้นตอนการออกแบบในระดับลอจิคอล (Logical) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำไปใช้งานได้
ทันที เนื่องมาจากข้อมูลดังกล่าวยังมีความซ้ำซ้อน ซึ่งจะก่อปัญหาต่าง ๆ หากนำไปใช้งาน ใน
ขั้นตอนนี้จะมีการปรับโครงสร้างเพื่อให้สามารถใช้งานได้โดยวิธีการ Normalization
2.9กก2.9.3กก2.9.3.5กกออกแบบในระดับ Physical เป็นการออกแบบระบบฐานข้อมูล
ที่ใช้งานจริง
โดยพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่
2.9กก2.9.2 กก2.9.2.3กกก)กกระบบจัดการฐานข้อมูลที่ใช้
2.9กก2.9.3กก2.9.3.5กกข)กกหน่วยความจำสำรองที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล
2.9กก2.9.3กก2.9.3.5กกค)กกการเลือกโครงสร้างแฟ้มข้อมูล
2.9กก2.9.3กก2.9.3.5กกง)กกการออกแบบกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ต่าง ๆ สำหรับการเข้าถึง
และความปลอดภัยของฐานข้อมูล
2.9กก2.9.3กก2.9.3.6กกควบคุมการนำไปใช้งานก(Security Design)ก การ
กำหนดสิทธิเป็นสิ่งที่มี
19
ความสำคัญเนื่องจากผู้ใช้ใช้ข้อมูลในการปฏิบัติการ และการเข้าถึงข้อมูลที่แตกต่าง ดังนั้นจึง
จำเป็นต้องมีการควบคุมการใช้งานตามสิทธิและหน้าที่ของผู้ใช้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหน้าที่ของ
ผู้บริหารฐานข้อมูล
2.10กกวงจรการพัฒนาระบบก(System Development Life Cycle)
2.10กกวงจรการพัฒนาระบบกหมายถึงกกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ กเพื่อแก้ปัญหา
ทางธุรกิจและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ โดยกระบวนการนั้นจะแบ่งกระบวนการ
ภายในออกเป็นระยะวงจรการพัฒนาระบบ โดยแบ่งขั้นตอนของวงจรพัฒนาระบบออกได้ 6
ขั้นตอน
2.10กก2.10.1กกการค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and
Selection)
2.10กก2.10.1กก2.10.1.1กกกำหนดรายละเอียดโครงการที่จะพัฒนาทั้งหมด
เป็นขั้นตอนของ
การศึกษารายละเอียดโครงการทั้งหมดขององค์กร ซึ่งโครงการเหล่านี้อาจมาจากบุคคลในหลาย ๆ
ระดับ เช่น ผู้บริหารในระดับสูง, คณะผู้บริหาร พนักงานที่ปฏิบัติงานในแผนกต่าง ๆ หรือ ทีมงาน
พัฒนาระบบ
2.10กก2.10.1กก2.10.1.2กกจำแนกและจัดลำดับความสำคัญของโครงการที่จะพัฒนา
จัดลำดับความสำคัญของโครงการที่จะพัฒนา โดยพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ตามลำดับความสำคัญ
2.10กก2.10.1กก2.10.1.3กกเลือกโครงการที่จะพัฒนา เลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด
โดยพิจารณาจากลำดับความสำคัญของโครงการ
2.10กก2.10.2กกการเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (Project Initiation and
Planning)
2.10กก2.10.2กก2.10.2.1กกการเริ่มต้นดำเนินโครงการ(Project Initiation)
ขั้นตอนนี้เป็นการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงการ
2.10กก2.10.2กก2.10.2.2กกการวางแผนโครงการ (Project Planning) ได้แก่
การวางแผนการใช้ทรัพยากร วางแผนระยะเวลา ประเมินความเสี่ยง
2.10กก2.10.3กกการวิเคราะห์ระบบ (Analysis)
2.10กก2.10.3กก2.10.3.1สสกำหนดความต้องการของระบบ (Determine
System Requirement) ศึกษาความต้องการของระบบปัจจุบันเพื่อทำความเข้าใจถึงสภาพ
ปัญหาที่เกิดขึ้น
20
2.10กก2.10.3กก2.10.3.2สสวิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่ (Requirement
Structuring) วิเคราะห์ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบโดย
นำแบบจำลองมาใช้เช่น แผนภาพกระแสข้อมูล แผนภาพ E-R Diagram (Entity
Relationship Diagram )
2.10กก2.10.4กกการออกแบบ ( Design)
2.10กก2.10.4กก2.10.4.1สสการออกแบบเอ้าต์พุต (Output design) ได้แก่ การ
ออกแบบรายงาน เอกสารต่าง ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบเอกสารายงานหือแสดงบนจอภาพ
2.10กก2.10.4กก2.10.4.2สสการออกแบบการติดต่อกับผู้ใช้ เป็นกระบวนการเตรียม
รายละเอียดเพื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป การออกแบบอินพุตมี
วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมจำนวนอินพุต หลีกเลี่ยงความล่าช้า ป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นใน
การป้อนข้อมูล
2.10กก2.10.4กก2.10.4.3สสการออกแบบอินพุต เป็นการออกแบบการติดต่อการโต้ตอบ
ระหว่างระบบกับผู้ใช้ซึ่งต้องออกแบบให้เข้าใจง่ายและดึงดูดความสนใจรวมทั้งการอำนวยความ
สะดวก ต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้
2.10กก2.10.4กก2.10.4.4สสการออกแบบฐานข้อมูล เป็นการออกแบบฐานข้อมูลด้วย
วิธีการทำ นอร์มัลไลซ์ เพื่อลดการซ้ำซ้อนของข้อมูล ซึ่งช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น
2.10กก2.10.5กกการพัฒนาและติดตั้งระบบ (Implementation)
2.10กก2.10.5กกการพัฒนาและติดตั้งระบบเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวงจรพัฒนาระบบซึ่ง
ประกอบ
ด้วยขั้นตอนดังนี้
2.10กก2.10.5กก2.10.5.1สสการพัฒนาระบบ การพัฒนาระบบเป็นขั้นดำเนินการสร้าง
ระบบตามที่ได้ออกแบบมาก่อนหน้าที่ซึ่งการพัฒนาระบบนั้นมีหลายรูปแบบได้แก่ พัฒนา
โปรแกรมใช้ในหน่วยงานจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาพัฒนาระบบ ซื้อซอฟท์แวร์สำเร็จรูป
2.10กก2.10.5กก2.10.5.2สสการทดสอบโปรแกรม การทดสอบระบบเป็น
การสร้างความมั่นใจ
ให้กับระบบว่าระบบที่สร้างนั้นสามารถทำงานได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจทดสอบมีหลาย
วิธีได้แก่
2.10กก2.10.5กก2.10.5.2กกก)สสการทดสอบไวยกรณ์ หลายถึง การทดสอบรูปแบบ
คำสั่ง ซึ่งทดสอบในขณะพัฒนาโปรแกรม
21
2.10กก2.10.5กก2.10.5.2กกข)สสทดสอบโมดูล ในบางครั้งเรียกว่า Unit
Testing เป็นการทดสอบแต่ละโมดูลว่าทำงานได้ถูกต้องหรือไม่
2.10กก2.10.5กก2.10.5.2กกค)สสการทดสอบระบบ System testing เป็นการ
ทดสอบทั้งระบบ เพื่อทดสอบว่าระบบทำงานได้ถูกต้องหรือไม่
2.10กก2.10.5กก2.10.5.3กกการจัดทำเอกสาร เอกสารที่ใช้ในระบบได้แก่ คู่มือ
ติดตั้งระบบและ
คู่มือใช้งาน
2.10กก2.10.5กก2.10.5.4กกการฝึกอบรม
2.10กก2.10.6กกการซ่อมบำรุง(Maintenance) การซ่อมบำรุงรักษาระบบ เพื่อให้
ระบบทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนปรับปรุงระบบให้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น
2.11กกภาษาที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
2.11สส2.11.1กกภาษา PHP
2.11กก2.11.1กกPHP เป็นภาษาสคริบป์ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในการเขียนโปรแแกรม
แบบเว็บเบสในปัจจุบัน ภาษา PHP (PHP : Hypertext Preprocess) เป็นภาษา
ประเภท Server Side Script ช่วยการฝังในโปรแกรมไว้ที่ Serner และเรียกใช้โดย
Web Cilent ภาษา PHP เป็นภาษาสคริปต์ที่ทำงานทางฝั่งเซริฟเวอร์ ซึ่งมีลักษณะเป็น
Embedded script ซึ่งสามารถแทรกภาษา PHP กับภาษา HTML ซึ่งมีคำสั่ง
PHP จะเขียนภายใต้เครื่องหมายคำสั่งต่อไปนี้
2.11กก2.11.1กกแท็ก
2.11กก2.11.1กกแท็ก เป็นรูปแบบของ XML
2.11กก2.11.1กกแท็ก%…………….%> เป็นรูปแบบของ ASP
2.11กก2.11.1กกแท็ก
2.11กก2.11.2สสJavaScript โดยส่วนใหญ่แล้วจะเขียนแทรกกับภาษา HTML
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานเนื่องจาก JavaScript เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
เนื่องจาก Javascript มีความสามารถมาก สามารถประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่างอีกทั้งยังทำ
ให้เว็บเพจมีสีสรรและนำใช้งานมากยิ่งขึ้น
2.11กก2.11.3กกระบบการจัดการฐานข้อมูล MySQL
2.11กก2.11.3กกMySQL เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลที่ได้รับความนิยมมาก ในการ
พัฒนาโปรแกรมประยุกต์แบบเว็บดาต้าเบส MySQL เป็นซอฟว์แวร์ที่ได้รับการยอมรับทั้งใน
แง่ของความเร็วในการถ่ายข้อมูล ขนาดของข้อมูลที่สามารถจัดเก็บได้การใช้งานได้หลากหลายกับ
ระบบ ปฎิบัติการเป็น Linux Windows Unix เป็นต้น
2.11กก2.11.1กกMySQL ได้การพัฒนาตามข้อกำหนดมาตรฐาน SQL ทำให้สามารถ
ใช้คำสั่ง SQL ในการทำงานแบบ MySQL ได้ ลักษณะเด่นของ MySQL มีรายละเอียด
ดังนี้ (สงกรานต์, 2544: 21) 2.11กก2.11.3กก2.11.3.1กกสนับสนุนการ ใช้งาน
หน่วยประมวลผลกลางหลายตัว
2.11กก2.11.3กก2.11.3.2กกทำงานแบบ Multithreadedได้
2.11กก2.11.3กก2.11.3.3กกสนับสนุน AIT เพื่อใช้งานกับ Development
platform ต่าง ๆ
มากมายเช่น C, C++, Java,P HP
24
2.11กก2.11.3กก2.11.3.4กกรันระบบปฏิบัติการได้หลากหลายเป็น Unix, Linux,
Windows
2.11กก2.11.3กก2.11.3.5กกมีประเภทของข้อมูลให้เลือกใช้งานได้มาก
2.11กก2.11.3กก2.11.3.6กกสนับสนุนการ join ของข้อมูล
2.11กก2.11.3กก2.11.3.7กกมีความสามารถสูงกำหนดสิทธิและรหัสผ่านในการเข้าใช้
ข้อมูล
2.11กก2.11.3กก2.11.3.8กกสามารถรองรับข้อมูลขนาดใหญ่
2.11กก2.11.3กก2.11.3.9กกสนับสนุนรูปแบบภาษาได้หลายรูปแบบ
2.11กก2.11.4กกเอชทีเอ็มแอล (HTML)
2.11กก2.11.4กกเอชทีเอ็มแอล เป็นภาษาพื้นฐานในการสร้างโอกาสบนอินเตอร์เน็ตหรือการ
เขียนโปรแกรมจะเขียนในรูปของไฟล์ข้อความโดยใช้ Text Editor ในการสร้าง
ซึ่งในปัจจุบันได้มี
การพัฒนา Text Editor สำหรับเขียนภาษา HTML โดยเฉพาะเรียกกว่า HTML
Editor ในการเขียนโปรแกรมภาษา HTML มีหลักการปฏิบัติดังนี้
2.11กก2.11.4กกก)กกคำสั่งภาษา HTML จะเขียนภายใต้ Tag ใช้สัญลักษณ์ < >
เช่น
2.11กก2.11.4กกข)กกในแต่ละ Tag จะสิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย / เช่น
2.11กก2.11.4กกค)กกคำสั่งใช้ตัวพิมพ์ใหญ่หรือเล็กก็ได้
2.11กก2.11.4กกง)กกการพิมพ์คำสั่งจะใช้แยกบรรทัดหรือในบรรทัดเดียวกันก็ได้
2.11กก2.11.4กก
2.11กก2.11.4กก Welcome t My Home Page
2.11กก2.11.4กก
2.11กก2.11.4กกHello, My Home Page.
2.11กก2.11.4กก
2.11กก2.11.4กก
ตารางที่ก2-2สสแท็ก (Tag) ที่สำคัญในภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML)
ชื่อ Tag ความหมาย
กำหนดชื่อเรื่อง
กำหนดขอบเขตเนื้อหาใน
กำหนดแถวในตาราง
25
24
2.12กกงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.12กกอุทุมพรและคณะ (2544) ได้ทำการวิจัยเรื่อง ดัชนี เกณฑ์ และวิธีการประเมิน
คุณภาพ
การศึกษาภายในและภายนอกสำหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย โดยมุ่งเน้นพัฒนาดัชนีประเมิน โดย
อาศัยประสบการณ์จาก 3 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซ็นต์จอห์น
และวิทยาลัยกองทัพบก นอกจากนี้ยังได้รับข้อเสนอแนะจากมหาวิทยาลัยของรัฐ เอกชน สถาบัน
ราชภัฏ รวม 41 แห่ง ได้สรุปผลการวิจัย องค์ประกอบ ดัชนีชี้วัดและเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน
คุณภาพการศึกษาดังนี้
2.12กก2.12.1กกองค์ประกอบและจำนวนดัชนีชี้ที่ใช้ในระดับคณะวิชา สำนัก และภาควิชา
แสดง
ดังตารางที่ 2-3
ตารางที่ก2-3กกองค์ประกอบและจำนวนดัชนีของคณะวิชา ศูนย์ สำนัก
องค์ประกอบ จำนวนดัชนี
คณะวิชา ศูนย์ สำนัก
1.กกปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนงาน 5 3 3
2.กกการเรียนการสอน 13 15
3.กกกิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา 3 3
4.กกการวิจัย 4 4
5.กกการบริการทางวิชาการสู่สังคม 4 2
6.กกการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 4 2
7.กกการบริหารจัดการ 11 10 10
8.กกการเงินและงบประมาณ 4 4 4
9.กกระบบกลไกในการประกันคุณภาพ 6 6 5
รวม 54 23 49
25
2.12กก2.12.2กกเกณฑ์ที่ใช้ประเมินดัชนีแบ่งออกได้ 5 ระดับ แสดงดังตารางที่ 2-4
ตารางที่ก2-4กกเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินดัชนี3.5
กก2.5.1กก5
ระดับ ความหมาย
5 ระดับสูง
4 ระดับรองลงมา
3 ระดับมาตรฐาน
2 ระดับต่ำ
1 ระดับต่ำสุด/ต้องปรับปรุง
2.13กกบทสรุปการนำเทคโนโลยีไปใช้
ผู้วิจัยได้นำเอาหลักการและวิธีการของวงจรการพัฒนาระบบมาประยุกต์ใช้ในการ
พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินในสถาบันราชภัฏ โดยได้ทำการศึกษาระบบประกัน
คุณภาพและประเมินคุณภาพในสถาบันราชภัฏ รวมทั้งรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตำรา ระเบียบ
กฏเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ระบบถูกออกแบบมา
ให้ทำงานภายใต้ระบบเครือข่ายแบบอินเทอร์เน็ต โดยใช้ภาษาพีเอชพี (PHP) ร่วมกับภาษา
เอชทีเอ็มแอล (HTML) เป็นภาษาหลัก โดยมีภาษาจาวาสคริปต์เป็นภาษาเสริมเพื่อให้
โปรแกรมสามารถทำงานได้สะดวกและง่ายยิ่งขึ้น การจัดเก็บข้อมูลของระบบใช้ระบบจัดการ
ฐานข้อมูลแบบ มายเอสคิวแอล (MySQL) ติดตั้งภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดว์หรือลีนุกซ์
บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
3.1สสการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษาใน
สถาบันราชภัฏ โดยมีขั้นตอนของการวิจัยดังนี้
3.1สส3.1กกการศึกษาข้อมูล
3.1สส3.2กกการออกแบบและพัฒนาระบบ
3.1สส3.3กกการทดสอบระบบ
3.1สส3.4กกการวิเคราะห์ข้อมูล
3.1สสการศึกษาข้อมูล
3.1สสผู้วิจัยได้ทำการศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาระบบดังนี้
3.1สส3.1.1กกการประเมินคุณภาพการศึกษา โดยศึกษาจากระเบียบ วิธีการ ข้อกำหนดต่าง ๆ
คู่มือ การประกันคุณภาพ เอกสารต่าง ๆ ของสถาบันราชภัฏแต่ละแห่ง สอบถามข้อมูลและ
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ เพื่อนำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์และ
ออกแบบระบบ
งานใหม่
3.1สส3.1.2กกศึกษาซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ผู้วิจัยได้ศึกษาซอฟท์แวร์ที่ใช้พัฒนา
โปรแกรมบนระบบอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย ภาษาพีเอชพี (PHP) ระบบจัดการฐานข้อมูล
แบบมายเอสคิวแอล (MySQL) อาปาเช่ เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Apache Web Server) ซึ่ง
เป็นซอฟท์แวร์ประเภทฟรีแวร์ (Freeware) สามารถนำมาใช้พัฒนาระบบโดยไม่ต้องจ่าย
ค่าลิขสิทธิ์โปรแกรม อีกทั้งยังเป็นที่นิยมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1สส3.1.3กกศึกษาปัญหาของระบบงานประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏพบว่า
หน่วยงานในสถาบันราชภัฏได้แก่ คณะวิชา สำนัก ศูนย์ โปรแกรมวิชา ต้องดำเนินการประเมิน
คุณภาพโดยเฉพาะการประเมินตนเองและประเมินภายในต้องกระทำทุกปี ในการประเมินแต่ละครั้ง
ต้องใช้ข้อมูลเป็นจำนวนมาก ทำให้การประเมินยุ่งยากเนื่องจากไม่มีระบบจัดเก็บข้อมูลที่อำนวย
ความสะดวก ในบางครั้งต้องใช้ข้อมูลอ้างอิงจากหน่วยงานอื่นหรือข้อมูลย้อนหลังของการประเมิน
เพื่อนำมาเปรียบเทียบ นอกจากนี้ยังไม่มีระบบสารสนเทศที่ใช้เก็บข้อมูลการประเมินโดยตรง ทำ
ให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานเป็นไปด้วยความยุ่งยาก
ใช้บทที่ 3 หน้าท่ 1 แทน
27
3.2กกการออกแบบและพัฒนาระบบ
3.2กกการออกแบบระบบงานใหม่ผู้วิจัยได้ออกแบบรายละเอียดดังนี้
3.2กก3.2.1กกการออกแบบระบบงานใหม่ ผู้วิจัยได้ออกแบบระบบงานออกเป็น 9 ส่วน และ
แบ่ง ผู้ใช้ออกเป็น 9 กลุ่ม ผู้ใช้งานประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
เจ้าหน้าที่ประจำคณะวิชา เจ้าหน้าที่ประจำโปรแกรมวิชา กรรมการประเมินระดับคณะวิชา
กรรมการประเมินระดับโปรแกรมวิชา ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับคณะวิชาและผู้บริหาร
ระดับโปรแกรมวิชา (รายละเอียดแสดงดังแผนภาพที่ 3-1) ระบบงาน 9 ส่วนประกอบด้วย
งานบริหารจัดการระบบ งานจัดการข้อมูลประกันคุณภาพ งานจัดการข้อมูลสำหรับประเมิน
คณะวิชา งานจัดการข้อมูลสำหรับประเมินโปรแกรมวิชา งานประเมินคณะวิชา งานประเมิน
โปรแกรมวิชา รายงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง รายงานสำหรับผู้บริหารระดับคณะวิชา และ
รายงานสำหรับผู้บริหารระดับโปรแกรมวิชา (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-2)
ISQAE
เจ้าหน้าที่ดูแล
ระบบ
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
เจ้าหน้าที่
ประจำคณะวิชา
เจ้าหน้าที่ประจาํ
โปรแกรมวิชา
กรรมการประเมิน
ระดับคณะ
กรรมการ
ประเมินระดับ
โปรแกรมวิชา
ผู้บริหารระดับสูง
ผู้บริหารระดับ
คณะวิชา
ผู้บริหารระดับ
โปรแกรมวิชา
บัญชีผู้ใช้
รายการประเมิน
ข้อมูลผู้ใช้ ข้อมูลผู้ใช้,ข้อมูลประเมิน
ข้อมูลผู้ใช้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลประก ัน
ค ุณภาพ
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ,รายการประเม ิน
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลระบบ
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
รายการประเมิน
บัญชีผู้ใช้
รายการประเมิน
ข้อมูลผู้ใช้,
ข้อมูลประเมิน
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลประกันคุณภาพ
บัญชีผู้ใช้,รายการประเมิน
บ ัญช ีผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลการประเม ิน
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลการประเม ิน
บ ัญช ีผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลการประเม ิน
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ,ข ้อม ูล
การประเม ิน
28
ภาพที่ก3-1กกแผนภาพ Context Diagram ของระบบ
ภาพที่ก3-2กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 0 ความสัมพันธ์ของผู้ใช้กับระบบงาน
1
งานบริหารจัดการ
ระบบ
3
งานจัดการข้อมูล
สำหรับประเมิน
คณะวิชา
4
งานจัดการข้อมูล
สำหรับประเมิน
โปรแกรมวิชา
กรรมการ
ประเมินระดับ
คณะวิชา
กรรมการ
ประเมินระดับ
โปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่
คณะวิชา
เจ้าหน้าที่ประกัน
คุณภาพ
ผู้บริหาร
ระดับสูง
เจ้าหน้าที่
โปรแกรมวิชา
ผู้บริหาร
คณะวิชา
2
งานจัดการข้อมูล
ประกันคุณภาพ
7
รายงานสำหรับ
ผู้บริหารระดับสูง
6
งานประเมิน
โปรแกรมวิชา
5
งานประเมิน
คณะวิชา
ผู้บริหาร
โปรแกรมวิชา
8
รายงานสำหรับ
ผู้บริหารคณะวิชา
9 เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
A userdetail
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
บั ญชี ผู ้ใช ้ บั ญชี ผู ้ใช ้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลระบบ
บัญชีผู้ใช้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลการ
ประเม ิน
บ ัญช ีผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลการ
ประเม ิน
รายงานการประเม ิน
รายงานการประเม ิน
รายการประเม ิน
รายการประเม ิน
ข ้อม ูลการประเม ิน
ข ้อม ูลประเม ิน
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้ บ ัญช ีผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลประเม ิน
ข้อมูลการประเมิน
บ ัญช ีผ ู ้ใช ,ข ้อม ูลประ
ก ันค ุณภาพ
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
รายการประเม ิน
รายงานสำหรับ
ผู้บริหาร
โปรแกรมวิชา
บ ัญช ีผ ู ้ใช
29
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกงานบริหารจัดการระบบ เป็นงานจัดการข้อมูลที่ใช้ในระบบ แบ่ง
ระบบงานออกเป็น 7 ส่วน (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-3) งานบริหารจัดการระบบ
ประกอบด้วย
ภาพที่ก3-3กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (งานบริหารจัดการระบบ)
กรรมการ
ประเมินระดับ
โปรแกรมวิชา
1.1
ลงทะเบียนผู้ใช้
ผู้บริหารระดับ
คณะวิชา
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
ผู้บริหาระดับสูง
กรรมการ
ประเมินระดับ
คณะวิชา
ผู้บริหารระดับ
โปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่
คณะวิชา
เจ้าหน้าที่
โปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
1 . 6
ปรับค่าระบบ
1 . 3
ลงทะเบียน
หน่วยงานระดับ
คณะวิชา
1 . 5
ลงทะเบียน
หน่วยงานระดับ
โปรแกรมวิชา
A1 facultytype
A3 faculty
A5 system
1 . 7
จัดการข่าวสาร
ประชาสัมพันธ์
A6 information
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
ปีข้อมูล,ข่าวประชาสัมพันธ์
ข ้อม ูลระบบ
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ข ้อม ูลคณะ
ข ้อม ูลคณะ
ข้อมูลโปรแกรมวิชา
ข้อมูลโปรแกรมวิชา
ข ้อม ูลระบบ
ข ้อม ูลระบบ
ข ่าวสารประชาส ัมพ ันธ ์
ข ่าวสารประชาส ัมพ ันธ ์
ประเภทหน่วยงาน
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช
A userdetail
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
ข ้อม ูลระบบ
1 . 2
ลงทะเบียน
ประเภทหน่วยงาน
ระดับคณะวิชา
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน 1
.
4
ลงทะเบียนประเภท
หน่วยงานระดับ
โปรแกรมวิชา
A2 departtype
ประเภทหน่วยงาน
A4 department
ข ้อม ูลโปรแกรมว ิชา
ข ้อม ูลโปรแกรมว ิชา
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
30
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสลงทะเบียนผู้ใช้ เป็นส่วนที่ทำหน้าลงทะเบียนสำหรับผู้ใช้
ทั้ง 9 กลุ่ม ผู้ใช้ทุกระดับจะต้องลงทะเบียนจึงจะมีสิทธิใช้งาน โดยแบ่งงานภายใน
ออกเป็น 3 งานได้แก่
เพิ่มบัญชีผู้ใช้ แก้ไขบัญชีผู้ใช้ และ ยกเลิกสิทธิการใช้งาน (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-4)
ภาพที่ก3-4กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนผู้ใช้)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกข)สสลงทะเบียนประเภทหน่วยงานระดับคณะวิชา เป็นโปรแกรม
ทำหน้าที่ลงทะเบียนประเภทหน่วยงานระดับคณะวิชา ได้แก่ ประเภทคณะวิชา สำนัก ศูนย์ เป็น
ต้น ซึ่งแบ่งงานภายในออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ เพิ่มประเภทหน่วยงานระดับคณะ ลบประเภท
หน่วยงาน และ แก้ไขประเภทหน่วยงาน (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-5)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกค)สสลงทะเบียนหน่วยงานระดับคณะวิชา เป็นส่วนของการ
ลงทะเบียนชื่อหน่วยงานระดับคณะวิชาหรือเทียบเท่า ได้แก่ ชื่อคณะวิชา ชื่อสำนักต่าง ๆ หรือ
หน่วยงานอื่น ๆ ที่จัดตั้งขึ้นตามภาระกิจที่สถาบันราชภัฏแต่ละแห่งมอบหมาย แบ่งงานภายใน
กรรมการประเมิน
ระดับโปรแกรม
1.1.1
เพิ่มบัญชีผู้ใช้
ผู้บริหารระดับ
คณะ
ผู้บริหาระดับสูง
กรรมการ
ประเมิน
ระดับคณะ
ผู้บริหารระดับ
โปรแกรม
เจ้าหน้าที่
คณะวิชา
เจ้าหน้าที่
โปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
ข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
1.1.3
แก้ไข
1.1.4
ยกเลิกสิทธิ
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้ A userdetail
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
ข้อมูลผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บัญชีผู้ใช้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บัญชีผู้ใช้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
บ ัญช ีผ ู ้ใช
31
ออกเป็น 3 ส่วนประกอบด้วย เพิ่มประเภทหน่วยงาน ลบประหน่วยงาน แก้ไขประเภท
หน่วยงาน (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-6)
ภาพที่ก3-5กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนประเภทหน่วยงานระดับคณะวิชา)
ภาพที่ก3-6กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนหน่วยงานระดับคณะวิชา)
1.2.1
เพิ่มประเภท
หน่วยงาน
ระดับคณะ
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
1.2.3
แก้ไขประเภท
หน่วยงาน
ระดับคณะ
1.2.2
ลบประเภท
หน่วยงาน
ระดับคณะ
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน ประเภทหน่วยงาน
A1 facultytype
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
1.3.1
เพิ่มหน่วยงาน
ระดับคณะ
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
1.3.3
แก้ไขหน่วยงาน
ระดับคณะ
1.3.2
ลบหน่วยงาน
ระดับคณะ
ข้อมูลหน่วยงาน ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
ข ้อม ูลหน ่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน ข้อมูลหน่วยงาน
ข ้อม ูลหน ่วยงาน
ข ้อม ูลหน ่วยงาน
A3 faculty
ข ้อม ูลหน ่วยงาน
32
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกง)สสลงทะเบียนประเภทหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา ประเภท
หน่วยงานได้แก่ โปรแกรมวิชา ฝ่าย หรือประเภทอื่น ๆ ที่กำหนดขึ้นตามนโยบายของสถาบันราช
ภัฏ เพื่อปฏิบัติภาระกิจที่ได้รับมอบหมาย แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วนประกอบด้วย เพิ่มประเภท
หน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา ลบประเภทหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชาและแก้ไขประเภท
หน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-7)
ภาพที่ก3-7กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2
ภาพที่กก3-7ก (ลงทะเบียนประเภทหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกจ)สสลงทะเบียนหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา ทำหน้าที่
ลงทะเบียนชื่อหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา ได้แก่ ชื่อโปรแกรมวิชาต่าง ๆ หรือหน่วยงานอื่นที่
จัดตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมาย แบ่งงานภายในออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ เพิ่ม
หน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา ลบหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา แก้ไขหน่วยงานระดับโปรแกรม
วิชา (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-8)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฉ)สสปรับค่าระบบ ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงค่าข้อมูลสำหรับ
ระบบเพื่อให้สามารถทำงานได้ถูกต้อง เช่น ชื่อคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ชื่อและรหัสผ่านที่ใช้ในการ
1.4.1
เพิ่มประเภท
หน่วยงานระดับ
โปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
1.4.3
แก้ไขประเภท
หน่วยงานระดับ
โปรแกรมวิชา
1.4.2
ลบประเภท
หน่วยงานระดับ
โปรแกรมวิชา
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
A2 departtype
ประเภทหน่วยงาน
ประเภทหน ่วยงาน
33
ติดต่อกับฐานข้อมูล ชื่อและที่อยู่ของสถาบันราชภัฏที่ใช้งานโปรแกรม (รายละเอียดงานแสดงดัง
ภาพที่ 3-9)
ภาพที่ก3-8กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2
ภาพที่กก3-7ก(ลงทะเบียนหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา)
ภาพที่ก3-9กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ปรับค่าระบบ)
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
1.6.1
แก้ไขรายละเอียด
A5 system
ข ้อม ูลระบบ ข ้อม ูลระบบ
ข ้อม ูลระบบ
1.5.1
เพิ่มหน่วยงาน
ระดับ
โปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
1.5.3
แก้ไขหน่วยงาน
ระดับ
โปรแกรมวิชา
1.5.2
ลบหน่วยงาน
ระดับ
โปรแกรมวิชา
ข้อมูลหน่วยงาน A4 department
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน ข้อมูลหน่วยงาน
ข ้อม ูลหน ่วยงาน
ข ้อม ูลหน ่วยงาน
ข ้อม ูลหน ่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน ข้อมูลหน่วยงาน
34
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกช)สสการจัดการข่าวสารประชาสัมพันธ์ ทำหน้าที่ทำการ
ลงทะเบียนข่าวประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ โดยแสดงผลในหน้าหลักของระบบ มีจุดประสงค์เพื่อทำการ
เผยแพร่ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพหรือข่าวสารอื่น ๆ ประกอบด้วย งานเพิ่ม
ข่าวสารประชาสัมพันธ์ งานลบข่าวสารประชาสัมพันธ์ งานแก้ไขข่าวสารประชาสัมพันธ์
รายละเอียดแสดงดังภาพที่ (3-10)
ภาพที่ก3-10กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2
(งานจัดการข่าวสารประชาสัมพันธ์)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.2กกงานจัดการข้อมูลประกันคุณภาพ เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการ
ลงทะเบียน ข้อมูลประกันคุณภาพ ซึ่งต้องดำเนินการลงทะเบียนข้อมูลก่อนการประเมิน ข้อมูล
เหล่านี้จะถูกเรียกใช้โดยหน่วยงานทั้งในระดับคณะวิชาและโปรแกรมวิชา (รายละเอียดแสดงดัง
ภาพที่ 3-11) แบ่งระบบงานออกเป็น 4 งาน ประกอบด้วย
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสลงทะเบียนองค์ประกอบ ทำหน้าที่ในการลงทะเบียน
องค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาแบ่งงานออกเป็น 3 ส่วนประกอบด้วย
เพิ่มองค์ประกอบ แก้ไของค์ประกอบ และ ลบองค์ประกอบ ในการจัดเก็บข้อมูลจะแยกตามปี
พ.ศ. (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-12)
1.7.1
เพิ่มข่าวสาร
ประชาสัมพันธ์
เจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ
1.7.3
แก้ไขข่าวสาร
ประชาสัมพันธ์
1.7.2
ลบข่าวสาร
ประชาสัมพันธ์
A8 information
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
ข ่าวสารประชาส ัมพ ันธ ์
ข่าวสารประชาสัมพันธ์ ขา่ วสารประชาสัมพันธ์
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
ข ่าวสารประชาส ัมพ ันธ ์
ข ่าวสารประชาส ัมพ ันธ ์
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
35
ภาพที่ก3-11กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1
(งานจัดการข้อมูลประกันคุณภาพ)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกข)สสลงทะเบียนดัชนีชี้วัด ดัชนีชี้วัดเป็นตัวชี้บอกปัจจัยต่าง ๆ
ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งในแต่ละองค์ประกอบจะมีดัชนีชี้วัดที่แตกต่างกัน
ดัชนีชี้วัดเหล่านี้จะต้องได้รับการลงทะเบียนก่อน ซึ่งแบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ เพิ่ม
องค์ประกอบ แก้ไข
องค์ประกอบ และ ลบองค์ประกอบ (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-13)
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
2 . 1
ตรวจสอบสิทธิ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายประกัน
คุณภาพ
บ ัญช ีผ ู ้ใช
A userdetail
2 . 5
ลงทะเบียน
เกณฑ์ประเมิน
2 . 3
ลงทะเบียน
ดัชนีชี้วัด
2 . 2
ลงทะเบียน
องค์ประกอบ
2 . 4
ลงทะเบียน
กรรมการประเมิน
B3 mqacommittee
B6 assscore
B1 factor
B4 dqacommittee
B5 assruledefine
ข้อมูลองค์ประกอบ
ข้อมูลองค์ประกอบ
กรรมการประเม ิน
กรรมการประเม ิน
กรรมการประเม ิน
รายชื่อกรรมการประเมิน
รายชื่อกรรมการประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
ดัชนีชี้วัด
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
องค์ประกอบ
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
เกณฑ ์ประเม ิน
เกณฑ์ประเมิน
บัญชีผู้ใช้
B2 factorindex
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ
กรรมการประเม ิน
เกณฑ์ประเมิน
36
ภาพที่ก3-12กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนองค์ประกอบ)
ภาพที่ก3-13กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนดัชนีชี้วัด)
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
2.2.3
ลบองค์ประกอบ
2.2.2
แก้ไของค์ประกอบ
2.2.1
เพิ่มองค์ประกอบ
B1 factor
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ องค์ประกอบ
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ
องค ์ประกอบ
องค ์ประกอบ องค ์ประกอบ
องค์ประกอบ
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
2.3.4
แก้ไขดัชนีชี้วัด
2.3.2
ลบดัชนีชี้วัด
2.3.1
เพิ่มดัชนีชี้วัด
B2 factorindex
ดัชนีชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
ดัชนีชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
ดัชนีชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
37
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกค)สสลงทะเบียนกรรมการประเมิน ทำหน้าที่ลงทะเบียน
คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งกรรมการประเมินมี 2 ประเภทได้แก่ กรรมการ
ประเมินตนเอง และกรรมการประเมินภายใน แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย งานเพิ่ม
กรรมการประเมิน ลบกรรมการประเมิน แก้ไขกรรมการประเมิน (รายละเอียดแสดงดัง
ภาพที่ 3-14)
ภาพที่ก3-14กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนกรรมการประเมิน)
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
2.5.3
แก้ไขเกณฑ์
2.5.2
ลบเกณฑ์
2.5.1
เพิ่มเกณฑ์
B5 assessrule
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ ์ประเม ิน
เกณฑ ์ประเม ิน
เกณฑ ์ประเม ิน
เกณฑ ์ประเม ิน
เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ประกันคุณภาพ
2.4.3
แก้ไขกรรมการ
ประเมิน
2.4.2
ลบกรรมการ
ประเมิน
2.4.1
เพิ่มกรรมการ
ประเมิน
B4 dqacommittee
B3 mqacomittee
E8 person
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเมิน
กรรมการประเม ิน
กรรมการประเม ิน
กรรมการประเมิน
ข ้อม ูลกรรมการ
กรรมการประเมิน กรรมการประเมิน
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลบ ุคลากร
E8 person
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลกรรมการ
38
ภาพที่ก3-15กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนเกณฑ์การประเมิน)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกง)สสลงทะเบียนเกณฑ์การประเมิน ทำหน้าที่ลงทะเบียนเกณฑ์
ที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์ที่ใช้มีหลายรูปแบบ เช่น การประเมิน 2 ตัวเลือก ประกอบด้วยเกณฑ์
ผ่าน และ ไม่ผ่าน หรือ เกณฑ์การประเมิน 4 ตัวเลือก ได้แก่ ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย น้อย
ที่สุด เป็นต้น เกณฑ์ประเมินเหล่านี้จะต้องมีการลงทะเบียนก่อนนำไปประเมิน (รายละเอียดแสดง
ดังภาพที่ 3- 15)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.3กกงานจัดการข้อมูลสำหรับประเมินคณะวิชา เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับ
หน่วยงานระดับคณะวิชา ทำหน้าที่จัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการประเมินคุณภาพการศึกษา ข้อมูล
ประกอบด้วย 2 ส่วนได้แก่ ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
ส่วนงานนี้รับผิดชอบโดยเจ้าหน้าที่ประจำคณะวิชา (ภาพที่ 3-16 แสดงภาพรวมของระบบงาน)
รายละเอียดของระบบงานแยกได้ดังนี้
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสลงทะเบียนองค์ประกอบระดับคณะวิชา ทำหน้าที่ลงทะเบียน
องค์ประกอบที่ใช้ในการประเมินของแต่ละคณะหรือสำนัก แต่ละหน่วยงานจะใช้องค์ประกอบ
ต่างกันขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของสถาบันราชภัฏแต่ละแห่ง ภาระกิจของหน่วยงานนั้นกๆกจะไม่
เหมือนกันขึ้นอยู่กับภาระกิจที่กำหนดของสถาบันราชภัฏแต่ละแห่ง แบ่งงานออกเป็น 3
ส่วนประกอบด้วย เพิ่มองค์ประกอบ แก้ไของค์ประกอบและลบองค์ประกอบ (รายละเอียดแสดง
ดังภาพที่ 3- 17)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกข)สสลงทะเบียนรายละเอียดการประเมินระดับคณะวิชา หน้าที่
ลงทะเบียน
ลงทะเบียนรายละเอียดข้อมูลต่างกๆกที่ใช้ในการประเมินกข้อมูลเหล่านี้จะถูกกำหนดก่อนการ
ประเมินรายละเอียดการประเมินประกอบด้วย ประเภท คณะกรรมการ เกณฑ์ที่ใช้ และวันที่ของการ
ประเมินการลงทะเบียนแบ่งงานออกเป็นก3กส่วนประกอบด้วยเพิ่มรายละเอียดการประเมิน แก้ไข
รายละเอียดการประเมิน ลบรายละเอียดการประเมิน (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-18)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกค)สสแสดงรายการประเมิน แสดงรายละเอียดการ
ประเมินทั้งประเมิน
ตนเองและประเมินภายในของคณะวิชาซึ่งเจ้าหน้าที่สังกัด แต่ไม่สามารถทำการปรับปรุงแก้ไขได้
(รายละเอียดของงานแสดงดังภาพที่ 3-19)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกง)สสลงทะเบียนปรัชญาคณะวิชา เป็นสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้
อ้างอิงในการประเมินภาพการศึกษา ซึ่งข้อมูลนี้จะถูกบันทึกไว้ในระบบเพื่อสะดวกในการอ้างอิง
39
ประกอบด้วยงาน 2 ส่วน ได้แก่ งานเพิ่มปรัชญา แก้ไขปรัชญา (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-
20)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกจ)สสลงทะเบียนวิสัยทัศน์คณะวิชา ระบบจะบันทึกรายละเอียด
วิสัยทัศน์ การปรับปรุงแก้ไขเพื่อสะดวกในการเรียกใช้และอ้างอิงประกอบด้วยงานก2กส่วน ซึ่ง
ได้แก่กเพิ่มวิสัยทัศน์และแก้ไขวิสัยทัศน์ (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-21)
40
ภาพที่ก3-16กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1
(งานจัดการข้อมูลสำหรับประเมินคณะวิชา)
C2 facultyindexcontrol
C1 facultyfactor
C3 facultyindexdetail
B1 factor
B2 factorindexcontrol
B3 factorindex
เกณฑ์ชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
E5 objectiveinfo
E4 visioninfo
E3 riconcept
B5 assessmentdef
B4 mqacommittee
E6 research
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข ้อม ูลว ิจ ัย
4 . 9
ลงทะเบียน
งบประมาณ
ระดับคณะ
E7 budget
งบประมาณ
งบประมาณ
4. 10
ลงทะเบียน
บุคลากร
ระดับคณะ
E8 person
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลบุคลากร
E9 servicejob
ข ้อม ูลงานบร ิการว ิชาการ
4 . 12
ลงทะเบียน
งานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
E10 culturejob
ข ้อม ูลงานทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข้อมูลคณะวิชา,ปี
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
คณะวิชา,ปี
คณะวิชา,ปี
คณะวิชา,ปี
คณะวิชา,ปี คณะวิชา,ปี
คณะวิชา,ปี
ข้อมูลคณะวิชา,ปี
ข้อมูลคณะวิชา,ปี
ข้อมูลคณะวิชา,ปี
ข้อมูลคณะวิชา,ปี
A3 faculty
คณะว ิชา
บ ัญช ีผ ู ้ใช ้
ข้อมูลงานวิจัย
ข้อมูลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข ้อม ูลบร ิการว ิชาการ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลการประเมิน
ข ้อม ูลการประเม ิน
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลกรรมการ
A userdetail
ข ้อม ูลงานทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข ้อม ูลงานบร ิการว ิชาการ
4 . 11
ลงทะเบียน
งานบริการ
วิชาการ
4.1
ตรวจสอบ
สิทธิการใช้งาน
เจ้าหน้าที่ระดับ
คณะวิชา
เจ้าหน้าที่ระดับ
คณะวิชา
เกณฑ์ชี้วัด
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
4 . 4
แสดงรายการ
ประเมิน
4 . 2
ลงทะเบียน
องค์ประกอบ
ระดับคณะวิชา
องค์ประกอบ
4 . 3
ลงทะเบียนข้อมูล
ประเมินระดับ
คณะวิชา
คณะว ิชา,ป ี
E11 ddepartcommittee
ข้อมูลกรรมการบริหาร
ข้อมูลกรรมการบริหาร
4 . 13
ลงทะเบียน
ข้อมูลกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร
4 . 8
ลงทะเบียน
งานวิจัยระดับ
คณะวิชา
4 . 7
ลงทะเบียน
พันธกิจ
คณะวิชา
4 . 6
ลงทะเบียน
วิสัยทัศน์
คณะวิชา
4 . 5
ลงทะเบียน
ปรัชญา
คณะวิชา
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ
41
ภาพที่ก3-17กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1
(ลงทะเบียนองค์ประกอบระดับคณะวิชา)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฉ)สสลงทะเบียนพันธกิจคณะวิชา ทำหน้าที่ลงทะเบียน
พันธกิจของ
คณะวิชา เพื่อใช้อ้างอิงสำหรับการประเมิน แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่เพิ่ม แก้ไขและลบ
(รายละเอียดงานดังภาพที่ 3-22)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกช)สสลงทะเบียนงานวิจัย ทำหน้าที่ลงทะเบียนรายละเอียดงานวิจัย
โดยแยกเก็บข้อมูลตามปีและคณะวิชา แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ เพิ่มงานวิจัย แก้ไขงานวิจัย
และลบงานวิจัย (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-23)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกซ)สสลงทะเบียนงานงบประมาณ ทำหน้าที่ลงทะเบียนงาน
งบประมาณ
4 . 2 . 1
เพิ่มองค์ประกอบ
4 . 2 . 2
แ ก้ ไ ข
องค์ประกอบ
4 . 2 . 3
ล บ
องค์ประกอบ
C1 facultyfactor
C2 factcultyindex
C3 factindexcontrol
B1 factor
B2 factorindex
B1 factor
B2 factorindex
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
องค ์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
ข้อมูลองค์ประกอบ
คณะ, ปี
คณะ, ป ี
องค ์ประกอบ
องค ์ประกอบ
เกณฑ ์ช ีว ัด
ต ัวช ี ้ว ัด
B3 factorindexcontrol
B3 factorindexcontrol
เกณฑ์ชี้วัด
เกณฑ ์ช ีว ัด
ต ัวช ี ้ว ัด
เจ้าหน้าที่
ระดับคณะวิชา
ข้อมูลองค์ประกอบ
คณะ, ปี
องค ์ประกอบ
42
ได้แก่ งบประมาณแผ่นดิน งบบำรุงการศึกษา งบการศึกษาเพื่อปวงชน และงบประมาณสมทบ ซึ่ง
แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย งานเพิ่มงบประมาณ แก้ไขงบประมาณ ลบ
งบประมาณ
(รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-24)
ภาพที่ก3-18กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2
(ลงทะเบียนรายละเอียดการประเมินระดับ
คณะวิชา)
4.4.1
เลือกรายการ
ประเมิน
4.4.3
แสดงรายการ
ประเมิน
4.4.2
อ่านรายการ
ประเมิน
D6 assessmentdef
D5 asscore
C1 facultyfactor
C2 factcultyindex
C3 factindexcontrol
B1 factor
B2 factorindex
B3 factorindexcontrol เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
ข้อมูลประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
รายละเอ ียดการประเม ิน
องค์ประกอบ
ข้อมูลการประเมิน
เจ้าหน้าที่
ระดับคณะวิชา
องค ์ประกอบ
4.3.1
เพิ่มรายละเอียด
การประเมิน
4.3.2
แ ก้ ไ ข
รายละเอียด
การประเมิน
4.3.3
ล บ
รายละเอียด
การประเมิน
C1 facultyfactor
C2 factcultyindex
C3 factindexcontrol
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
ข้อมูลคณะ,ปี ข้อมูลคณะ,ปี
ข ้อม ูลคณะ,ป ี
ข้อมูลองค์ประกอบ ข้อมูลองค์ประกอบ
B1 factor
B2 factorindex
B3 factorindexcontrol
B1 factor
B2 factorindex
B3 factorindexcontrol
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เจ้าหน้าที่
ระดับคณะวิชา
43
ภาพที่ก3-19กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (แสดงรายการประเมิน)
ภาพที่ก3-20กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนปรัชญาคณะวิชา)
ภาพที่ก3-21กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนวิสัยทัศน์คณะวิชา)
เจ้าหน้าที่ระดับ
คณะวิชา
4.5.2
เปลี่ยนแปลง
ปรัชญา
E3 riconcept
4.5.1
เพิ่ม
ปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลคณะ,ปี ข้อมูลคณะ,ปี
ข้อมูลปรัชญา ข้อมูลปรัชญา
เจ้าหน้าที่ระดับ
คณะวิชา
4.6.2
เปลี่ยนแปลง
วิสัยทัศน์
E4 visioninfo
4.6.1
เพิ่ม
วิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์ ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลคณะ,ปี ข้อมูลคณะ,ปี
เจ้าหน้าที่ระดับ
คณะวิชา
4.7.2
เปลี่ยนแปลง
พันธกิจ
E5 visioninfo
4.7.1
เพิ่มพันธกิจ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลพันธกิจ ข้อมูลพันธกิจ
ปรแกรม,ปี โปรแกรม,ปี
4.7.3
ลบ
พันธกิจ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
44
ภาพที่ก3-22กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนพันธกิจคณะวิชา)
ภาพที่ก3-23กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานวิจัย)
ภาพที่ก3-24กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานงบประมาณ)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฌ)สสลงทะเบียนงานบุคลากร การลงทะเบียนบุคลากรจะแยกตาม
คณะวิชาโดยจัดเก็บรายละเอียดที่จำเป็นสำหรับการจัดทำรายงานประเมินคุณภาพการศึกษาเป็น
หลักแบ่งงาน
4.8.2
แก้ไขงานวิจัย
ระดับคณะวิชา
เจ้าหน้าที่ระดับ
คณะวิชา
4.8.1
เพิ่มงานวิจัย
ระดับ
คณะวิชา
4.8.3
ลบงานวิจัยระดับ
คณะวิชา
E6 research
ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลคณะวิชา, ปี
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข้อมูลวิจัย ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลคณะวิชา, ปี
4.9.2
แก้ไขงบประมาณ
ระดับคณะวิชา
เจ้าหน้าที่
ระดับคณะวิชา
4.9.1
เพิ่มงบประมาณ
ระดับคณะวิชา
4.9.3
ลบงบประมาณ
ระดับคณะวิชา
E7 budget
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลคณะวิชา, ปี
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลคณะวิชา, ปี
45
ออกได้ 3 ส่วน ได้แก่ เพิ่มบุคลากร แก้ไขบุคลากร และลบบุคลากร (รายละเอียดดังภาพที่ 3-
25)
3.2กก3.2.1
ภาพที่ก3-25กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานบุคลากร)
ภาพที่ก3-26กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานบริการวิชาการ)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกญ)สสลงทะเบียนงานบริการวิชาการ หน้าที่ลงทะเบียนงาน
บริการวิชาการ
4.10.2
แก้ไขงาน บุ คล ากร
ระดับ ค ณ ะวิชา
เจ้าห น้ าที่ ระดับ
ค ณ ะวิชา
4.10.1
เพิ่ ม งาน บุ คลากร
ระดับ คณ ะวิชา
4.10.3
ลบ งาน บุ คลาก ร
ระดับ คณ ะวิชา
E8 person
ข้อมู ลบุ ค ลากร
ข้อมู ลบุ ค ลากร
ข้ อมู ลบุ คลากร
ข้ อมู ลบุ คลากร
ข้อมู ลคณ ะวิชา, ปี
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข้อมูลบุ คลากร ข้อมู ลบุ คลากร
ข้อมู ลคณ ะวิชา, ปี
E9 major
E8 major
ข ้อม ูลว ิชาเอก
วิชาเอก วิชาเอก
4.1 1.2
แ ก้ ไข งาน บ ริก าร
วิ ช าก าร
เจ้าห น้ าที่ ระ ดั บ
ค ณ ะ วิ ช า
4.1 1.1
เพิ่ ม งาน บ ริก าร
วิ ช าก าร
4.1 1.3
ล บ งาน บ ริ ก าร
วิ ช าก าร
E 10 serv icejo b
ข้ อ มู ล บ ริ ก าร วิ ช าก าร
ข้ อ มู ล บ ริ ก าร วิ ช าก าร
ข้ อ มู ล บ ริก ารวิ ช าก าร
ข้ อ มู ล บ ริ ก าร วิ ช าก าร
โ ป ร แ ก รม วิ ช า, ปี
ข ้อม ูลบร ิการว ิชาการ
ข ้อม ูลบร ิการว ิชาการ ข้ อ
มู ล
บ
ริ ก
า
ร
วิ ช
า
ก
า
ร
ข้ อ มู ล บ ริ ก าร วิ ช าก าร
โ ป ร แ ก ร ม วิ ช า, ปี
ข้ อ มู ล บ ริ ก ารวิ ช าก าร โปร
แกร
ม
ว
ิ
ชา,
ป ี
46
ได้แก่ งานฝึกอบรมต่าง ๆ หรือ งานที่ให้บริการวิชาการแก่ชุมชน แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน
ได้แก่ เพิ่มงานบริการวิชาการ แก้ไขงานบริการวิชาการ ลบงานบริการวิชาการ
(รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-26)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฎ)สสลงทะเบียนงานทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม ทำหน้าที่
ลงทะเบียนงานทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ เพิ่มงาน
ทำนุบำรุงศิลปและ
วัฒนธรรม งานแก้ไขงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ลบงานทำนุบำรุงสิลปวัฒนธรรม
(รายละเอียดแสดงดังภาพ 3-27)
ภาพที่ก3-27กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2
(ลงทะเบียนงานทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฏ)กกลงทะเบียนคณะกรรมการประจำหน่วยงาน คณะกรรมการ
ประจำหน่วยงานได้แก่ คณะกรรมการบริหารคณะวิชา คณะทำงานต่าง ๆ ที่สถาบันแต่งตั้งขึ้นเพื่อ
ปฏิบัติภาระกิจที่ได้รับมอบหมาย ระบบจะบันทึกข้อมูลโดยแยกตามหน่วยงาน นอกจากนี้ยัง
สามารถปรับปรุงแก้ไขและลบคณะกรรมการได้ (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-28)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.4กกงานจัดการข้อมูลสำหรับประเมินโปรแกรมวิชาทำหน้าที่จัดการ
รายละเอียด
4.12.2
แก้ไขงานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
เจ้าหน้าที่ระดับ
คณะวิชา
4.12.1
เพิ่มงานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
4.12.3
ลบงานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
โปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
E10 servicejob
โปรแกรมว ิชา, ป ี
โปรแกรมวิชา, ปี
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ข ้อม ูลทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข ้อม ูลทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
47
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาและสารสนเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ประเมิน
ระบบงานนี้เป็นส่วนงานของเจ้าหน้าที่ระดับคณะวิชา (รายละเอียดงานแสดงได้ดังภาพที่ 3-29
)
ภาพที่ก3-28กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2
(ลงทะเบียนคณะกรรมการประจำหน่วยงาน)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสลงทะเบียนองค์ประกอบระดับโปรแกรมวิชา ข้อมูลที่
เกี่ยวข้องประกอบด้วยองค์ประกอบ ดัชนีชี้วัดและเกณฑ์ชี้วัด ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ต้องอ้างอิงจากข้อมูล
ฝ่ายประกันคุณภาพระบบงานย่อยภายในแสดงได้ดังภาพที่ 3-30
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกข)สสลงทะเบียนการประเมินระดับโปรแกรมวิชา เป็นส่วนที่
ลงทะเบียนรายละเอียดของการประเมินโปรแกรมวิชา ซึ่งต้องกำหนดก่อนทุกครั้งก่อนการประเมิน
รายละเอียดงานลงทะเบียนการประเมินระดับโปรแกรมแสดงดังภาพที่ 3-31
4.13.2
แก้ไขกรรมการ
ประจำหน่วยงาน
เจ้าหน้าที่
ระดับคณะวิชา
4.13.1
เพิ่มกรรมการประ
จำหน่วยงาน
4.13.3
ลบกรรมการ
ประจำหน่วยงาน
ข้อมูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ ขอ้ มูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ
E11 ddepartcommittee
ข ้อม ูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
48
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกค)สสแสดงรายการประเมิน แสดงรายละเอียดการประเมินทั้งการ
ประเมินตนเองและประเมินภายในคณะวิชาที่เจ้าหน้าที่สัดกัด แต่ไม่สามารถทำการปรับปรุงหรือ
แก้ไข รายละเอียดต่าง ๆ ได้ (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-32)
4 . 4
แสดงรายการ
ประเมิน
D1 departfactor
D3deptindexdetail
B1 factor
4 . 1
ตรวจสอบ
สิทธิ
B2 factorindex
B3factindexcontrol
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
E5 objectiveinfo
E4 visioninfo
E3 riconcept
D5 deptassessmentdefine
B4 mqacommittee
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
E6 research
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข ้อม ูลว ิจ ัย
4 . 9
ลงทะเบียนงาน
งบประมาณ
E7 budget
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ
4 . 1 0
ลงทะเบียน
บุคลากร E8 person
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลบุคลากร
ข ้อม ูลงานบร ิการว ิชาการ
4 . 1 2
ลงทะเบียนงาน
ทำ นุบำ รุง
ศิลปวัฒนธรรม
E10 culturejob
ข ้อม ูลงานทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
ปรแกรมวิชา,ปี โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
โปรแกรมวิชา,ปี
A3 faculty
ข้อมูลโปรแกรม
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
ข้อมูลงานวิจัย
ข ้อม ูลงานทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข ้อม ูลบร ิการว ิชาการ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลพันธกิจ
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลกรรมการ
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
A userdetail
4 . 7
ลงทะเบียน
หลักสูตร
โปรแกรมวิชา,ปี E11 majorplan
ข้อมูลหลักสูตร
ข้อมูลหลักสูตร ข้อมูลหลักสูตร
E12 studentqty
ข้อมูลนักศึกษา
ข้อมูลนักศึกษา
A4 department
ข้อมูลคณะ
ข ้อม ูลงานทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
E9 servicejob
ข ้อม ูลงานบร ิการว ิชาการ
ข้อมูลนักศึกษา
4 . 1 4
ลงทะเบียน
นักศึกษา
4 . 8
ลงทะเบียน
งานวิจัย
ข้อมูลผู้ใช้
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
องค ์ประกอบ
D2 deptindexcontrol
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค ์ประกอบ
4 . 2
ลงทะเบียน
องค์ประกอบระดับ
โปรแกรมวิชา
4 . 3
ลงทะเบียนการ
ประเมินระดับ
โปรแกรมวิชา
4 . 5
ลงทะเบียน
ปรัชญา
โปรแกรมวิชา
4 . 6
ลงทะเบียน
วิสัยทัศน์
โปรแกรมวิชา
4 . 1 3
ลงทะเบียน
พันธกิจ
โปรแกรมวิชา
4 . 1 1
ลงทะเบียน
งานบริการ
วิชาการ
E12 ddepartcommittee
ข้อมูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ
โปรแกรมวิชา,ปี 4 . 1 4
ลงทะเบียน
คณะกรรมการ
บริหาร
ข้อมูลกรรมการบริหาร
49
ภาพที่ก3-29กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (งานจัดการข้อมูลสำหรับประเมินโปรแกรม
วิชา)
ภาพที่ก3-30กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนการประเมินระดับโปรแกรมวิชา)
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.3.1
เพิ่มรายละเอียด
การประเมิน
4.3.2
แก้ไข
รายละเอียด
การประเมิน
4.3.4
ลบ
รายละเอียด
การประเมิน
โปรแกรม,ปี โปรแกรม,ปี
D5 departassessmentdefine
ข้อมูลกรรมการ B4 mqacommittee
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลกรรมการ
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข ้อม ูลการประเม ิน
โปรแกรม,ป ี
ข ้อม ูลการประเม ิน
ข้อมูลการประเมิน
ข ้อม ูลการประเม ิน
ข ้อม ูลการประเม ิน
ข ้อม ูลกรรมการ
4.2.1
เ พิ่ ม
องค์ประกอบ
4.2.2
แ ก้ ไข
องค์ประกอบ
4.2.3
ล บ
องค์ประกอบ
B1 factor
B2 factorindex
B3 factorindexcontrol
B1 factor
B2 factorindex
B3 factorindexcontrol
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด ชี้วัด
องค์ประกอบ องค์ประกอบ
โปรแกรม, ปี โปรแกรม, ปี
โปรแกรม, ป ี
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด ชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด ชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
D1 departfactor
D2 deptindexdetail
D3 deptindexcontrol
องค ์ประกอบ
องค ์ประกอบ
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
องค ์ประกอบ
50
ภาพที่ก3-31กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนการประเมินระดับโปรแกรมวิชา)
ภาพที่ก3-32กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (รายการประเมิน)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกง)สสลงทะเบียนปรัชญา เป็นปรัชญาในส่วนของโปรแกรมวิชา
ระบบกำหนดให้สามารถเพิ่ม ปรับปรุงแก้ไขปรัชญาของโปรแกรมวิชาได้ ปรัชญาเป็นข้อมูลส่วนที่
อ้างถึงทุกครั้งที่มีการประเมินตนเองและประเมินภายในรายละเอียดงานแสดงดังภาพที่ 3-33
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.4.2
แสดงรายการ
ประเมิน
4.4.1
อ่านรายการ
ประเมิน
D5 assessmentdef
D6 asscore
D1 departfactor
D2 deptindexdetail
D3 deptindexcontrol
B1 factor
B2 factorindex
B3 factorindexcontrol เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
ข้อมูลการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
รายละเอ ียดการประเม ิน
รายการประเม ิน
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.5.2
เปลี่ยนแปลง
ปรัชญา
4.5.1
เพิ่มปรัชญา ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
ข้อมูลปรัชญา
โปรแกรม,ปี โปรแกรม,ปี
ข้อมูลปรัชญา ข้อมูลปรัชญา
E3 riconcept
51
ภาพที่ก3-33กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนปรัชญา)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกจ)สสลงทะเบียนวิสัยทัศน์ ประกอบด้วยงานย่อย เพิ่มวิสัยทัศน์
และ เปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ ข้อมูลวิสัยทัศน์จะถูกนำไปใช้ในการจัดทำรายงาน รายละเอียดของ
งานแสดงดังภาพที่ 3-34
ภาพที่ก3-34กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนวิสัยทัศน์)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฉ)สสลงทะเบียนพันธกิจ ประกอบด้วยงานย่อย 3 งานได้แก่ เพิ่ม
พันธกิจ แก้ไขพันธกิจ และลบพันธกิจ รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-35
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกช)สสลงทะเบียนงานวิจัย เป็นส่วนของงานวิจัยระดับโปรแกรม
วิชา ระบบจะทำการบันทึกรายละเอียดของงานวิจัยโดยแยกตามโปรแกรมวิชาและปีที่ทำวิจัย
รายละเอียดของ
งานประกอบด้วย เพิ่มงานวิจัยระดับโปรแกรมวิชา แก้ไขงานวิจัยระดับโปรแกรมวิชา และลบ
งานวิจัยระดับโปรแกรมวิชา รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-36
เจ้ าห น้ าที่ ร ะ ดั บ
โ ป ร แ ก ร ม วิ ช า
4.7.2
เป ลี่ ย น แ ป ล ง
พั น ธ กิ จ
E 5 visioninfo
4.7.1
เพิ่ ม พั น ธ กิ จ
ข้ อ มู ล พั น ธ กิ จ
ข้ อ มู ล พั น ธ กิ จ
ข้ อ มู ล พั น ธ กิ จ
ข้ อ มู ล พั น ธ กิ จ
ข้ อ มู ล พั น ธ กิ จ ข้ อ มู ล พั น ธ กิ จ
ป รแ ก ร ม ,ปี โป รแ ก รม ,ปี
4.7.3
ล บ พั น ธ กิ จ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
ข ้อม ูลพ ันธก ิจ
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.6.2
เปลี่ยนแปลง
วิสัยทัศน์
E4 visioninfo
4.6.1
เพิ่มวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์
ข้อมูลวิสัยทัศน์ ข้อมูลวิสัยทัศน์
โปรแกรม,ปี โปรแกรม,ปี
52
ภาพที่ก3-35กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนพันธกิจ)
ภาพที่ก3-36กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานวิจัย)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกซ)กกลงทะเบียนงานงบประมาณ เป็นส่วนที่จัดการรายละเอียด
เกี่ยวกับงาน
งบประมาณของโปรแกรม จัดเก็บตามประเภทและปีงบประมาณ ประกอบด้วย งบประมาณแผ่นดิน
งบบำรุงการศึกษา งบการศึกษาสำหรับปวงชน และงบสมทบอื่น ๆ (รายละเอียดงานแสดงดัง
ภาพที่ 3-37)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฌ)สสลงทะเบียนบุคลากร มีหน้าที่ลงทะเบียนข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลที่ จัดเก็บจะแยกตามโปรแกรมวิชา โดยแบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ เพิ่มบุคลากร
ระดับโปรแกรมวิชา แก้ไขบุคลากรระดับโปรแกรมวิชา และลบบุคลากรระดับโปรแกรมวิชา
(รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-38)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกญ)สสลงทะเบียนงานบริการวิชาการ หน้าที่ลงทะเบียนรายละเอียด
งานบริการวิชาการได้แก่ งานฝึกอบรมต่างกๆกหรือ งานที่ให้บริการทางด้านวิชาการแก่ชุมชน
ประกอบด้วยระบบงานแบ่ง งานออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ เพิ่มงานบริการวิชาการ แก้ไขงาน
บริการวิชาการและลบงานบริการวิชาการ (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-39)
4.8.2
แก้ไขงานวิจัยระดับ
โปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.8.1
เพิ่มงานวิจัยระดับ
โปรแกรมวิชา
4.8.3
ลบงานวิจัยระดับ
โปรแกรมวิชา
E6 research
ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลวิจัย
ข้อมูลวิจัย
โปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข ้อม ูลว ิจ ัย
ข้อมูลวิจัย ข้อมูลวิจัย
โปรแกรมวิชา, ปี
โปรแกรมวิชา, ปี
53
ภาพที่ก3-37กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานงบประมาณ)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.13.2กก3.2.1กก3.2.1.13.2กก3.2.1กก3.2
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฏ)สสลงทะเบียนหลักสูตร หน้าที่ลงทะเบียนข้อมูลหลักสูตรที่เปิด
สอนในโปรแกรมวิชาของแต่ละปีการศึกษา ประกอบด้วยงานเพิ่มหลักสูตรก แก้ไข
หลักสูตรรวมทั้งลบ
หลักสูตร (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-41)
4.9.2
แก้ไขงบประมาณ
ระดับโปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.9.1
เพิ่มงบประมาณ
ระดับโปรแกรมวิชา
4.9.3
ลบงบประมาณ
ระดับโปรแกรมวิชา
E7 budget
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ
ข้อมูลงบประมาณ
โปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข ้อม ูลงบประมาณ
ข ้อม ูลงบประมาณ
โปรแกรมว ิชา, ป ี
ข้อมูลงบประมาณ ข้อมูลงบประมาณ
โปรแกรมวิชา, ปี
54
ภาพที่ก3-38กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนบุคลากร)
ภาพที่ก3-39กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานบริการวิชาการ)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฎ)สสลงทะเบียนงานทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม มีหน้าที่
ลงทะเบียนงานทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรมประกอบด้วยระบบงานย่อยเพิ่มงานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม แก้ไขงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ลบงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
(รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-40)
4.11.2
แก้ไขงานบริการ
วิชาการ
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.11.1
เพิ่มงานบริการ
วิชาการ
4.11.3
ลบงานบริการ
วิชาการ
E10 servicejob
ข้อมูลบริการวิชาการ
ข้อมูลบริการวิชาการ
ข้อมูลบริการวิชาการ
ข้อมูลบริการวิชาการ
โปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลบร ิการว ิชาการ
ข ้อม ูลบร ิการว ิชาการ
ข้อมูลบริการวิชาการ
ข้อมูลบริการวิชาการ
โปรแกรมวิชา, ปี
ข้อมูลบริการวิชาการ
โปรแกรมว ิชา, ป ี
4.10.2
แก้ไขงานบุคลากร
ระดับโปรแกรมวิชา
เจ้าหน้าที่
ระดับโปรแกรม
4.10.1
เพิ่มงานบุคลากร
ระดับโปรแกรมวิชา
4.10.3
ลบงานบุคลากร
ระดับโปรแกรมวิชา
E8 person
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลบุคลากร
โปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลบ ุคลากร
ข ้อม ูลบ ุคลากร
โปรแกรมว ิชา, ป ี
ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลบุคลากร
โปรแกรมวิชา, ปี
E9 major
E8 major
ข ้อม ูลว ิชาเอก
ข ้อม ูลว ิชาเอก
ข ้อม ูลว ิชาเอก
55
ภาพที่ก3-40กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนงานทำนุบำรุงศิลปและ
วัฒนธรรม)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กก
ภาพที่ก3-41กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนหลักสูตร)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฐ)สสลงทะเบียนจำนวนนักศึกษา ทำหน้าที่จัดเก็บ
รายละเอียดจำนวน
4.13.2
แก้ไขงานหลักสูตร
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.13.1
เพิ่มงานหลักสูตร
4.13.3
ลบงานหลักสูตร
ข้อมูลหลักสูตร
ข้อมูลหลักสูตร
ข้อมูลหลักสูตร
ข้อมูลหลักสูตร
ปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลหล ักส ูตร
ข ้อม ูลหล ักส ูตร
ข้อมูลหลักสูตร
โปรแกรมวิชา, ปี
ข้อมูลหลักสูตร
โปรแกรมว ิชา, ป ี
E11 majorplan
ข ้อม ูลหล ักส ูตร
4.12.2
แก้ไขงานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.12.1
เพิ่มงานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
4.12.3
ลบงานทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
โปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
E10 servicejob
โปรแกรมว ิชา, ป ี
โปรแกรมวิชา, ปี
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ข ้อม ูลทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข ้อม ูลทำน ุบำร ุงศ ิลปว ัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ข้อมูลทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
56
นักศึกษาแยกตามวิชาเอกของแต่ละปีการศึกษา ประกอบด้วยงานเพิ่มจำนวนนักศึกษา แก้ไข
จำนวนนักศึกษา (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-42)
ภาพที่ก3-42กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนจำนวนนักศึกษา)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกฑ)สสลงทะเบียนคณะกรรมการประจำหน่วยงาน หน้าที่
ลงทะเบียนคณะกรรมการประจำหน่วยงานหรือคณะทำงานที่ได้รับการแต่งตั้งจากสถาบันเพื่อให้
ปฏิบัติภาระกิจตามที่ได้รับมอบหมายรายละเอียด ประกอบด้วย เพิ่มคณะกรรมการ แก้ไข
คณะกรรมการ ลบคณะกรรมการ (รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-43)
4.14.2
แก้ไขจำนวน
นักศึกษา
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.14.1
เพิ่มจำนวน
นักศึกษา
4.14.3
ลบจำนวน
นักศึกษา
ข้อมูลนักศึกษา
ข้อมูลนักศึกษา
ข้อมูลนักศึกษา
ข้อมูลนักศึกษา
โปรแกรมวิชา, ปี
ข ้อม ูลน ักศ ึกษา
ข ้อม ูลน ักศ ึกษา
ข ้อม ูลน ักศ ึกษา
ข้อมูลนักศึกษา
โปรแกรมวิชา, ปี
E12 studentqty
ข้อมูลนักศึกษา
ข ้อม ูลโปรแกรมว ิชา, ป ี
57
ภาพที่ก3-43กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 (ลงทะเบียนคณะกรรมการประจำ
หน่วยงาน)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.5กกงานประเมินคณะวิชา เป็นส่วนงานของกรรมการประเมิน
หน่วยงานระดับคณะวิชา ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการประเมินในแต่ละชุด โดยกรรมการ
จะต้องขอบัญชี ผู้ใช้งานเพื่อบันทึกและปรับปรุงรายละเอียดการประเมินจากเจ้าหน้าที่ระบบ
นอกจากการประเมินแล้วกรรมการยังสามารถดูรายละเอียดการประเมินของหน่วยงานที่สังกัดใน
แต่ละคณะวิชาได้ดังภาพที่ 3-44 ซึ่งแสดงรายละเอียดของานประเมินคณะวิชา ซึ่งระบบงาน
แบ่งออกเป็น
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสงานประเมินระดับคณะ เป็นส่วนของการประเมินหน่วยงาน
ระดับคณะวิชา โดยประเมินตามองค์ประกอบต่าง ๆ ของคณะวิชาหรือหน่วยงานที่เทียบเท่า
กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้บันทึกรายละเอียดจะต้องขอบัญชีผู้ใช้งานจากเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ
(รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-44)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกข)สสแสดงรายละเอียดการประเมิน เป็นส่วนของการแสดงผลการ
ประเมินของคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าที่กรรมการได้รับมอบหมาย แต่ไม่สามารถ
ดูรายละเอียด
4.15.2
แก้ไขกรรมการ
ประจำหน่วยงาน
เจ้าหน้าที่ระดับ
โปรแกรมวิชา
4.15.1
เพิ่มกรรมการประ
จำหน่วยงาน
4.15.3
ลบกรรมการ
ประจำหน่วยงาน
ข้อมูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ ขอ้ มูลกรรมการ
ข้อมูลกรรมการ
E12 ddepartcommittee
ข ้อม ูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
ข ้อม ูลกรรมการ
58
การประเมินของคณะวิชาอื่น ๆ ได้
ภาพที่ก3-44กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (งานประเมินคณะ)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกค)สสแสดงรายละเอียดการประเมินระดับโปรแกรมวิชา
เป็นการแสดง
กรรมการประเมิน
ระดับคณะ
5 . 1
ตรวจสอบสิทธิ
กรรมการประเมิน
5 . 2
งานประเมิน
ระดับคณะวิชา
A userdetail
B1 factor
B2 factordetail
C3 facultytindexcontrol
C1 facultyfactor
C2 facultydetail
B5 assessmentdef
5 . 3
แสดงรายการ
ประเมินคณะวิชา
เกณฑ ์การประเม ิน
ข้อมูลการประเมิน
ข ้อม ูลการประเม ิน
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
องค ์ประกอบ
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
5 . 4
แสดงรายการ
ประเมินระดับ
โปรแกรมวิชา
B3 factindexcontrol
เกณฑ ์การประเม ิน
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
องค ์ประกอบ
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ดัชนีชี้วัด
D1 departfactor
D3deptindexdetail
D2 deptindexcontrol
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
องค ์ประกอบ
ด ัชน ีช ี ้ว ัด
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
D5 deptassessmentdefine
เกณฑ ์การประเม ิน
รายการประเมิน รายการประเมิน
59
รายละเอียดการประเมินของโปรแกรมวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าโปรแกรมวิชา ที่สังกัดในคณะ
วิชานั้น ๆ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการประเมิน
3.2กก3.2.1กก3.2.1.6กกงานประเมินโปรแกรมวิชา เป็นส่วนงานที่ออกแบบมาสำหรับ
กรรมการประเมินโปรแกรมวิชา ประกอบด้วยระบบงานย่อย 3 ระบบงาน ได้แก่ งานตรวจสอบ
สิทธิกรรมการประเมิน งานประเมินโปรแกรมวิชา และงานแสดงรายการการประเมิน รูปภาพที่
3-45 แสดงรายละเอียดการประเมินระดับโปรแกรมวิชา ซึ่งประกอบด้วยงานดังนี้
ภาพที่ก3-45กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1(งานประเมินโปรแกรมวิชา)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสงานประเมินระดับโปรแกรม ซึ่งโปรแกรมวิชาจะถูก
ประเมินโดยคณะกรรมการประเมินก ซึ่งคณะกรรมการจะมอบหมายให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งทำ
การบันทึกผลการประเมินลงในฐานข้อมูล ผู้บันทึกผลจะต้องต้องขอบัญชีผู้ใช้งานจากเจ้าหน้าที่
ดูแลระบบ จึงจะมีสิทธิเข้าใช้ระบบได้
3.2กก3.2.1ก3.2.1.1กกข)สสแสดงรายละเอียดการประเมินกการแสดงผลเฉพาะในส่วนที่
กรรมการรับมอบหมายเท่านั้น ไม่สามารถแสดงรายละเอียดของโปรแกรมวิชาอื่น ๆ ได้
กรรมการประเมิน
ระดับโปรแกรมวิชา
6 . 1
ตรวจสอบสิทธิ
กรรมการประเมิน
6 . 2
ประเมิน
โปรแกรมวิชา
A userdetail
B1 factor
B2 factordetail
D3 depatindexcontrol
D1 departfactor
D2 deptindexdetail
B3 factindexcontrol
D5 deptassessmentdefine
6 . 3
แสดงรายการ
ประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
เกณฑ์ชี้วัด
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลผู้ใช้
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ข้อมูลผู้ใช้
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
เกณฑ์ชี้วัด
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
เกณฑ์ชี้วัด
60
3.2กก3.2.1กก3.2.1.7กกรายงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง เป็นรายงานผลการประเมิน
คุณภาพการศึกษาสำหรับผู้บริหารระดับสูงได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี หรือตำแหน่งอื่น ๆ
ระบบกำหนดให้สามารถดูรายละเอียดการประเมินได้ทุกหน่วยงาน (ภาพที่ 3-46 แสดง
รายละเอียดงานรายงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง) รายละเอียดของงานแบ่งออกได้ดังนี้
ภาพที่ก3-46กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (รายงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสแสดงรายละเอียดการประเมินระดับคณะ ผู้บริหารสามารถดู
รายละเอียดผลของการประเมินของแต่ละคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าได้ทั้งหมด
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกข)สสแสดงรายละเอียดการประเมินระดับโปรแกรมวิชา แสดง
รายละเอียดการประเมินแต่ละโปรแกรมวิชา ทุกโปรแกรมวิชา
3.2กก3.2.1กก3.2.1.8กกรายงานสำหรับผู้บริหารคณะวิชา ผู้บริหารระดับคณะวิชาหรือ
หน่วยงานเทียบเท่า ได้แก่ คณะบดี รองคณะบดี ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ เป็นต้น โดยแบ่ง
ผู้บริหาร
ระดับสูง
7 . 1
ตรวจสอบสิทธิ
A userdetail
D3 deptindexcontrol
D1 departfactor
D2 deptindexdetail
7 . 2
แสดงรายการ
ประเมินคณะวิชา
7 . 3
แสดงรายการ
ประเมิน
โปรแกรมวิชา
C1 facultyfactor
B7 assessmentdef
B3factindexcontrol
B1 facultyfactor
B2 factordetail
องค ์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
รายการประเมิน
รายการประเม ิน
ข้อมูลประเมิน
D7 deptassessmentdefine
C3 facultytindexcontrol
C2 faccultydetail
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
ข้อมูลประเมิน
ข้อมูลผู้ใช้
61
งานออกเป็น 2 ส่วนกได้แก่แสดงรายละเอียดการประเมินภายในคณะวิชาและแสดงการประเมิน
ระดับโปรแกรมวิชา ภาพที่ 3-47 แสดงรายละเอียดงานของระบบ
ภาพที่ก3-47กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (รายงานสำหรับผู้บริหารคณะวิชา)
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสแสดงรายละเอียดการประเมินภายในคณะ แสดง
รายละเอียดของการประเมินในคณะวิชาที่ผู้บริหารสังกัดเท่านั้น
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกข)สสแสดงรายละเอียดการประเมินระดับโปรแกรมวิชา แสดง
รายละเอียดการประเมินของหน่วยงานที่สังกัดกับคณะวิชา หรือ สำนักต่าง ๆ
3.2กก3.2.1กก3.2.1.9กกรายงานสำหรับผู้บริหารโปรแกรมวิชา ผู้บริหารระดับนี้ได้แก่
หัวหน้าโปรแกรมวิชา ซึ่งมีสิทธิในการดูรายละเอียดการประเมินภายในโปรแกรมวิชาที่สังกัด
หรือได้รับมอบหมายเท่านั้น รายละเอียดการทำงานแสดงดังภาพที่ 3-48
3.2กก3.2.1กก3.2.1.1กกก)สสงานแสดงรายการประเมินโปรแกรมวิชาก แสดงรายละเอียด
การประเมินภายในโปรแกรมวิชาเท่านั้น ไม่สามารถแสดงโปรแกรมวิชาอื่น ๆ ได้
ผู้บริหารระดับ
คณะวิชา
8 . 1
ตรวจสอบสิทธิ
A userdetail
D3 deptindexcontrol
D1 departfactor
D2 deptindexdetail
8 . 2
แสดงรายการ
ประเมินคณะวิชา
8 . 3
แสดงรายการ
ประเมิน
โปรแกรมวิชา
C1 facultyfactor
B8 assessmentdef
B3factindexcontrol
B1 facultyfactor
B2 factordetail
องค ์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัด
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลการประเมิน
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
รายการประเมิน รายการประเมิน
ข้อมูลประเมิน
D8 deptassessmentdefine
C3 facultytindexcontrol
C2 faccultydetail
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
เกณฑ ์ช ี ้ว ัด
ข้อมูลประเมิน
ข้อมูลผู้ใช้
62
ภาพที่ก3-48กกแผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (รายงานสำหรับผู้บริหารโปรแกรมวิชา)
3.2กก3.2.2กกแผนภาพ อีอาร์ ไดอะแกรม (E-R Diagram)
3.2กก3.2.2กกแผนภาพอีอาร์ไดอะแกรม เป็นภาพแสดงความสัมพันธ์ของเอ็นติตี้ (Entity)
ในระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งแต่ละเอ็นติตี้ประกอบด้วย แอ็ตทริบิวท์
(Attribute) ต่าง ๆ แผนภาพความสัมพันธ์นี้ได้นำไปใช้ในการออกแบบตารางข้อมูลในระบบ
รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 3-49
ผู้บริหารระดับ
โปรแกรมวิชา
9 . 1
ตรวจสอบ
สิทธิใช้งาน
9 . 2
อ่านรายการ
ประเมิน
A userdetail
B1factor
B2 factordetail
D3 deptindexcontrol
D1 departfactor
D2 deptindexdetail
B3 factindexcontrol
D5 deptassessmentdefine
9 . 3
แสดงรายการ
ประเมิน
รายการประเมิน
เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด เกณฑ์ชี้วัด
องค์ประกอบ
ดัชนีชี้วัด
ข้อมูลการประเมิน
ข ้อม ูลผ ู ้ใช ้
ข้อมูลการประเมิน
ข้อมูลผู้ใช้
รายการประเม ิน
62
1.2กก3.2.3กกการออกแบบฐานข้อมูล ผู้วิจัยได้ทำการออกแบบฐานข้อมูลในระบบ
สารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏและ สรุปโครงสร้างของตาราง
ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลของระบบ ประกอบด้วย ชื่อตาราง หน้าที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดข้อมูล
ขนาด และความหมาย รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 3-1 ถึง ตารางที่ 3-32
ตารางที่ก3-1สสตารางค่าคะแนนสำหรับการประเมิน (assscore)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 assr_id char 2 รหัสเกณฑ์การประเมิน Pk
2 scoresymbol char 1 สัญลักษณ์
3 scorevalue int 2 ค่าคะแนน
4 scorecomment varchar 255 คำอธิบาย
ตารางที่ส3-2สสตารางมาตรฐาน/องค์ประกอบสำหรับการประเมิน (factor)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 factor_id varchar 4 รหัสมาตรฐาน Pk
2 factor_name varchar 50 ชื่อมาตรฐาน
3 factor_year varchar 4 ปีที่ประเมิน
4 factindex_init_
no
int 2 ตัวเลขกำหนดรหัส
ดรรชนีชี้วัด
ตารางที่ส3-3สสตารางรายละเอียดหน่วยงานระดับคณะวิชา (faculty)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะวิชา Pk
2 fact_name varchar 80 ชื่อคณะวิชา
3 fact_type_id char 2 ประเภทหน่วยงาน
4 depent_init_no int 3 ตัวเลขกำหนด
หน่วยงาน
ตารางที่ส3-4สสตารางรายละเอียดตัวเลขค่าเริ่มต้นสำหรับกำหนดรหัส (initcode)
63
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_code_no int 2 ตัวเลขกำหนดรหัสคณะ
2 fact_type_no int 2 ตัวเลขกำหนดรหัส
หน่วยงานระดับคณะ
3 facttor_init_no int 2 ตัวเลขกำหนด
รหัสมาตรฐาน
4 depttype_int_n
o
int 2 ตัวเลขกำหนด
รหัสมาตรฐาน
หน่วยงานระดับ
โปรแกรมวิชา
5 assr_init_no int 2 ตัวเลขกำหนด
เกณฑ์ประเมิน
6 mqacomm_init
_no
int 2
ตัวเลขกำหนดรหัสตาม
การประเมิน
7 asses_init_no int 2 ตัวเลขกำหนดรหัส
การประเมิน
ตารางที่ส3-5สสตารางกำหนดรายละเอียดสำหรับการประเมินหน่วยงานระดับ
โปรแกรมวิชา (departassessmentdefine)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 assess_id varchar 4 รหัสการประเมิน Pk
2 assess_date varchar 10 วันที่ประเมิน
3 fact_id char 2 รหัสคณะ
4 dept_id varchar 4 รหัสโปรแกรมวิชา P
K
5 assr_id varchar 4 รหัสเกณฑ์ P
K
6
ascommittee_i
varchar 4 รหัสกรรมการ
64
d
7 assess_year varchar 4 ปีที่ประเมิน
8 assess_type char 2 ประเภทการประเมิน
ตารางที่ส3-6สสตารางกำหนดมาตรฐาน/องค์ประกอบหน่วยงาน
ระดับโปรแกรมวิชา (departfactor)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะวิชา
2 dept_id varchar 4 รหัสโปรแกรมวิชา P
K
3 factor-id varchar 4 รหัสมาตรฐาน P
K
4 assess_id varchar 4 รหัสการประเมิน
5 assess_order char 2 ประเมินครั้งที่
ตารางที่ส3-7สสตารางจัดรายละเอียดหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา (department)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะวิชา
2 dept_id varchar 4 รหัสโปรแกรมวิชา P
K
3 dept_name varchar 80 ชื่อโปรแกรมวิชา
4 dept_type_id char 2 ประเภทหน่วยงาน
ตารางที่ส3-8สสตารางรายละเอียดประเภทหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา (departtype)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 dept_type_id char 2 รหัสประเภทหน่วยงาน P
K
2 dept_type_nam
e
varchar 50 ชื่อประเภทหน่วยงาน
65
ตารางที่ส3-9สสตารางเกณฑ์ชี้วัดสำหรับหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา
(deptindexcontrol)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะวิชา
2 dept_id varchar 4 รหัสโปรแกรมวิชา Pk
3 factor_year varchar 4 ปีที่ประเมิน
4 factor_id varchar 4 รหัสมาตรฐาน
5 factindex_id varchar 6 รหัสดรรชนีชี้วัด
6 indexctr_id varchar 8 รหัสเกณฑ์ชี้วัด Pk
7 check_status char 1 ค่าตรวจสอบ
8 assess_id varchar 4 รหัสการประเมิน Pk
9 assess_order char 2 ประเมินครั้งที่
10 assess_type char 2 ประเภทการประเมิน
ตารางที่ส3-10สสตารางดัชนีชี้วัดสำหรับโปรแกรมวิชา (deptindexdetail)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะวิชา
2 dept_id varchar 4 รหัสโปรแกรมวิชา Pk
3 factor_year varchar 4 ปีที่ประเมิน
4 factor_id varchar 4 รหัสมาตรฐาน
5 factindex_id varchar 6 รหัสดรรชนีชี้วัด
6 scorevalue char 1 ตัวคะแนน
7 assess_id varchar 4 รหัสการประเมิน
8 assess_order char 2 ประเมินครั้งที่
66
9 assess_type char 2 ประเภทการประเมิน
ตารางที่ส3-11สสตารางรายชื่อคณะกรรมการสำหรับการประเมิน (dqacommittee)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 ascommittee_i
d
varchar 4 รหัสคณะกรรมการ Pk
2 person_id varchar 5 รหัสกรรมการ
ตารางที่ส3-12สสตารางเกณฑ์ชี้วัด (factorindexcontrol)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 factindex_id varchar 6 รหัสดรรชนีชี้วัด
2 indexctr_id varchar 8 รหัสเกณฑ์ชี้วัด
3 indexctr_name varchar 80 ชื่อเกณฑ์ชี้วัด
4 indexctr_mustb
s
varchar 8 เกณฑ์ที่ต้องมีมาก่อน
5 factor_id Varchar 4 รหัสมาตรฐาน
ตารางที่ส3-13สสตารางมาตรฐานสำหรับหน่วยงานระดับคณะวิชา (facultyfactor)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะ P
K
2 factor_id varchar 4 รหัสมาตรฐาน P
K
3 assess_id varchar 4 รหัสการประเมิน P
K
4 assess_order char 2 ประเมินครั้งที่
5 assess_type char 2 ประเภทการประเมิน
67
ตารางที่ส3-14สสตารางเกณฑ์ชี้วัดสำหรับหน่วยงานระดับคณะวิชา
(facultyindexcontrol)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะวิชา
2 factor_id varchar 4 รหัสมาตรฐาน
ตารางที่ส3-14สสตารางเกณฑ์ชี้วัดสำหรับหน่วยงานระดับคณะวิชา
(facultyindexcontrol) (ต่อ)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
3 factindex_id varchar 6 รหัสดรรชนี P
K
4 indexctr_id varchar 8 รหัสเกณฑ์ชี้วัด P
K
5 check_status char 1 ตรวจสอบ
6 assess_id varchar 4 รหัสการประเมิน P
K
7 assess_order char 2 ประเมินครั้งที่
8 assess_type char 2 ประเภทการประเมิน
ตารางที่ส3-15สสตารางดัชนีชี้วัดสำหรับหน่วยงานระดับคณะวิชา (facultyindexdetail)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_id char 2 รหัสคณะ
2 factor_year varchar 4 ปีที่ประเมิน
3 factor_id varchar 4 รหัสมาตรฐาน
4 factindex_id varchar 6 รหัสดรรชนีชี้วัด Pk
5 scorevalue char 1 คะแนน
6 assess_id varchar 4 รหัสประเมิน Pk
7 assess_order char 2 ครั้งที่ประเมิน Pk
68
8 assess_type char 2 ประเภทการประเมิน
ตารางที่ส3-16สสตารางกำหนดประเภทหน่วยงานระดับคณะ (facultytype)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 fact_type_id char 2 รหัสประเภท Pk
2 fact-type_name varchar 50 ชื่อประเภท
ตารางที่ส3-17สสตารางข่าวประชาสัมพันธ์ (information)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 topic_id char 3 รหัสข่าวสาร Pk
2 topic_title varchar 100 ข้อความประกาศ
3 topic_fulltext text รายละเอียด
4 topic_date varchar 10 วันที่ประกาศ
5 topic_status char 1 สถานะตรวจสอบ
ตารางที่ส3-18สสตารางคณะกรรมการสำหรับการประเมิน (mqacommittee)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1
ascommittee_i
d
varchar 4 รหัสคณะกรรมการ Pk
2 ascommittee_n
ame
varchar 50 ชื่อคณะกรรมการ
3 ascommittee_d
ate
varchar 10 วันที่แต่งตั้ง
4 ascomittee_co
mment
text คำอธิบาย
ตารางที่ส3-19สสตารางรายระเอียดผู้ใช้ (userdetail)
69
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 user_login varchar 15 ชื่อล็อกอิน Pk
2 user_password varchar 15 รหัสผ่าน
3 user_name varchar 40 ชื่อ นามสกุล
4 user_type varchar 2 ประเภท
5 division_id varchar 4 สังกัด
ตารางที่ส3-20สสตารางคณะกรรมการบริหารประจำหน่วยงาน (mdepartcommittee)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 mcommittee_y
ear
varchar 4 ปี
2 division_id varchar 4 รหัสหน่วยงาน
3 mcommittee_id varchar 4 รหัสคณะกรรมการ P
K
4 mcommittee_n
ame
varchar 50 ชื่อคณะกรร ม
ตารางที่ส3-21สสตารางรายละเอียดคณะกรรมการประจำหน่วยงาน (ddeprtcommitte)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 mcommitte varchar 4 รหัสคณะกรรมการ P
K
2 person_id varchar 4 รหัสบุคลากร P
K
ตารางที่ส3-22สสตารางงบประมาณของหน่วยงาน ( budget)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
70
1 info_year varcar 4 ปีงบประมาณ Pk
2 dept_id varhchar 4 รหัสหน่วยงาน P
K
3 budgettype char 2 รหัสแผนงบประมาณ P
K
4 amount1 bigint 12 งบแผ่นดิน
5 amount2 bigint 12 งบ ปกศ
6 amount3 bgint 12 งบ กศ.ปป.
7 amount4 agint 12 งบอื่น ๆ
ตารางที่ส3-23สสตารางรายละเอียดงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (culturejob)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 culture_year varchar 4 ปี Pk
2 dept_id varchar 4 รหัสหน่วยงาน P
K
3 culture_id varchar 6 รหัสงาน P
K
4 culture_name varchar 100 ชื่องาน
5 culture_budget bigint 12 งบประมาณ
6 culture_loc varchar 100 แหล่งงบประมาณ
ตารางที่ส3-24สสตารางรายละเอียดสาขาวิชา (major)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 mjor_id char 3 รหัสสาขาวิชา Pk
2 major_name varchar 50 ชื่อสาขาวิชา
71
ตารางที่ส3-25สสตารางหลักสูตร (majorplan)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 major_id varchar 8 รหัสแผนการเรียน P
K
2 info_year varchar 4 ปี P
K
3 dept_id varchar 4 รหัสหน่วยงาน P
K
4 plan_order char 2 ลำดับแผนงาน
5 plan_name varchar 100 ชื่อแผนงาน
6 majorl_id char 2 ระดับการศึกษา
ตารางที่ส3-26สสตารางพันธกิจของหน่วยงาน (objecttiveinfo)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 info_year varchar 4 ปี P
K
2 dept_id varchar 4 รหัส P
K
3
objective_order
int 2 ลำดับที่ P
K
4
objective_cont
ent
varchar 255 รายละเอียดพันธกิจ
ตารางที่ส3-27สสตารางรายละเอียดบุคลากร (person)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
72
1 fact-id char 2 รหัสคณะ
2 dept_id varchar 4 รหัสโปรแกรม P
K
3 person_id varchar 4 รหัสบุคลากร P
K
4
person_prenam
e
varchr 30 คำนำหน้า
5 person_name varchar 50 ชื่อ
6 person_sex char 1 เพศ
7
person_positio
n
varchar 50 ตำแหน่ง
8 person_level char 2 ระดับ
9 mlevel_id char 2 ระดับการศึกษา
10 major_id char 3 สาขาวิชา
11 person_kof char 2 ประเภท
ตารางที่ส3-28สสตารางรายละเอียดการวิจัย (researchjob)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 research_year varchar 4 ปีงบประมาณ
2 dept_id varchar 4 รหัสหน่วยงาน P
K
3 research_id varchar 6 รหัสงานวิจัย P
K
ตารางที่ส3-28สสตารางรายละเอียดการวิจัย (researchjob) (ต่อ)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
4 research_name varchar 100 ชื่องานวิจัย
5
research_budge
t
varchar 12 งบประมาณการใช้
73
6 research_loc varchar 100 แหล่งงบประมาณ
ตารางที่ส3-29สสตารางปรัชญาหน่วยงาน (riconcept)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 info_year varchar 4 ปี P
K
2 dept_id varchar 4 รหัสหน่วยงาน P
K
3 conceptinfo varchar 255 ปรัชญา
ตารางที่ส3-30สสตารางงานบริการวิชาการ (servicejob)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 service_year varchar 4 ปี
2 dept_id varchar 4 รหัสหน่วยงาน P
K
3 service_id varchar 6 รหัสหน่วยงาน P
K
4 service_name varchar 100 ชื่องาน
5
service_budget
bigint 12 จำนวนงบประมาณ
6 service_loc varchar 100 แหล่งงบประมาณ
ตารางที่ส3-31สสตารางจำนวนนักศึกษา (studentqty)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 major_id varchar 8 รหัสสาขา P
K
2 malcqty int 4 จำนวน (ชาย)
3 femaleqty int 4 จำนวน (หญิง)
73
ตารางที่ส3-32สสตารางวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน (visioninfo)
ลำดับที่ ชื่อฟิลด์ ชนิดของข้อมูล ขนาด ความหมาย คีย์
1 info_year varchar 4 ปี P
K
2 dept_id varchar 4 รหัสหน่วยงาน P
K
3 vision_content varchar 255 วิสัยทัศน์
1.1กก3.2.4กกการออกแบบหน้าจอภาพ
1.1กก3.2.4กก3.2.1.1กกหน้าจอหลักของระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพ
การศึกษาในสถาบันราชภัฏการออกแบบจอภาพของระบบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ (ภาพที่ 3-
50)
หน้าจอหลัก ประกอบด้วย
.1กก2.4กก3.
ภาพที่
ภาพที่ก3-50กกการออกแบบหน้าจอหลักของระบบ
รูปสัญลักษณ์
ปีข้อมูลและวันเดือนปี
ตั้งค่าปีข้อมูล
ล็อกอินเข้าสู่ระบบ
พื้นที่แสดงข่าวสารประชาสัมพันธ์
ชื่อระบบภาษาไทย
ชื่อระบบภาษาอังกฤษ
ชื่อสถาบันราชภัฏและที่อยู่
ชื่อผู้จัดทำ
74
1.1กก3.2.4กก3.2.4.2กกหน้าจอใช้งานเมื่อล็อกอินเข้าสู่ระบบ ซึ่งการล็อกอินเข้าสู่ระบบ
แยกได้ 9 ประเภทตามข้อมูลผู้ใช้ ลักษณะการออกแบบจะมีลักษณะเหมือนกัน โดยแบ่งส่วน
หน้าจอภาพออกได้ดังนี้ (ภาพที่ 3-51)
1.1กก3.2.
ภาพที่ก3-51กกการออกแบบหน้าจอสำหรับผู้ใช้งาน
3.3กกการทดสอบระบบ
3.3กกผู้วิจัยได้ทำการทดสอบระบบ โดยแบ่งการทดสอบออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
3.3กก3.3.1กกทดสอบการทำงานของระบบ ผู้วิจัยได้ทำการทดสอบระบบโดยวิธีการ Back
Block ในการทำงานของโปรแกรมโปรแกรมย่อยทำงานได้ถูกต้องหรือไม่
3.3กก3.3.2กกทดสอบเพื่อประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรม ผู้ได้สร้างแบบสอบถามเพื่อ
ทดสอบโปรแกรม โดยได้รับความอนุเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 ท่าน (รายชื่อแสดงใน
ภาคผนวก ก) ได้ทำการทดสอบและกรอกคะแนนความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ
โปรแกรม โดยทดสอบประสิทธิภาพ ทดสอบใน 4 ด้าน ประกอบด้วย
3.3กก3.3.2กกก)กกการประเมินความต้องการของผู้ใช้
3.3กก3.3.2กกข)กกการประเมินการประมวลผลของโปรแกรม
3.3กก3.3.2กกค)กกการประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้
3.3กก3.3.2กกง)กกการประเมินสิทธิและความปลอดภัยในการใช้ระบบ
รูปสัญลักษณ์
หน่วยงานที่สังกัด
เมนูเลือก
พื้นที่ปฏิบัติงาน
ชื่อระบบภาษาไทย
ชื่อระบบภาษาอังกฤษ
ชื่อสถาบันราชภัฏและที่อย่
Logout
ข้อมูลผู้ใช้
75
3.4กกการวิเคราะห์ข้อมูล
3.4กกการวิจัยเพื่อหาคุณภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบัน
ราชภัฏ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยมีรายละเอียดดังนี้
3.4กก3.4.1กกการวิเคราะห์แบบประเมินผลการทดสอบระบบ ประเมินจากอาจารย์ผู้มี
ประสบการณ์จำนวน 6 คน โดยทดสอบประสิทธิภาพ 4 ด้าน ได้แก่ ประเมินความต้องการของ
ผู้ใช้ ประเมินการประมวลผลของโปรแกรม ประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ และ
ประเมินสิทธิและความปลอดภัยในการใช้ระบบ โดยใช้แบบประเมินผลตามวิธีประมาณค่าของ
Likert โดยกำหนดระดับความคิดเห็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ดังนี้
3.4กก3.4.1กกเห็นด้วยในระดับกกดีมาก ค่าระดับคะแนนเท่ากับ 5
3.4กก3.4.1กกเห็นด้วยในระดับกกดี ค่าระดับคะแนนเท่ากับ 4
3.4กก3.4.1กกเห็นด้วยในระดับกกปานกลาง ค่าระดับคะแนนเท่ากับ 3
3.4กก3.4.1กกเห็นด้วยในระดับกกน้อย ค่าระดับคะแนนเท่ากับ 2
3.4กก3.4.1กกเห็นด้วยในระดับกกน้อยที่สุด ค่าระดับคะแนนเท่ากับ 1
3.4กก3.4.1กกในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้นำค่าเฉลี่ยของคำถามแต่ละข้อ และนำมาพิจารณา
ขนาดขอบเขตของค่าเฉลี่ยที่ได้จากการประเมินดังนี้
3.4กก3.4.1กกระดับคะแนน 1.00-1.49 หมายถึง ผลการประเมินอยู่ในระดับน้อยที่สุด
3.4กก3.4.1กกระดับคะแนน 1.50-2.49 หมายถึง ผลการประเมินอยู่ในระดับน้อย
3.4กก3.4.1กกระดับคะแนน 2.50-3.49 หมายถึง ผลการประเมินอยู่ในระดับปานกลาง
3.4กก3.4.1กกระดับคะแนน 3.40-4.49 หมายถึง ผลการประเมินอยู่ในระดับดี
3.4กก3.4.1กกระดับคะแนน 4.50-5.00 หมายถึง ผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก
3.4กก3.4.2กกสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์หาค่า
ทางสถิติโดยใช้ การวัดแนวโน้มเข้าสู่เข้าสู่ส่วนโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต(Arithmetic
Mean) โดยนำผลรวมของคะแนนแต่ละข้อหารด้วยจำนวนความถี่ โดยใช้สมการ
3.4กก3.4.1กกสมการค่าเฉลี่ยเลขคณิต
X =
N
Σ X
3.4กก3.4.1กกกำหนดให้
3.4กก3.4.1กก X =กกค่าเฉลี่ยที่ประเมิน
3.4กก3.4.1กก Σ X กก =กกผลรวมของคะแนนทั้งหมด
3.4กก3.4.1กกN =กกจำนวนของผู้ทดสอบ
76
X = ค่าเฉลี่ยรวมของหัวข้อที่ประเมิน
Σ x = ผลรวมของหัวข้อที่ประเมินที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญแต่ละท่าน
N = จำนวนของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดที่ประเมินสารนิพนธ์
บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษา
ในสถาบันราชภัฏ สำหรับใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการประเมินและจัดเก็บสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
โดยมีผลของการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลได้นำเสนอดังนี้
4.1กกผลการออกแบบและพัฒนาระบบ
4.2กกผลการทดสอบระบบ
4.3กผผลการวิเคราะห์ระบบ
4.1กกผลการออกแบบและพัฒนาระบบ
4.1กก4.1.1กกการออกแบบโปรแกรมb ผู้วิจัยได้ออกแบบโปรแกรมโดยแบ่งโปรแกรม
ออกเป็น
9 ส่วน ดังนี้
4.1กก4.1.1กก4.1.1.1กกงานบริหารจัดการระบบสำหรับเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ
4.1กก4.1.1กก4.1.1.2กกงานจัดการข้อมูลประกันคุณภาพ สำหรับเจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพ
4.1กก4.1.1กก4.1.1.3กกงานจัดการข้อมูลสำหรับประเมินคณะสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะ
วิชา
4.1กก4.1.1กก4.1.1.4กกงานจัดการข้อมูลสำหรับประเมินโปรแกรมวิชาสำหรับเจ้าหน้าที่
โปรแกรม
4.1กก4.1.1กก4.1.1.5กกงานประเมินคณะวิชา สำหรับกรรมการประเมินระดับคณะวิชา
4.1กก4.1.1กก4.1.1.6กกงานประเมินโปรแกรมวิชา สำหรับกรรมการประเมินโปรแกรม
วิชา
4.1กก4.1.1กก4.1.1.7กกรายงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับสูง ได้แก่
อธิการบดี
รองอธิการบดี
4.1กก4.1.1กก4.1.1.8กกรายงานสำหรับผู้บริหารระดับคณะวิชา ผู้บริหารระดับคณะวิชา
ได้แก่ คณบดี รองคณบดี
ใช้ไฟล์บทที่ 4 หน้าที่ 1 แทน
77
4.1กก4.1.1กก4.1.1.9กกรายงานสำหรับผู้บริหารระดับโปรแกรมวิชา ผู้บริหารระดับโปรแกรมวิชา
ได้แก่ หัวหน้าโปรแกรมวิชา รองหัวหน้าโปรแกรมวิชา
4.1กก4.1.2กกการออกแบบจอภาพ ผู้วิจัยได้ออกแบบจอภาพสำหรับการใช้งานในระบบ โดย
แบ่งจอภาพออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
4.1กก4.1.2กก4.1.2.1กกหน้าจอหลักของระบบ หน้าจอหลักของระบบแสดงดังภาพที่ 4-
1
ภาพที่ก4-1กกหน้าจอหลักของระบบ
4.1กก4.1.2กก4.1.2.2กกหน้าจอผู้ใช้งาน ผู้ใช้งานแบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม ผู้วิจัยได้ออกแบบ
หน้า จอภาพให้มีลักษณะเดียวกัน แสดงดังภาพที่ 4-2
78
ภาพที่ก4-2กกหน้าจอภาพสำหรับผู้ใช้ระบบ
4.2กกผลการทดสอบระบบ
4.2กกผู้วิจัยได้ทำการทดสอบระบบ เพื่อหาจุดบกพร่องและทำการแก้ไขเพื่อให้ระบบทำงานได้
อย่างถูกต้องซึ่งรายละเอียดการทดสอบโปรแกรมมีดังนี้
4.2กก4.2.1กกหลักการทดสอบระบบ
4.2กก4.2.1กกในการทดสอบโปรแกรมผู้วิจัยได้ทำการทดสอบในประเด็นต่าง ๆ ซึ่ง
ประกอบด้วย
4.2กก4.2.1กก4.2.1.1กกการเพิ่มข้อมูล โดยการป้อนข้อมูลให้กับระบบตามเงื่อนไข
4.2กก4.2.1กก4.2.1.2กกการแก้ไขข้อมูล การแก้ไขข้อมูลจะพิจารณาตามเงื่อนไขกำหนด
4.2กก4.2.1กก4.2.1.3กกการลบข้อมูล พิจารณาการลบข้อมูลได้ถูกต้อง ยืนยัน ยกเลิกการ
ลบ และการลบข้อมูลที่มีข้อมูลอยู่ในตารางอื่น
4.2กก4.2.1กก4.2.1.4กกการแสดงผลข้อมูล แสดงข้อมูลได้ตามเงื่อนไจ
4.2กก4.2.1กกภาพแสดงการทดสอบระบบดูรายละเอียดใน ภาคผนวก ค
4.2กก4.2.2กกส่วนของโปรแกรมโดยผู้พัฒนาระบบ (Unit Testing)
4.2กก4.2.1กกการทดสอบทดสอบส่วนของโปรแกรมย่อย (Unit Testing)กระทำโดย
ผู้พัฒนาระบบ มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการทำงานของโปรแกรมในแต่ละส่วนว่า ทำงาน
ได้ถูกต้องหรือไม่ ซึ่งการทดสอบดังกล่าวประกอบด้วย
4.2.2.1กกการทดสอบงานสำหรับผู้ดูแลระบบ
4.2.2.2กกการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพ
4.2.2.3กกการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะ
4.2.2.4กกการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา
4.2.2.5กกการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำโปรแกรมวิชา
4.2.2.6กกการทดสอบงานสำหรับผู้ประเมินระดับคณะ
4.2.2.7กกการทดสอบงานสำหรับผู้ประเมินระดับโปรแกรมวิชา
4.2.2.8กกการทดสอบงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง
4.2.2.9กกการทดสอบงานสำหรับผู้บริหารระดับคณะ
4.2.2.10กการทดสอบงานสำหรับผู้บริหารระดับโปรแกรมวิชา
79
การทดสอบใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อหาผลลัพธ์โดยพิจารณาลักษณะข้อมูลที่ป้อนให้กับ
ระบบว่าทำงานได้ตามเงื่อนไขถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง รายละเอียดการทดสอบดังตารางที่ 4-
1 ถึง
ตารางที่ 4-10
79
ตารางที่ก4-1กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้ดูแลระบบ
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกลงทะเบียนผู้ใช้
กกก1.1กกเพิ่มผู้ใช้
กกกกกกก1.1.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก1.1.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก1.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกกกกกก1.1.4กกป้อนข้อมูลซ้ำ ��
กกก1.2กกแก้ไขผู้ใช้
กกกกกกก1.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก1.2.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก1.2.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกกกกกก1.2.4กกป้อนข้อมูลซ้ำ ��
กกก1.3กกลบผู้ใช้
กกกกกกก1.3.1กกเลือกข้อมูลเพื่อลบได้ ��
กกกกกกก1.3.2กกยืนยันการลบ ��
กกกกกกก1.3.3กกไม่ยืนยันการลบ ��
2.กกตั้งค่าระบบ
กกก2.1กกแก้ไขค่าระบบ
กกกกกกก2.1.1กกแก้ไขค่าได้ ��
กกกกกกก2.1.2กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก2.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
3.กกเพิ่มประเภทหน่วยงานระดับคณะ
กกก3.1กกเพิ่มข้อมูล
กกกกกกก3.1.1กกเพิ่มข้อมูลได้ ��
กกกกกกก3.1.2กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก3.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
80
ตารางที่ก4-1กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้ดูแลระบบก(ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
กกก3.2กกแก้ไข
กกกกกกก3.2.1กกแก้ไขข้อมูลได้ ��
กกกกกกก3.2.2กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก3.2.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกก3.3กกลบข้อมูล
กกกกกกก3.3.1กกเลือกรายการลบ ��
กกกกกกก3.3.2กกยืนยันการลบ ��
กกกกกกก3.3.3กกไม่ยืนยันการลบ ��
กกกกกกก3.3.4กกลบข้อมูลที่มีค่าข้อมูลอยู่ในตารางอื่น ��
4.กกเพิ่มหน่วยงานระดับคณะ
กกก4.1กกเพิ่มหน่วยงาน
กกกกกกก4.1.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก4.1.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก4.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกก4.2กกแก้ไขหน่วยงาน
กกกกกกก4.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก4.2.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก4.2.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกกกกกก4.2.4กกป้อนข้อมูลซ้ำ ��
กกก4.3กกลบหน่วยงาน
กกกกกกก4.3.1กกเลือกข้อมูลเพื่อลบได้ ��
กกกกกกก4.3.2กกยืนยันการลบ ��
กกกกกกก4.3.3กกไม่ยืนยันการลบ ��
กกกกกกก4.3.4กกลบข้อมูลที่มีค่าข้อมูลอยู่ในตารางอื่น ��
81
ตารางที่ก4-1กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้ดูแลระบบก(ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
5.กกประเภทหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา
กกก5.1กกเพิ่มประเภทหน่วยงาน
กกกกกกก5.1.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก5.1.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก5.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกก5.2กกแก้ไขประเภทหน่วยงาน
กกกกกกก5.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก5.2.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก5.2.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกกกกกก5.2.4กกป้อนข้อมูลซ้ำ ��
กกก5.3กกลบข้อมูลประเภทหน่วยงาน
กกกกกกก5.3.1กกเลือกข้อมูลเพื่อลบได้ ��
กกกกกกก5.3.2กกยืนยันการลบ ��
กกกกกกก5.3.3กกไม่ยืนยันการลบ ��
กกกกกกก5.3.4กกลบข้อมูลที่มีค่าข้อมูลอยู่ในตารางอื่น ��
6.กกหน่วยงานระดับโปรแกรมวิชา
กกก6.1กกเพิ่มประเภทหน่วยงาน
กกกกกกก6.1.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก6.1.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก6.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกก6.2กกแก้ไขหน่วยงาน
กกกกกกก6.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก6.2.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก6.2.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกกกกกก6.2.4กกป้อนข้อมูลซ้ำ ��
82
ตารางที่ก4-1กกตารางการทดสอบงานสำหรับผู้ดูแลระบบก(ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
กกก6.3กกลบข้อมูลหน่วยงาน
กกกกกกก6.3.1กกเลือกข้อมูลเพื่อลบได้ ��
กกกกกกก6.3.2กกยืนยันการลบ ��
กกกกกกก6.3.3กกไม่ยืนยันการลบ ��
กกกกกกก6.3.4กกลบข้อมูลที่มีค่าข้อมูลอยู่ในตารางอื่น ��
7.กกข่าวสารประชาสัมพันธ์
กกก7.1กกเพิ่มข่าวสาร
กกกกกกก7.1.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก7.1.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก7.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกก7.2กกแก้ไขประเภทหน่วยงาน
กกกกกกก7.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกกกกกก7.2.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
กกกกกกก7.2.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
กกกกกกก7.2.4กกป้อนข้อมูลซ้ำ ��
กกก7.3กกอนุญาตไม่อนุญาตให้แสดงข่าวสาร
กกกกกกก7.3.1กกเปลี่ยนสถานะ ��
กกกกกกก7.3.2กกยืนยันการเปลี่ยนสถานะ ��
กกกกกกก7.3.3กกไม่ยืนยันการเปลี่ยนสถานะ ��
ตารางที่ก4-2ddตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันคุณภาพ
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกมาตฐาน
1.กกมาตรฐานกลางที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษา
83
ตารางที่ก4-2ddตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันคุณภาพ (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กก1.1กกข้อมูลทั่วไป
1.กก1.1กก1.1.1กกแสดงข้อมูลได้สัมพันธ์กับปีข้อมูล ��
1.กก1.2 กกการเพิ่ม
1.กก1.2 กก1.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
1.กก1.2 กก1.2.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
1.กก1.3 กก ลบ
1.กก1.3 กก 1.3.1กกเลือกรายการลบ ��
1.กก1.3 กก 1.3.2กกยืนยันการลบ ��
1.กก1.3 กก 1.3.3กกไม่ยืนยันการลบ ��
1.กก1.3 กก 1.3.4กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลมาตรฐานอยู่ในตารางอื่น ��
2. กกดัชนีชี้วัด
2. กกดัชนีชี้วัดที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ
2. กก2.1กกข้อมูลทั่วไป
กกก1.2 กก2.1.1กกเลือกมาตรฐาน ��
2. กก2.2กก2.1.2กกแสดงดัชนีได้ตรงกับข้อมูล ��
2. กก2.2กกเพิ่ม
2. กก2.2กก2.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
2. กก2.2กก2.2.2กกจัดเก็บข้อมูล ��
2. กก2.2กก2.2.3กกไม่ป้อนดัชนี ��
2. กก2.3กกแก้ไข
2. กก2.2กก2.3.1กกเลือกรายการแก้ไข ��
2. กก2.2กก2.3.2กกจัดเก็บข้อมูล ��
2. กก2.2กก2.3.3กกไม่ป้อนดัชนีชี้วัด ��
2. กก2.4กกลบ
2. กก2.2กก2.4.1กกเลือกรายการลบ ��
84
ตารางที่ก4-2ddตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันคุณภาพ (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
3.dd3.1กก2.4.2กกยืนยันการลบ ��
3.dd3.1กก2.4.3กกยกเลิก ��
3.dd3.1กก2.4.4กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลปรากฎในตารางอื่น ��
3.กกเกณฑ์ชี้วัด
3.dd3.1กกข้อมูลทั่วไป
3.dd3.1กก3.1.1กกเลือกมาตรฐานและดัชนี ��
3.dd3.1กก3.1.2กกแสดงรายการโดยตรงกับปีข้อมูล ��
3.dd3.2กก เพิ่ม
3.dd3.1กก3.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
3.dd3.1กก3.2.2กกไม่ป้อนเกณฑ์ ��
3.dd3.3กก ลบ
3.dd3.1กก3.3.1กกเลือกรายการลบ ��
3.dd3.1กก3.3.2กกยืนยันการลบ ��
3.dd3.1กก3.3.3กกยกเลิกการลบ ��
3.dd3.1กก3.3.4กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลในตารางอื่น ��
4.กกเกณฑ์การประเมิน.กกกำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา
4.กก4.1กกข้อมูลทั่วไป
4.กก4.1กก4.1.1กกแสดงเกณฑ์การประเมิน ��
กกก4.2กกแก้ไข
4.กก4.1กก4.2.1กกเลือกรายการแก้ไข ��
4.กก4.1กก4.2.2กกจัดเก็บข้อมูล ��
4.กก4.1กก4.2.3กกไม่ป้อนชื่อเกณฑ์ ��
4.กก4.1กก4.2.4กกไม่ป้อนตัวเลือก ��
กกก4.3กกลบ
4.กก4.1กก4.3.1กกเลือกรายการลบ ��
4.กก4.1กก4.3.2กกยืนยันการลบ ��
85
ตารางที่ก4-2กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันคุณภาพ (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
กกก4.4กก4.3.3กกยกเลิกการลบ ��
กกก4.4กก4.3.4กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลปรากฎในตารางอื่น ��
กกก4.4กกเพิ่มค่าคะแนน
กกก4.4กก4.4.1กกป้อนค่าคะแนน
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.1.1กกเลือกรายการ ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.1.2กกป้อนข้อมูลครบ ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.1.3กกไม่ป้อนสัญลักษณ์ ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.1.4กกไม่ป้อนค่าคะแนน ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.1.5กกไม่ป้อนคำอธิบาย ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.1.6กกป้อนสัญลักษณ์ซ้ำ ��
กกก4.4กก4.4.2กกแก้ไข
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.2.1กกเลือกรายการแก้ไข ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.2.2กกจัดเก็บข้อมูล ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.2.3กกไม่ป้อนสัญลักษณ์ ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.2.4กกไม่ป้อนค่าคะแนน ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.2.5กกไม่ป้อนคำอธิบาย ��
กกก4.4กก4.4.3กกลบ
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.3.1กกเลือกรายการ ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.3.2กกยืนยันการลบ ��
กกก4.4กก4.4.1กก4.4.3.3กกยกเลิกการลบ ��
5.กกคณะกรรมการประเมิน
5.กก5.1กกข้อมูลทั่วไป
5.กก5.1กก5.1.1กกแสดงรายการ ��
5.กก5.2กกแก้ไข
5.กก5.1กก5.2.1กกเลือกรายการ ��
86
ตารางที่ก4-2กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันคุณภาพ (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง
5.กก5.1กก5.2.2กกข้อมูลกับข้อมูลแก้ไข ��
5.กก5.1กก5.2.3กกไม่ป้อนชื่อคณะกรรมการ ��
5.กก5.1กก5.2.4กกไม่ป้อนวันเดือนปีที่แต่งตั้ง ��
กกก5.3กกลบ
กก5ก.3กก5.3.1กกเลือกรายการลบ ��
กก5.3กกก5.3.2กกยืนยันการลบ ��
กก5.3กกก5.3.3กกยกเลิกการลบ ��
กก5.3กกก5.3.4กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลปรากฎอยู่ในตารางอื่น ��
กกก5.4กกเพิ่มชื่อคณะกรรมการ
กก5.3กกก5.4.1กกเลือกรายการ
กกก 5.4.4.1กกเพิ่ม
5.4.4กกก.1กกก)กกแสดงรายการ ��
5.4.4.1กกกกกข)กกเลือกรายชื่อ ��
5.4.4.1กกกกกค)กกเลือกรายชื่อซ้ำ ��
กก5.3กกก5.4.2กกลบ
กก5.3กกก5.4.2กก5.4.2.1กกเลือกรายชื่อ ��
กกก ก5.4.2.2กกยืนยันการลบ ��
กกก ก5.4.2.3กกยกเลิกการลบ ��
ตารางที่ก4-3กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะวิชา
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกมาตรฐานระดับคณะวิชา
1.กกส่วนการจัดการมาตรฐานที่ใช้ในการประเมินระดับโปรแกรมวิชา
กกก1.1กกข้อมูลทั่วไป
87
ตารางที่ก4-3กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
กกก1.1กก1.1.1กกใส่ครั้งที่ของการประเมิน ��
กกก1.1กก1.1.2กกเลือกประเภทการประเมิน ��
กกก1.1กก1.1.3กกแสดงข้อมูล ��
กกก1.2กกเพิ่ม
กกก1.1กก1.2.1กกข้อมูลแสดงตามปี ��
กกก1.1กก1.2.2กกเลือกมาตรฐาน ��
กกก1.3กกลบ
กกก1.1กก1.3.1กกเลือกมาตรฐาน ��
กกก1.1กก1.3.2กกยืนยันการลบ ��
กกก1.1กก1.3.3กกลบข้อมูลที่อ้างอิงกับตารางข้อมูลอื่น ��
กกก1.4กกแก้ไข
กกก1.1กก1.4.1กกเลือกมาตรฐาน ��
กกก1.1กก1.4.2กกแก้ไข ��
กกก1.1กก1.4.3กกยกเลิก ��
2.กกดัชนีชี้วัด
2.กกส่วนการจัดการดัชนีชี้วัดระดับคณะวิชา แบ่งออกเป็น
กกก2.1กกเพิ่ม
กกก1.1กก2.1.1กกแสดงรายการตามปี ��
กกก1.1กก2.1.2กกเลือกมาตรฐาน ��
กกก1.1กก2.1.3กกเลือกรายการเพิ่ม ��
กกก1.1กก2.1.4กกเลือกรายการซ้ำ ��
กกก2.2กกลบ
กกก1.1กก2.2.1กกเลือกดัชนีชี้วัด ��
กกก1.1กก2.2.2กกยืนยันการลบ ��
88
ตารางที่ก4-3กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
2.2.3กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลอยู่ในตารางอื่น ��
3.กกเกณฑ์ชี้วัด
3.กกส่วนจัดการเกณฑ์ชี้วัดที่ใช้ในระดับคณะวิชา กกแบ่งออกเป็น
3.กก3.1กกเพิ่ม
3.กก3.1กก3.1.1กกแสดงรายการตามปี ��
3.กก3.1กก3.1.2กกเลือกดัชนีชี้วัด ��
3.กก3.1กก3.1.3กกเลือกรายการเพิ่ม ��
3.กก3.1กก3.1.4กกเลือกรายการซ้ำ ��
3.กก3.2กกลบ
3.กก3.2กก3.2.1กกเลือกเกณฑ์ชี้วัด ��
3.กก3.2กก3.2.2กกยืนยันการลบ ��
3.กก3.2กก3.2.3กกลบข้อมูลที่มีเกณฑ์อยู่ในตารางอื่น ��
4.กกกำหนดการประเมินระดับคณะวิชา
4.กกกำหนดรายละเอียดสำหรับการประเมินระดับ
4.กกโปรแกรมวิชา แบ่งออกเป็น
4.กก4.1กกข้อมูลทั่วไป
4.กก4.1กก4.1.1กกแสดงรายละเอียดตามปี ��
4.กก4.2กกเพิ่ม
4.กก4.1กก4.2.1กกป้อนข้อมูลครบถ้วน ��
4.กก4.1กก4.2.2กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
4.กก4.1กก4.2.3กกเลือกเกณฑ์ประเมิน ��
4.กก4.3กกลบ
4.กก4.1กก4.3.1กกเลือกรายการ ��
4.กก4.1กก4.3.2กกยืนยันการลบ ��
89
ตารางที่ก4-3กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
4.กก4.4กกแก้ไข
4.กก4.1กก4.4.1กกเลือกรายการ ��
4.กก4.1กก4.4.2กกป้อนข้อมูลครบถ้วน ��
4.กก4.1กก4.4.3กกไม่ป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
5.กกแสดงผลการประเมิน
6.กกส่วนแสดงรายละเอียดของการประเมิน
6.กก5.1กกแสดงรายละเอียดมาตรฐาน
6.กก6.1กก5.1.1กกแสดงมาตรฐานได้สัมพันธ์กัน ��
6.กก5.2กกแสดงผลการประเมินดัชนีชี้วัด ��
6.กก6.1กก5.2.1กกแสดงรายละเอียดการประเมินดัชนีชี้วัด ��
6.กก5.3กกแสดงผลการประเมินดัชนีชี้วัด
6.กก6.1กก5.3.1กกแสดงรายละเอียดผลการ ��
6.กก6.1กก6.3.1กกประเมินเกณฑ์ชี้วัด
6.กก5.4กกแสดงจุดด้อย จุดแข็งแนวทางเสริมได้
6.กก6.1กก5.4.1กกแสดงได้ถูกต้อง ��
ตารางที่ก4-4กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกข้อมูลปรัชญา
1.กกการกำหนดรายละเอียดปรัชญาของหน่วยงาน
1.กกแบ่งออกเป็น
1.1กกการเพิ่มปรัชญา ��
1.2กกการแก้ไขปรัชญา ��
1.3กกไม่ใส่ปรัชญา ��
90
ตารางที่ก4-4กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
2.กกข้อมูลวิสัยทัศน์
2.กกการกำหนดรายละเอียดวิสัยทัศน์
2.กกแบ่งออกเป็น
2.กก2.1กกการเพิ่มวิสัยทัศน์ ��
2.กก2.2กกการแก้ไขวิสัยทัศน์ ��
2.กก2.3กกไม่ใส่วิสัยทัศน์ ��
3.กกข้อมูลพันธกิจ
3.กกการกำหนดรายละอียดพันธกิจของหน่วยงาน
3.กก3.1กกข้อมูลทั่วไป
3.กก3.1กก3.1.1กกแสดงพันธกิจได้ ��
3.กก3.2กกเพิ่ม
3.กก3.1กก3.2.1กกป้อนข้อมูลได้ ��
3.กก3.1กก3.2.2กกป้อนวันที่ ��
3.กก3.1กก3.2.3กกไม่ป้อนพันธกิจ ��
3.กก3.3กกลบ
3.กก3.3กก3.3.1กกเลือกรายการ ��
3.กก3.3กก3.3.2กกยืนยันการลบ ��
3.กก3.3กก3.3.3กกยกเลิก ��
4.กกงานวิจัย
งานวิจัยของแต่ละหน่วยงานในปีนั้น ๆ
แบ่งออกเป็น
4.1กกข้อมูลทั่วไป
4.1.1กกแสดงรายละเอียดงานวิจัย ��
4.2กกเพิ่ม
4.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
91
ตารางที่ก4-4กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
4.2.2กกจัดเก็บข้อมูลได้ ��
4.2.3กกไม่ป้อนงานวิจัย ��
4.2.4กกไม่ป้อนแหล่งงบประมาณ ��
4.3กกลบ
4.3.1กกเลือกรายการลบ ��
4.3.2กกยืนยันการลบ ��
4.3.3กกยกเลิกการลบ ��
4.4กกแก้ไข
4.4.1กกเลือกรายการแก้ไข ��
4.4.2กกแก้ไขข้อมูล ��
4.4.3กกไม่ป้อนชื่องานวิจัย ��
4.4.4กกไม่ป้อนงบประมาณ ��
4.4.5กกไม่ป้อนข้อมูลแหล่งที่มา ��
5.กกงบประมาณ
5.กก งบประมาณของหน่วยงานที่ได้รับในแต่ละปี
5.กก 5.1กกข้อมูลทั่วไป
5.กก 5.1กก5.1.1กกแสดงรายละเอียดได้ตรงกับปีข้อมูล ��
5.กก 5.2กกเพิ่ม
5.กก 5.1กก5.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
5.กก 5.1กก5.2.2กกเลือกแผนงานซ้ำ ��
5.กก 5.1กก5.2.3กกไม่ป้อนงบประมาณแผ่นดิน ��
5.กก 5.1กก5.2.4กกไม่ป้อนงบประมาณ กศ ��
5.กก 5.1กก5.2.5 กกไม่ป้อนงบประมาณ กศ.บป. ��
5.กก 5.1กก5.2.6กกไม่ป้อนงบประมาณ สมทบ ��
5.
92
ตารางที่ก4-4กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
5.กก 5.3 แก้ไข
5.กก 5.1กก5.3.1กกเลือกรายการแก้ไข ��
5.กก 5.1กก5.3.2กกแก้ไขข้อมูล ��
5.กก 5.1กก5.3.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
5.กก 5.4 ลบ
5.กก 5.1กก5.4.1กกเลือกรายการลบ ��
5.กก 5.1กก5.4.2กกยืนยันการลบ ��
5.กก 5.1กก5.4.3กกยกเลิกการลบ ��
6.กกแผนงานงบประมาณ
6.กกกำหนดแผนงานของงบประมาณ
5.กก 6.1กกข้อมูลทั่วไป
5.กก 5.1กก6.1.1 แสดงรายการได้ถูกต้อง ��
5.กก 6.2กกเพิ่ม
5.กก 5.1กก6.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
5.กก 5.1กก6.2.2กกไม่ป้อนประเภท ��
5.กก 6.3 ลบ
5.กก 5.1กก6.3.1กกเลือกรายการลบ ��
5.กก 5.1กก6.3.2กกยืนยันการลบ ��
5.กก 5.1กก6.3.3กกยกเลิกการลบ ��
5.กก 6.4กกแก้ไข
5.กก 5.1กก6.4.1กกเลือกรายการแก้ไข ��
5.กก 5.1กก6.4.2กกจัดเก็บข้อมูล ��
5.กก 5.1กก6.4.3กกไม่ป้อนรหัส ��
5.กก 5.1กก6.4.4กกไม่ป้อนประเภท ��
93
ตารางที่ก4-4กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
7.กกงานทะเบียนบุคลากร
7.กกรายละเอียดของบุคลากรของแต่ละหน่วยงาน แบ่งออกเป็น
5.กก 7.1กกข้อมูลทั่วไป
5.กก 5.1กก7.1.1กกแสดงรายละเอียดได้ตรงกับหน่วยงาน ��
5.กก 7.2กกเพิ่ม
5.กก 5.1กก7.2.1กกใส่ข้อมูลครบถ้วน ��
5.กก 5.1กก7.2.2กกไม่ใส่คำนำหน้า ��
5.กก 5.1กก7.2.3กกไม่ใส่ชื่อ นามสกุล ��
5.กก 5.1กก7.2.4กกไม่ใส่ระดับ ��
5.กก 7.3กกลบ
5.กก 5.1กก7.3.1กกเลือกรายการลบ ��
5.กก 5.1กก7.3.2กกยืนยันการลบ ��
5.กก 5.1กก7.3.3กกยกเลิกการลบ ��
5.กก 5.1กก7.3.4กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลปรากฎอยู่ ��
ในตารางอื่น
5.กก 7.4 แก้ไข
5.กก 5.1กก7.4.1กกเลือกรายการแก้ไข ��
5.กก 5.1กก7.4.2กกจัดเก็บการแก้ไข ��
5.กก 5.1กก7.4.3กกยกเลิกการแก้ไข ��
8.กกสาขาวิชา
8.กกกำหนดสาขาวิชาที่บุคลากรจบการศึกษา
8.กก8.1กกเพิ่มสาขาวิชา
5.กก 5.1กก8.1.1กกแสดงรายการสาขาวิชา ��
5.กก 5.1กก8.1.2กกกำหนดรหัสสาขาวิชา ��
5.กก 5.1กก8.1.3กกไม่ป้อนชื่อสาขาวิชา ��
94
ตารางที่ก4-4กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
8.กก8.2กกลบ
8.กก8.2กก8.2.1กกเลือกรายการลบได้ถูกต้อง ��
8.กก8.2กก8.2.2กกลบข้อมูลการทำงานได้ ��
8.กก8.2กก8.2.3กกลบข้อมูลที่ปรากฎอยู่ในตารางอื่น ��
8.กก8.3กกแก้ไข
8.กก8.2กก8.3.1กกเลือกรายการแก้ไขได้ ��
8.กก8.2กก8.3.1กกแก้ไขข้อมูลได้ถูกต้อง ��
9.กกงานบริการวิชาการ
8.กกกำหนดรายละเอียดของงานบริการวิชาการ
8.กกของแต่ละหน่วยงาน
8.กก9.1กกเพิ่ม
5.กก5.1กก9.1.1กกแสดงรายการ ��
5.กก5.1กก9.1.2กกกำหนดรหัส ��
5.กก5.1กก9.1.3กกไม่ป้อนชื่องาน ��
8.กก9.2กกลบ
5.กก 5.1กก9.2.1กกเลือกรายการลบได้ถูกต้อง ��
5.กก 5.1กก9.2.2กกลบข้อมูลการทำงานได้ ��
8.กก9.3กกแก้ไข
5.กก 5.1กก9.3.1กกเลือกรายการแก้ไขได้ ��
5.กก 5.1กก9.3.1กกแก้ไขข้อมูลได้ถูกต้อง ��
10.กกงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
10.กกกำหนดรายละเอียดงานทำนุบำรุงแต่ละหน่วยงาน
10.กก10.1กกข้อมูลทั่วไป
10.กก10.1กก10.1.1กกแสดงรายละเอียดโครงการได้ตรงกับ ��
10.กก10.1กก ปีการศึกษา
10.
95
ตารางที่ก4-4กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำคณะและโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
กก10.2กกเพิ่ม
10.กก10.1กก10.2.1กกป้อนข้อมูลครบทุกช่อง ��
10.กก10.1กก10.2.2กกป้อนข้อมูลไม่ครบถ้วน ��
10.กก10.1กก10.2.3กกไม่ป้อนงบประมาณ ��
10.กก10.3กกเพิ่ม
10.กก10.1กก10.3.1กกป้อนข้อมูลครบทุกอย่าง ��
10.กก10.1กก10.3.2กกป้อนข้อมูลไม่ครบถ้วน ��
10.กก10.4กกลบ
10.กก10.1กก10.4.1กกเลือกรายการข้อมูลลบได้ถูกต้อง ��
10.กก10.1กก10.4.2กกยืนยันการลบ ��
10.กก10.1กก10.4.3กกยกเลิกการลบ ��
10.กก10.5กกแก้ไข
10.กก10.1กก10.5.1กกเลือกรายการได้ถูกต้อง ��
10.กก10.1กก10.5.2กกจัดเก็บข้อมูล ��
10.กก10.1กก10.5.3กกแก้ไขข้อมูลได้ถูกต้อง ��
10.กก10.1กก10.5.4กกยกเลิกการแก้ไขได้ถูกต้อง ��
ตารางที่ก4-5กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำโปรแกรมวิชา
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกมาตรฐานระดับโปรแกรมวิชา
1.กกส่วนการจัดการมาตรฐานที่ใช้ในการประเมินระดับ
1.กกโปรแกรมวิชาแบ่งออกเป็น
1.กก1.1กกข้อมูลทั่วไป
1.กก1.1กก1.1.1กกใส่ครั้งที่ของการประเมิน ��
96
ตารางที่ก4-5กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กก1.1กก1.1.2กกเลือกประเภทการประเมิน ��
1.กก1.1กก1.1.3กกแสดงข้อมูล ��
1.กก1.2กกเพิ่ม
1.กก1.1กก1.2.1กกข้อมูลแสดงตามปี ��
1.กก1.1กก1.2.2กกเลือกมาตรฐาน ��
1.กก1.3กกลบ
1.กก1.1กก1.3.1กกเลือกมาตรฐาน ��
1.กก1.1กก1.3.2กกยืนยันการลบ ��
1.กก1.1กก1.3.3กกลบข้อมูลที่อ้างอิงกับตารางข้อมูลอื่น ��
1.กก1.4กกแก้ไข
1.กก1.1กก1.4.1กกเลือกมาตรฐาน ��
1.กก1.1กก1.4.2กกแก้ไข ��
1.กก1.1กก1.4.3กกยกเลิก ��
2.กกดัชนีชี้วัด
2.กกส่วนการจัดการดัชนีชี้วัดระดับโปรแกรมวิชา
2.กกแบ่งออกเป็น
1.กก2.1กกเพิ่ม
1.กก1.1กก2.1.1กกแสดงรายการตามปี ��
1.กก1.1กก2.1.2กกเลือกมาตรฐาน ��
1.กก1.1กก2.1.3กกเลือกรายการเพิ่ม ��
1.กก1.1กก2.1.4กกเลือกรายการซ้ำ ��
2.กก2.2กกลบ
2.กก2.2กก2.2.1กกเลือกดัชนีชี้วัด ��
2.กก2.2กก2.2.2กกยืนยันการลบ ��
2.กก2.2กก2.2.3กกลบข้อมูลที่มีข้อมูลอยู่ในตารางอื่น ��
97
ตารางที่ก4-5กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
3.กกเกณฑ์ชี้วัด
2.กกส่วนจัดการเกณฑ์ชี้วัดที่ใช้ในระดับโปรแกรมวิชา.กกแบ่งออกเป็น
2.กก3.1กกเพิ่ม
2.กก2.2กก3.1.1กกแสดงรายการตามปี ��
2.กก2.2กก3.1.2กกเลือกดัชนีชี้วัด ��
2.กก2.2กก3.1.3กกเลือกรายการเพิ่ม ��
2.กก2.2กก3.1.4กกเลือกรายการซ้ำ ��
2.กก3.2กกลบ
2.กก2.2กก3.2.1กกเลือกเกณฑ์ชี้วัด ��
2.กก2.2กก3.2.2กกยืนยันการลบ ��
2.กก2.2กก3.2.3กกลบข้อมูลที่มีเกณฑ์อยู่ในตารางอื่น ��
4.กกกำหนดการประเมินระดับโปรแกรมวิชา
2.กกกำหนดรายละเอียดสำหรับการประเมินระดับ
2.กกโปรแกรมวิชา แบ่งออกเป็น
2.กก4.1กกข้อมูลทั่วไป
2.กก2.2กก4.1.1กกแสดงรายละเอียดตามปี ��
2.กก4.2กกเพิ่ม
2.กก2.2กก4.2.1กกป้อนข้อมูลครบถ้วน ��
2.กก2.2กก4.2.2กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
2.กก2.2กก4.2.3กกเลือกเกณฑ์ประเมิน ��
2.กก4.3กกลบ
2.กก2.2กก4.3.1กกเลือกรายการ ��
2.กก2.2กก4.3.2กกยืนยันการลบ ��
2.กก2.2กก4.3.3กกลบข้อมูลในกรณีที่มีข้อมูลในตารางอื่น ��
2.กก4.4กกแก้ไข
2.กก2.2กก4.4.1กกเลือกรายการ ��
98
ตารางที่ก4-5กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
2.กก2.2กก4.4.2กกป้อนข้อมูลครบถ้วน ��
2.กก2.2กก4.4.3กกไม่ป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
5.กกแสดงผลการประเมิน
5.กกส่วนแสดงรายละเอียดของการประเมิน
2.กก5.1กกแสดงรายละเอียดมาตรฐาน
2.กก2.2กก5.1.1กกแสดงมาตรฐานได้สัมพันธ์กัน ��
2.กก5.2กกแสดงผลการประเมินดัชนีชี้วัด
2.กก2.2กก5.2.1กกแสดงรายละเอียดการประเมินดัชนีชี้วัด
2.กก5.3กกแสดงผลการประเมินดัชนีชี้วัด
2.กก2.2กก5.3.1กกแสดงรายละเอียดผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัด ��
6.กกข้อมูลหลักสูตร
หลักสูตรที่เปิดสอนในแต่ละหน่วยงาน
แบ่งออกเป็น
2.กก6.1กกข้อมูลทั่วไป
2.กก2.2กก6.1.1กกแสดงรายงานได้ตรงกับปีข้อมูล ��
2.กก6.2กกเพิ่ม
2.กก2.2กก6.2.1กกป้อนข้อมูลครบ ��
2.กก2.2กก6.2.2กกไม่ป้อนข้อมูลครบ ��
2.กก2.2กก6.2.3กกไม่ป้อนหลักสูตร ��
2.กก6.3กกลบ
2.กก2.2กก6.3.1กกเลือกรายการลบ ��
2.กก2.2กก6.3.2กกยืนยันการลบ ��
2.กก6.5กกรายวิชา
2.กก2.2กก6.5.1กกเลือกหลักสูตร ��
2.กก2.2กก6.5.2กกเพิ่มแฟ้มรายวิชา ��
2.กก2.2กก6.5.3กกแสดงรายการได้ ��
99
ตารางที่ก4-5กกตารางการทดสอบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ประจำโปรแกรมวิชา (ต่อ)
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
2.กก6.6กกเพิ่มรายวิชา
2.กก2.2กก6.6.1กกเลือกรายวิชาได้ ��
2.กก2.2กก6.6.2กกเลือกรายวิชาซ้ำ ��
2.กก2.2กก6.6.3กกจัดเก็บข้อมูลได้ถูกต้อง ��
2.กก6.7กกลบรายวิชา
2.กก2.2กก6.7.1กกเลือกรายการลบ ��
2.กก2.2กก6.7.2กกยืนยันการลบ ��
2.กก2.2กก6.7.3กกยกเลิกการลบ ��
7.กกจำนวนนักศึกษา
7.กกรายละเอียดของจำนวนนักศึกษาในแต่ละปี ��
7.กกของหน่วยงาน แบ่งออกเป็น
7.กก7.1กกข้อมูลทั่วไป
7.กก7.1กก2.1.1กกแสดงจำนวนนักศึกษาได้ตรงกับปีของข้อมูล ��
7.กก7.2กกเพิ่มจำนวน
7.กก7.1กก7.1.1กกเลือกหลักสูตรเพื่อเพิ่มจำนวน ��
7.กก7.1กก7.1.2กกป้อนข้อมูลครบ ��
7.กก7.1กก7.1.3กกป้อนข้อมูลไม่ครบ ��
7.กก7.1กก7.1.4กกจัดเก็บข้อมูลแก้ไข ��
7.กก7.1กก7.1.5กกยกเลิกการแก้ไข ��
7.กก7.3กกแสดงทั้งหมด
7.กก7.1กก7.1.1กกแสดงข้อมูลได้ถูกต้อง ��
ตารางที่ก4-5กกตารางการทดสอบงานสำหรับกรรมก
ารประเมินระดับคณะวิชา
100
ตารางที่ก4-6กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้ประเมินระดับคณะวิชา
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกการประเมินระดับคณะ
กกก1.1กกการประเมินระดับคณะ
กกกกกกก1.1.1กกเลือกรายการประเมิน ��
กกกกกกก1.1.2กกจัดเก็บข้อมูลการประเมิน ��
กกกกกกก1.1.3กกแก้ไขการประเมิน ��
กกกกกกก1.1.4กกยกเลิกการแก้ไขการประเมิน ��
กกก1.2กกการแสดงผลหน่วยงาน
กกกกกกก1.2.1กกเลือกรายการแสดง ��
กกกกกกก1.2.2กกแสดงผลได้ ��
กกก1.3กกแสดงผลระดับโปรแกรม
กกกกกกก1.3.1กกเลือกโปรแกรมวิชา ��
กกกกกกก1.3.2กกแสดงข้อมูลโปรแกรมวิชา ��
ตารางที่ก4-7กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้ประเมินระดับโปรแกรมวิชา
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกการประเมินระดับโปรแกรม
กกก1.1กกการประเมินระดับโปรแกรม
กกกกกกก1.1.1กกเลือกรายการประเมิน ��
กกกกกกก1.1.2กกจัดเก็บข้อมูลการประเมิน ��
กกกกกกก1.1.3กกแก้ไขการประเมิน ��
กกกกกกก1.1.4กกยกเลิกการแก้ไขการประเมิน ��
กกก1.2กกการแสดงผลหน่วยงาน
กกกกกกก1.2.1กกเลือกรายการแสดง ��
กกกกกกก1.2.2กกแสดงผลได้ ��
101
ตารางที่ก4-8กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้บริหารระดับสูง
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกการแสดงผลการประเมิน
กกก1.1กกแสดงการประเมินระดับคณะ
กกกกกกก1.1.1กกเลือกรายการแสดงระดับคณะ ��
กกกกกกก1.1.2กกแสดงรายการได้ถูกต้อง ��
กกก1.2กกแสดงการประเมินระดับโปรแกรม
กกกกกกก1.2.1กกเลือกรายการแสดงระดับโปรแกรม ��
กกกกกกก1.2.2กกแสดงรายการได้ถูกต้อง ��
ตารางที่ก4-9กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้บริหารระดับคณะ
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกการแสดงผลการประเมิน
กกก1.1กกแสดงการประเมินภายในคณะ
กกกกกกก1.1.1กกแสดงรายการได้ถูกต้อง ��
กกก1.2กกแสดงการประเมินระดับโปรแกรม
กกกกกกก1.2.1กกเลือกรายการแสดงระดับโปรแกรม ��
กกกกกกก1.2.2กกแสดงรายการได้ถูกต้อง ��
ตารางที่ก4-10กก ตารางการทดสอบงานสำหรับผู้บริหารระดับโปรแกรม
การทดสอบ ลักษณะข้อมูล
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
1.กกการแสดงผลการประเมิน
กกก1.1กกแสดงการประเมินภายในโปรแกรม
กกกกกกก1.1.1กกแสดงรายการได้ถูกต้อง ��
102
102
4.3กกผลการวิเคราะห์ระบบ
4.3กกการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏได้ทำ
การทดสอบเพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของโปรแกรม โดยการติดตั้งโปรแกรม
บนระบบเครือข่ายและได้รับความอนุเคราะห์จากอาจารย์ที่มีประสบการณ์ในการประเมินคุณภาพ
การศึกษาจำนวน 6 ท่าน ร่วมทำการทดสอบโดยแบ่งออกเป็น 4 ด้าน
4.3กก4.3.1กกประเมินความต้องการของผู้ใช้ (Function Requirement Test)
4.3กก4.3.2กกประเมินการประมวลผลของโปรแกรม (Function Test)
4.3กก4.3.3กกประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (Usability)
4.3กก4.3.4กกประเมินสิทธิและความปลอดภัยในการใช้ระบบ (Security Test)
4.3กกการทดสอบได้แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็นออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ คะแนน 5
หมายถึง ดีมาก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย และ 1 หมายถึง
น้อยที่สุด ผู้วิจัยได้รวบรวมผลการประเมิน และหาค่าทางสถิติโดยใช้ค่าเฉลี่ยแต่ละรายการเพื่อหา
ข้อสรุป ซึ่งได้ผลดังต่อไปนี้
4.3กก4.3.1กกประเมินความต้องการของผู้ใช้ (Function Requirement Test)
การทดสอบความต้องการของผู้ใช้มีวัตถุประสงค์ทดสอบความรวดเร็วและความถูกต้องในการ
ทำงานของโปรแกรม ซึ่งผลการประเมินมีรายละเอียดดังนี้
ตารางที่ก4-11กกตารางผลการประเมินความต้องการของผู้ใช้
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
1.กกความรวดเร็วและความถูกต้องในการเพิ่มข้อมูล 4.2 ดี
2.กกความรวดเร็วและความถูกต้องในการ แก้ไขข้อมูล 4.0 ดี
3.กกความรวดเร็วและความถูกต้องในการลบข้อมูล 4.0 ดี
4.กกความรวดเร็วและความถูกต้องในการค้นหาข้อมูล 4.2 ดี
5.กกความรวดเร็วและความถูกต้องในการประมวลผล 4.2 ดี
ค่าเฉลี่ยของผลรวม 4.13 ดี
กกกก
4.3กก4.3.1กกผลการวิเคราะห์พบว่า ค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 4.13 ซึ่งเกณฑ์การทดสอบอยู่ใน
ระดับ ดี
103
กกกก4.3.2กกประเมินการประมวลผลของโปรแกรม (Function Test) มี
วัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความถูกต้องในการประมวลผลของโปรแกรมซึ่งผลของการวิเคราะห์
ข้อมูลมีรายละเอียดดังนี้ดังนี้
ตารางที่ก4-12กกตารางผลการประเมินการประมวลผลของโปรแกรม
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
1.กกความถูกต้องในการเพิ่มข้อมูล 4.3 ดี
2.กกความถูกต้องในการแก้ไขข้อมูล 4.2 ดี
3.กกความถูกต้องในการลบข้อมูล 4.2 ดี
4.กกความถูกต้องในการสืบค้น 4.2 ดี
5.กกความถูกต้องในการประมวลผล 4.5 ดี
ค่าเฉลี่ยของผลรวม 4.28 ดี
4.3กก4.3.1กกผลการวิเคราะห์พบว่า ค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 4.28 ซึ่งเกณฑ์การทดสอบอยู่ใน
ระดับ ดี
กกกก 4.3.3กกประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (Usability) การ
ประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการ
ออกแบบโปรแกรมเพื่อ ติดต่อกับผู้ใช้ ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีรายละเอียดดังนี้
ตารางที่ก4-13กกตารางผลการประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้
ก
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
1.กกการใช้สีพื้นและสีตัวอักษร 4.2 ดี
2.กกชนิดของแบบ(ฟอนต์)ตัวอักษรและขนาดของตัวอักษร 4.2 ดี
3.กกการจัดวางตำแหน่งของข้อความกับจอภาพ 4.2 ดี
4.กกความชัดเจนในการใช้ภาษาสื่อสารกับผู้ใช้ 4.2 ดี
5.กกรูปแบบมาตรฐานเดียวกันในการแสดงผล 4.7 ดี
6.กกการเชื่อมโยงระหว่างหน้าจอภาพ 4.0 ดี
7.กกการจัดหมวดหมู่ข้อมูล 4.3 ดี
104
ตารางที่ก4-13กกตารางผลการประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (ต่อ)
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
8.กกความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน 4.3 ดี
ค่าเฉลี่ยของผลรวม 4.26 ดี
กกกก 4.3.3กกผลการวิเคราะห์พบว่า ค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 4.26 ผลการประเมินอยู่ใน
ระดับดี
กกกก4.3.4กกประเมินสิทธิและความปลอดภัยในการใช้ระบบ (Security Test) การ
ประเมินสิทธิและความปลอดภัย สรุปผลการวิเคราะห์ได้ดังนี้
ตารางที่ก4-14กกตารางผลการประเมินสิทธิและความปลอดภัยในการใช้ระบบ
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
1.กกการกำหนดสิทธิในการใช้งาน 4.2 ดี
2.กกการตรวจสอบสิทธิในการ
2.กกใช้งานโดยใช้ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน
4.2 ดี
ค่าเฉลี่ยของผลรวม 4.2 ดี
กกกก 4.3.3กกผลการวิเคราะห์พบว่า ค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 4.2 ซึ่งเกณฑ์การทดสอบอยู่ในระดับ
ดี
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
กกกกระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันราชภัฏ ได้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้
เป็นเครื่องมือในการรวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพการศึกษา โดยระบบสามารถ
รองรับข้อมูลของหน่วยงานที่สังกัดภายในสถาบันราชภัฏ ได้แก่ คณะวิชา สำนัก ศูนย์ โปรแกรม
และหน่วยงานอื่น ๆ
5.1กกความสามารถของระบบ
กกกกความสามารถของระบบสรุปได้ดังนี้
กกกก5.1.1กกสามารถรองรับสารสนเทศทางด้านการประเมินคุณภาพการศึกษาของคณะ ศูนย์
สำนัก โปรแกรมวิชา และหน่วยงานอื่น ๆ
กกกก5.1.2กกสามารถทำงานแบบออนไลน์ได้ เนื่องจากระบบทำงานบนพื้นฐานของระบบ
อินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ ได้
กก ก5.1.3กกการรักษาความปลอดภัย ระบบได้ติดตั้งโปรแกรมเข้ารหัสในการรับส่งข้อมูลโดยการ
ติดตั้งระบบ SSL (Secure Socket Layer) เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัย
นอกเหนือจากการใช้ชื่อล็อกอินและรหัสผ่านในการเข้าสู่ระบบ
5.2กกสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ
5.2กกการประเมินประสิทธิภาพของระบบ ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดสอบ โดยผู้ที่มีประสบการณ์ใน
ด้านการทำงานเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยทดสอบประสิทธิภาพใน 4 ด้าน
แล้วนำข้อมูลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ยทางคณิตศาสตร์ดังตารางที่ 5-1
ตารางที่ก5-1 ตารางสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพในแต่ละด้าน
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
1.กกประเมินความต้องการของผู้ใช้ (Function
Requirement Test)
4.13 ดี
2.กกประเมินการประมวลผลของโปรแกรม(Function Test) 4.28 ดี
ไม่เอาหน้า
106
3.กกประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (Usability) 4.26 ดี
ตารางที่ก5-1 ตารางสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพในแต่ละด้าน (ต่อ)
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน
3.กกประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (Usability) 4.26 ดี
4.กกประเมินสิทธิและความปลอดภัยในการใช้ระบบ(Security
Test)
4.2 ดี
ผลการประเมินสรุปได้ดังนี้
5.2กก5.2.1กกการประเมินความต้องการของผู้ใช้ (Function Requirement Test) พบว่าค่าเฉลี่ยที่
คำนวณได้มีค่าเท่ากับ 4.13 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี
5.2กก5.2.2กกการประเมินการประมวลผลของโปรแกรม (Function Test) ค่าเฉลี่ยที่คำนวณได้มี
ค่าเท่ากับ 4.28 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี
5.2กก5.2.3กกประเมินการติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (Usability) ค่าเฉลี่ยที่
คำนวณได้มีค่าเท่ากับ 4.26 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี
5.2กก5.2.4กกประเมินสิทธิและความปลอดภัยในการใช้ระบบ (Security Test)
ค่าเฉลี่ยที่คำนวณได้มีค่าเท่ากับ 4.2 ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดี
5.3กกข้อจำกัดของระบบ
กกกก5.3.1กกการประเมินคุณภาพการศึกษาของระบบเป็นการประเมินในภาพรวมของหน่วยงาน
ในระดับคณะ ศูนย์ สำนัก โปรแกรมวิชา เท่านั้น
กกกก5.3.2กกการประเมินคุณภาพการศึกษาแบ่งเป็น 2 ระดับได้แก่ การประเมินตนเอง และการ
ประเมินภายใน ไม่ได้รวมการประเมินภายนอก
กกกก5.3.3กกระบบที่พัฒนาขึ้นใช้ภายในหน่วยงานในสถาบันราชภัฏเท่านั้น ไม่สามารถเชื่อมโยง
ระหว่างสถาบันราชภัฏแต่ละแห่งได้
5.4กกข้อเสนอแนะ
กกกก5.4.1กกการพัฒนาระบบควรพัฒนาให้สามารถเชื่อมโยงระหว่างระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถาบันราชภัฏแต่ละแห่ง
107
กกกก5.4.2กกการพัฒนาระบบควรพัฒนาให้สามารถรองรับการประเมินจากภายนอกและในระดับ
บุคคลได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น