วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย



บทที่ 1
บทนำ
1.1กกความเป็นมาและความสำคัญของสารนิพนธ์
ปัจจุบันหน่วยงานภายในองค์กรเอกชน และราชการได้นำอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้
ในการทำงานมากขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการทำงาน ซึ่งทำให้หน่วยงาน
ที่ให้บริการด้านระบบสารสนเทศขององค์กรมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ต้องดูแลรับผิดชอบอยู่เป็น
จำนวนมาก ซึ่งหน่วยงานคอมพิวเตอร์ หรือสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศจะต้องรับผิดชอบตั้งแต่
การติดตั้งให้มีการใช้งาน การจัดเก็บข้อมูลเอกสารเกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ สัญญา
การรับประกัน การซ่อมแซม การจัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ คุณลักษณะของอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แต่ละตัว ซึ่งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เหล่านี้มีการติดตั้งใช้งานไว้แต่ละสถานที่กระจัด
กระจายอยู่ทั่วไปภายในองค์กร และมีวิธีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อยู่ใน
รูปแบบเอกสารบนกระดาษ มีหลายรูปแบบ และมีการจัดเก็บอยู่หลายแห่ง ซึ่งในการทำงาน
การจัดเตรียมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์และวางแผนการแก้ปัญหามักจะประสบปัญหาดังนี้
1. ข้อมูลที่อยู่ไม่ได้เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ เนื่องจากข้อมูลถูกจัดเก็บอยู่ในรูป
เอกสารบนกระดาษและจัดเก็บอยู่หลายแห่ง ถ้ามีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงข้อมูลอาจปรับปรุง
ไม่ครบทุกแห่ง ทำให้ข้อมูลไม่ตรงกัน ซึ่งจะทำให้ไม่ทราบว่าข้อมูลชุดใดเป็นข้อมูลที่ถูกต้องทำ
ให้เสียเวลามากขึ้น
2. เมื่อผู้บริหารต้องการข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจต้องใช้เวลานาน เพื่อค้นหาและ
รวมข้อมูลตามความต้องการ
3. ผู้บริหารไม่สามารถค้นหาสารสนเทศได้ด้วยตนเอง
4. การทำงานของเจ้าหน้าที่เกิดความล่าช้าและขาดประสิทธิภาพในการทำงาน
5. ปัญหาด้านการบริหารจัดการอุปกรณ์ที่มีอยู่มาใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ และการ
เสียหายของอุปกรณ์เร็วกว่าที่กำหนดเนื่องจากการจัดเก็บในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม
6. ปัญหาเรื่องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดส่งซ่อมแซมอุปกรณ์ที่เกิดความชำรุดเสียหายที่ไม่
เป็นระบบ
7. ปัญหาติดตามลักษณะการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อพ่วง และ
อุปกรณ์เครือข่ายทุกชนิด
2
1.2 วัตถุประสงค์ของสารนิพนธ์
เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย
1.3 ขอบเขตของสารนิพนธ์
สารนิพนธ์เรื่อง “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ
เครือข่าย กรณีศึกษา สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม” จัดทำขึ้น
เพื่อเป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการพัฒนาระบบการทำงานด้านการให้บริการ
หน่วยงานภายในสถาบัน โดยแบ่งงานออกเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้
1.3.1 ส่วนของระบบพนักงานผู้รับและผู้ให้บริการ
1.3.1.1 สามารถเพิ่มข้อมูลรายละเอียดของพนักงานได้
1.3.1.2 สามารถแก้ไขข้อมูลรายละเอียดของพนักงานได้
1.3.1.3 สามารถลบข้อมูลรายละเอียดของพนักงานได้
1.3.2 ส่วนทะเบียนประวัติพื้นฐานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่าย และ
อุปกรณ์ต่อพ่วง
1.3.2.1 สามารถเพิ่มข้อมูลรายละเอียดของอุปกรณ์ได้
1.3.2.2 สามารถแก้ไขข้อมูลรายละเอียดของอุปกรณ์ได้
1.3.2.3 สามารถลบข้อมูลรายละเอียดของอุปกรณ์ได้
1.3.2.4 สามารถค้นหาข้อมูลรายละเอียดของอุปกรณ์ได้
1.3.3 ส่วนระบบการรับแจ้งปัญหาและบันทึกการให้บริการ
1.3.3.1 สามารถเพิ่มการรับแจ้งปัญหาจากผู้ใช้บริการได้
1.3.3.2 สามารถลบการรับแจ้งปัญหาจากผู้ใช้บริการได้
1.3.3.3 สามารถค้นหาข้อมูลรายละเอียดการรับแจ้งปัญหาตามช่วงเวลาได้
1.3.3.4 สามารถบันทึกการแก้ไขปัญหาของพนักงานได้
1.3.3 ส่วนระบบรักษาความปลอดภัย
1.3.3.1 สามารถกำหนดผู้ใช้ระบบได้โดยกำหนดรหัสผ่านได้
1.3.3.2 สามารถแก้ไขรหัสผ่านได้
1.3.4 ส่วนระบบรายงาน
1.3.4.1 สามารถรายงานผลการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยกำหนดช่วงเวลา
ได้
1.3.4.1 สามารถรายงานผลการตรวจซ่อมอุปกรณ์โดยกำหนดช่วงเวลาได้
3
4
1.4 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
1.4.1 อุปกรณ์ด้านฮาร์ดแวร์
1.4.1.1 เครื่องแม่ข่าย (Server) เครื่องคอมพิวเตอร์ Pentium III 1
GHz พร้อมอุปกรณ์ครบชุด
1.4.1.2 เครื่องลูกข่าย (Client) เครื่องคอมพิวเตอร์ Pentium III 1
GHz พร้อมอุปกรณ์ครบชุด
1.4.1.3 เครื่องพิมพ์เลเซอร์
1.4.2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
1.4.2.1 ระบบปฏิบัติการ LINUX เวอร์ชั่น 8.0 สำหรับเครื่องแม่ข่าย
1.4.2.2 ระบบปฏิบัติการ Windows 98 หรือ ME หรือ XP สำหรับ
เครื่อง ลูกข่าย
1.4.2.3 ระบบการจัดการฐานข้อมูล MySQL
1.4.2.4 ซอฟต์แวร์ Browser ได้แก่ Internet Explorer
1.4.2.5 ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบกราฟฟิค ได้แก่ Photoshop
1.4.2.6 ซอฟต์แวร์สร้าง Web Pages ได้ Macromedia
Dreamweaver MX
1.4.2.7 ซอฟต์แวร์เขียน HTML ได้แก่ Edit Plus
1.4.2.8 ซอฟต์แวร์ Web Server ได้แก่ Apache
1.4.3 ภาษาที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
1.4.3.1 ภาษา PHP
1.4.3.2 ภาษา HTML (Hypertext Markup Language)
1.4.3.3 ภาษา Java script
1.4.3.4 ภาษา SQL (Structured Query Language)
1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.5.1 ได้ระบบการบริหารจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ
บริหารจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ
1.5.2 การจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับระบบการตรวจซ่อมมีความ ถูกต้อง
น่าเชื่อถือ และเป็นปัจจุบัน
1.5.3 สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงข้อมูลต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
5
1.5.4 สามารถตรวจสอบและค้นหาข้อมูลต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
1.5.5 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบเป็น Freeware จึงช่วยลดค่าใช้จ่าย
1.6 ระยะเวลาในการดำเนินงาน
มีระยะเวลาในการทำงาน 11 เดือน มีรายละเอียดการทำงานดังภาพที่ 1-1
2546 2547
กิจกรรม
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.
1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
- ศึกษาการทำงานของระบบ
- ศึกษาข้อจำกัดของระบบ
- ศึกษาเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ
- กำหนดขอบเขตของงาน
2. วิเคราะห์และออกแบบระบบ
- วิเคราะห์ระบบงานเดิม
- วิเคราะห์ระบบงานใหม่
- ออกแบบระบบ
3. พัฒนาระบบ
4. ทดสอบระบบ
5. ประเมินและวัดผล
6. การจัดทำเอกสารและคู่มือ
ภาพที่ 1-1 แผนการดำเนินงานของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และเครือข่าย
6
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
5.1กกสรุปผลการดำเนินงาน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย เป็นการ
พัฒนาระบบเพื่อช่วยให้พนักงานสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มีระบบบริหารและจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย และเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทำงานโดยนำเอาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินทราเน็ต เข้ามาประยุกต์ใช้
งาน ซึ่งสามารถสรุปความสามารถของระบบได้ดังนี้
1. สามารถบันทึกรายละเอียดของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายได้
2.ก สามารถค้นหาข้อมูลได้ตามหมายเลขครุภัณฑ์ประจำอุปกรณ์ได้ โดยผ่านเว็บไซด์
3. สามารถติดตามสถานะของการซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายได้
4. สามารถตรวจสอบประวัติการซ่อมของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายได้จาก
ประวัติการซ่อมบำรุงของอุปกรณ์นั้นๆ เพื่อช่วยในการวิเคราะห์อาการเสียเบื้องต้นได้
5. สามารถออกรายงานประวัติการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ได้ตามช่วงเวลาที่กำหนด
6. สามารถออกรายงานประวัติการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ได้ แยกตามผู้รับผิดชอบ
7. สามารถแสดงรูปภาพของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายนั้นๆ ได้
8. สามารถจัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้ในระบบได้
9. สามารถลบและแก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ในระบบได้
5.2กกสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ
จากผลการทดสอบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ
เครือข่ายสรุปได้ว่า ซอฟต์แวร์มีประสิทธิภาพการทำงานด้าน Functionality อยู่ในระดับดี
มาก และในด้าน Usability อยู่ในระดับดี สรุปได้ว่าระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและ
บริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย มีประสิทธิภาพในการทำงานอยู่ในระดับดี
5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 การพัฒนาระบบนี้ใช้ซอฟต์แวร์จัดการด้านฐานข้อมูล MySQL ซึ่งเป็น
ซอฟต์แวร์จัดการด้านฐานข้อมูลที่เหมาะสำหรับการจัดการฐานข้อมูลที่มีขนาดเล็กและขนาด
กลาง ซึ่งไม่มีความสามารถในด้านการทำงานแบบทรานแซกชันดังนั้นจึงควรมีการปรับเปลี่ยน
ไปใช้ซอฟต์แวร์จัดการด้านฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพดีกว่าและเป็นฟรีแวร์ อย่างเช่น
PostgreSQL
ไปใช้ซอฟต์แวร์จัดการด้านฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพดีกว่าและเป็นฟรีแวร์อย่างเช่น
PostgreSQL
5.3.2 ในการพัฒนาระบบนี้ไม่ได้คำนึงถึงเรื่องของความปลอดภัยมากนัก เนื่องจาก
เน้นการทำงานในลักษณะของเครือข่าย Intranet ซึ่งอยู่ในภายในองค์กรเอง ซึ่งเป็นระดับที่มี
การติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยรวมไว้ในระบบปฏิบัติการโดยสามารถจำแนกความ
แตกต่างและจำแนกสิทธิการใช้งานของผูใ้ ช้แตล่ ะคนไดโ้ ดยอาศัยชื่อและรหัสผ่านในการจำแนก
ดังนั้น ถ้าต้องการพัฒนาระบบให้สามารถทำงานได้ในเครือข่าย Internet จึงต้องทำการ
เข้ารหัสข้อมูลเพิ่มขึ้นด้วย
5.3.3 ในการจัดรูปแบบรายงานยังทำได้ไม่สวยงาม การพัฒนาครั้งต่อไปควรจะพัฒนา
ส่วนรายงานให้รูปแบบเอกสารของซอฟต์แวร์ Microsoft Word หรือรูปแบบเอกสาร
PDF ของซอฟต์แวร์ Adobe Acrobat ซึ่งจะทำให้การพิมพ์รายงานออกมาสวยงามและ
มีความชัดเจนมายิ่งขึ้น
5.3.4 ในอนาคตควรมีการพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ เกี่ยวกับอาการเสียของ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น สำหรับ
พนักงานสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
5
บทที่ 2
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการทำสารนิพนธ์เรื่อง “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหาร
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย” ผู้พัฒนาได้ทำการศึกษาหลักการทฤษฎี และเทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแหล่งที่มาของข้อมูลที่มีความจำเป็นในการพัฒนาระบบ เพื่อที่จะทำให้ได้
ระบบงานที่มีความถูกต้อง และรวดเร็วในการดำเนินงาน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ คือ
2.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับหมายเลขครุภัณฑ์ การให้หมายเลขพัสดุตามระบบ FSN
(Federal Stock Number)
การให้หมายเลขพัสดุในประเทศไทยปัจจุบันได้นำเอาระบบการกำหนดหมายเลขพัสดุ
ของสหรัฐอเมริกา ที่เรียกกันว่า ระบบ FSN (Federal Stock Number) มาใช้
ระบบดังกล่าวประกอบด้วยตัวเลข 11 ตำแหน่ง แบ่งเป็น 3 ชุด คือ
ชุดแรก มีตัวเลข 4 ตำแหน่ง หมายถึง กลุ่มประเภท (Group Class)
ชุดที่ 2 มีตัวเลข 3 ตำแหน่ง หมายถึง ชนิด (Type)
ชุดที่ 3 มีตัวเลข 4 ตำแหน่ง หมายถึง รายละเอียด (Description)
Group Class Type
Description
กลุ่ม ประเภท ชนิด รายละเอียด
แนวทางการกำหนดหมายเลขพัสดุ มีวิธีการดังนี้
ก่อนที่จะมีการให้หมายเลขพัสดุ จะต้องทำการสำรวจวัสดุและครุภัณฑ์ต่าง ๆ ใน
หน่วยงานของตนว่ามีอะไรบ้าง การสำรวจต้องจดลักษณะและรายละเอียดของพัสดุแต่ละอย่าง
ให้ละเอียดมากที่สุดเท่าที่สามารถจะเป็นไปได้ เพื่อจะได้นำมากำหนดกลุ่มของพัสดุแต่ละอย่าง
ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันหรือใช้ประกอบกัน เข้าไว้เป็นหมู่หรือกลุ่มเดียวกัน เมื่อทำการ
สำรวจพัสดุเสร็จเรียบร้อย และได้รายละเอียดเกี่ยวกับพัสดุนั้น ๆ แล้วจะนำมาจัดพวกที่มี
คุณสมบัติหรือลักษณะคล้ายคลึงกันเข้าไว้ในกลุ่มตัวเลขชุดแรกที่มี 4 ตำแหน่งก่อน แล้วจึง
แยกออกเป็นชนิดตามตัวเลขชุดที่ 2 การให้หมายเลขพัสดุในขั้นต้น จะให้ลงไว้ใน
5
Working Sheet ก่อน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ละ 1 แผ่น เพื่อที่จะให้หมายเลขพัสดุใน
ชุดที่ 3 (ใน Working Sheet
แต่ละแผ่นจะลงเฉพาะรายการในกลุ่มเดียวกันเท่านั้น หากเป็นพัสดุในกลุ่มอื่นจะลงไว้
ต่างหากอีกแผ่นหนึ่ง) ( สำนักพัฒนาระบบงานและบุคลากร สำนักงบประมาณ, 2537: 8 -
12 )
การกำหนดหมายเลขครุภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมเป็นการกำหนดขึ้นใช้
เองโดยได้กำหนดไว้ดังนี้
7 6 . 5 4 . 3 2 1
ความหมายของลำดับที่หมายเลขครุภัณฑ์
หมายเลขครุภัณฑ์หลักที่ 1-3 หมายถึงลำดับที่ของครุภัณฑ์
หมายเลขครุภัณฑ์หลักที่ 4-5 หมายถึงชนิดของครุภัณฑ์
หมายเลขครุภัณฑ์หลักที่ 7-6 หมายถึงหมวดหมู่ของครุภัณฑ์
ตัวอย่างของหมายเลยครุภัณฑ์ จษ.05.14.90
จษ. ความหมาย เป็นชื่อย่อของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
05 ความหมาย เป็นหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า
14 ความหมาย เป็นชนิดเครื่องคอมพิวเตอร์
90 ความหมาย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ลำดับที่ 90
2.2 ภาษาที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
2.2.1 Hypertext Markup Language (HTML)
HTML ถูกเขียนขึ้นให้มีความเป็นมาตรฐานเหมือนกันภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ และมี
การประยุกต์มาจากภาษา SGML (Standard Generalized Markup
Language) ตามมาตรฐาน ISO 8879 รูปแบบเอกสารที่ใช้ใน HTML จะอาศัย
รากฐานของภาษา SGML รวมกับนิยามประเภทของเอกสาร (DTD : Document
Type Definition) รูปแบบทั่วไปของเอกสาร HTML มีโครงสร้างแสดงดังภาพที่ 2-
1
แทคส่วนหัวข้อ (Heading Tags) เป็นแทคที่ใช้ในการกำหนดหัวข้อของเอกสาร
ซึ่งจะมีการแสดงบนวินโดวส์บาร์
5
แทคส่วนตัวข้อมูล (Body Tags) ซึ่งสามารถแบ่งได้หลายส่วนด้วยกัน ซึ่งได้แก่
ส่วนหัว (Heading) จะประกอบไปด้วยการกำหนดระดับของตัวหนังสือที่ต้องการ
แสดงผลมีอยู่ด้วยกัน 6 ระดับ ซึ่งการกำหนดจะอยู่ในรูปแบบ
ถึง

5
ภาพที่ 2-1ddแสดงโครงสร้างโดยทั่วไปของเอกสาร HTML
2.2.2 ภาษา PHP
PHP ย่อมาจากคำว่า “Personal Home Page” เป็นภาษาสคริปต์แบบหนึ่งที่
เรียกว่า Server-Side Script โดยจะทำการประมวลผลที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์ แล้วส่งผลลัพธ์ไป
ฝั่งไคลเอนต์ในรูปแบบของ HTML Page ซึ่งสามารถแสดงผลได้บนเว็บบราวเซอร์
รูปแบบในการเขียนคำสั่งการทำงานจะมีลักษณะคล้ายกับภาษา Perl หรือภาษา C และ
สามารถที่จะใช้ร่วมกับภาษา HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อมามีผู้ให้ความสนใจเป็น
จำนวนมากจึงออกเป็นแพ็คเกจที่ รู้จักกันในชื่อ “Personal Home Page” และ
เปลี่ยนเป็น “PHP Hepertext Preporcessor” ปัจจุบัน PHP ได้พัฒนามาถึง
เวอร์ชัน 4.0 ภาษา PHP เป็น Open Source Product คือสามารถนำมาใช้งานได้
โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
2.2.2.1 วิวัฒนาการของภาษา PHP
ปีค.ศ. 1994 PHP ถูกสร้างขึ้นเป็นครั้งแรกโดย Rasmus Lerdorf โดยได้มี
การทดสอบกับเว็บเพจของเขาเอง โดยใช้ตรวจสอบติดตามเก็บสถิติข้อมูล ผู้ที่เข้าเยี่ยมชม
ประวัติส่วนตัวบนเว็บเพจของเขาเท่านั้น
ปีค.ศ. 1995 PHP เวอร์ชัน 1 ถูกพัฒนาและเผยแพร่ให้กับผู้ที่สนใจ
ปีค.ศ. 1995-1997 PHP เวอร์ชัน 2 หรือที่รู้จักในชื่อ PHP/FI โดยมี
ความสามารถจัดการเกี่ยวกับแบบฟอร์มข้อมูล ที่ถูกสร้างมาจากภาษา HTML และ
สนับสนุนการติดต่อกับโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล mSQL ทำให้ PHP ถูกใช้มากขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ปีค.ศ. 1997-1999 เปลี่ยน

5
ผู้พัฒนาจาก Rasmus Lerdorf มาเป็น Zeev Suraski และ Andi Gutmans
โดยทำการวิเคราะห์พื้นฐานของ PHP/FI และได้นำโค้ดมาพัฒนาใหม่เป็น PHP เวอร์ชัน
3 ซึ่งมีความสมบูรณ์มากขึ้น และในกลางปี ค.ศ.1999 PHP3สามารถทำงานกับ C2’s
StrongHold Web Server และ Red Hat Linux ได้
ปีค.ศ. 1999-ปัจจุบัน PHP เวอร์ชัน 4 ใช้ความสามารถของ Zend ในการพัฒนา
ระบบด้วย PHP นี้ สามารถที่จะใช้ฐานข้อมูลฟรีของ MySQL ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
2.2.2.2 หลักการทำงานของ PHP
ภาพที่ 2-2ddแสดงหลักการทำงานของ PHP (ไพศาล, 2538: 141)
จากภาพที่ 2-2 จะเห็นการทำงานเป็นขั้นตอนต่างๆ โดย
ขั้นที่ 1 ฝั่ง Client จะทำการร้องขอหรือเรียกใช้งานไฟล์ PHP ที่เก็บในเครื่อง
Server
ขั้นที่ 2 ฝั่ง Server จะทำการค้นหาไฟล์ PHP แล้วทำการประมวลผลไฟล์ PHP
ตามที่ Client ทำการร้องขอมา
ขั้นที่ 3 ทำการประมวลผลไฟล์ PHP
ขั้นที่ 4 และ 5 เป็นการติดต่อฐานข้อมูล และนำข้อมูลในฐานข้อมูลมาใช้ร่วมกับการ
ประมวลผล
ขั้นที่ 6 ส่งผลลัพธ์จากการประมวลผลไปให้เครื่อง Client
2.2.3 รูปแบบการเขียนสคริปต์ PHP
เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย
ติดต่อผ่านทาง HTTP-Port 80 (Request)
Web Server ค้นหา และประมวลผล
ไฟล์ PHP ที่ Client ร้องขอ
ไฟล์ PHP Script ที่เก็บ
ไว้ที Web Server
2
3
5 4
6
1
5
รูปแบบการเขียนคำสั่ง PHP สามารถเขียนได้ 5 แบบ และ สามารถแทรกลงในส่วนใด
ของแท็ค HTML ก็ได้
2.2.3.1 การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะของภาษา SGML จะมีรูปแบบคือ

คำสั่งในภาษา PHP;
?>
2.2.3.2 การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะภาษา XML จะมีรูปแบบคือ
php
คำสั่งในภาษา PHP;
?>
2.2.3.3 การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะภาษา JavaScript จะมีรูปแบบ
คือ

2.2.3.4 การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะภาษา ASP จะมีรูปแบบคือ

คำสั่งในภาษา PHP;
%>
2.2.3.5 การเขียนโค้ด PHP ในลักษณะพิเศษจะมีรูปแบบคือ

คำสั่งในภาษา PHP;
%>
2.2.4 Standard Query Language (SQL)
ภาษา SQL เป็นภาษาทางด้านฐานข้อมูล ที่นิยมใช้มากที่สุดภาษาหนึ่ง สามารถอ่าน
ออกเสียงได้ 2 แบบ คือ “เอสคิวแอล” หรือ “ซีเควล” (Sequel) เริ่มต้นพัฒนาครั้งแรกโดย
San Jose Research Laboratory ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น Alnaden
Research Center ของบริษัท IBM โดยมีชื่อแรกเริ่มว่า “Sequel” เป็นงานวิจัยใน
โครงการ R ในต้นทศวรรษ 1970 ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “SQL” หลังจากนั้นภาษา
SQL ได้ถูกนำมาพัฒนาโดยผู้ผลิตซอฟต์แวร์ด้านระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จนเป็นที่
5
นิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ทำให้รูปแบบการใช้คำสั่ง SQL มีรูปแบบแตกต่างกันไป
บ้าง ดังนั้น ในปีค.ศ. 1986 American National Standards Institute
(ANSI) จึงได้กำหนดมาตรฐานของ SQL ขึ้นมา
ภาษา SQL เป็นภาษาทางด้านฐานข้อมูลที่สามารถสร้างและปฏิบัติการกับฐานข้อมูล
แบบสัมพันธ์ (Relational Database) โดยเฉพาะ และเป็นภาษาที่มีลักษณะคล้ายกับ
ภาษาอังกฤษ ภาษา SQL ถูกพัฒนาขึ้นจากแนวคิดของ Relation Calculus และ
Relational Algebra เป็นหลัก
ประเภทคำสั่งของภาษา SQL สามารถแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้ออกเป็น 3 กลุ่ม
ดังนี้
1. ภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL)
เป็นกลุ่มคำสั่งที่ใช้สำหรับสร้างฐานข้อมูล หรือใช้กำหนดโครงสร้างให้กับ Relation ภายใน
ฐานข้อมูล เช่น การเพิ่ม เปลี่ยนแปลง ลบ Attribute ของ Relation
2. ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language :
DML) เป็นกลุ่ม คำสั่งที่พัฒนาขึ้นตามแนวคิดของ Relational Calculus และ
Relational Algebra โดยประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกใช้ข้อมูล เพิ่ม ลบ และ
เปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูล
3. ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL) เป็นกลุ่มคำสั่งที่
ใช้ในการควบคุม การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคน
เรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลด้วยการ
กำหนดสิทธิของผู้ใช้
2.2.5 MySQL
MySQL เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บข้อมูล ทำงานในลักษณะ Client
Server สามารถทำงานได้ทั้งบนระบบ Telnet บน Linux Redhat หรือ UNIX
System และบน Win32 (Windows 95/98/ME/XP) บนระบบเครือข่าย
Internet และ Intranet ซึ่งเหมาะกับ Application ที่มีขนาดเล็กและปานกลาง อีก
ทั้งสนับสนุน Standard SQL (ANSI)
MySQL เป็นฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database
Management System : RDBMS) คือ สามารถทำงานกับตารางข้อมูลหลาย
ตารางพร้อมๆ กัน โดยสามารถแสดงความสัมพันธ์ของตารางเหล่านั้นด้วย Attribute ที่ใช้
ร่วมกัน
5
2.2.6 Javascript
JavaScript เป็นภาษาโปรแกรม (Programming Language) ประเภท
หนึ่งที่เรียกกันว่า "สคริปต์" (script) ซึ่งมีวิธีการทำงานในลักษณะ "แปลความและ
ดำเนินงานไปทีละคำสั่ง" (interpret) ภาษานี้เดิมมีชื่อว่า LiveScript ได้รับการ
พัฒนาขึ้นโดย Netscape ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อที่จะช่วยให้เว็บเพจสามารถแสดงเนื้อหาที่มี
การเปลี่ยนแปลงไปได้ ตามเงื่อนไขหรือสภาพแวดล้อมต่างๆ กัน หรือสามารถโต้ตอบกับผู้ชม
ได้มากขึ้น ทั้งนี้เพราะภาษา HTML แต่เดิมนั้นเหมาะสำหรับใช้แสดงเอกสารที่มีเนื้อหาคงที่
แน่นอนและไม่มีลูกเล่นอะไรมากมายนัก
เนื่องจาก JavaScript ช่วยให้ผู้พัฒนาสามารถสร้างเว็บเพจได้ตรงกับความต้องการ
และมีความน่าสนใจมากขึ้น ประกอบกับเป็นภาษาที่ใครก็สามารถนำไปใช้ได้ ดังนั้นจึงได้รับ
ความนิยมเป็นอย่างสูง มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง รวมทั้งได้ถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานโดย
ECMA ซึ่งเราจะพบว่าปัจจุบันจะหาเว็บเพจที่ไม่ใช้ JavaScript เลยนั้นได้ยากเต็มที
การทำงานของ JavaScript จะต้องมีการแปลความคำสั่ง ซึ่งขั้นตอนนี้จะถูกจัดการ
โดยบราวเซอร์ดังนั้น JavaScript จึงสามารถทำงานได้เฉพาะบนบราวเซอร์ที่สนับสนุน ซึ่ง
ปัจจุบันบราวเซอร์เกือบทั้งหมดก็สนับสนุน JavaScript แล้ว อย่างไรก็ดีสิ่งที่ต้องระวังคือ
JavaScript มีการพัฒนาเป็นเวอร์ชั่นใหม่ๆ ออกมาด้วย ดังนั้นถ้านำโค้ดของเวอร์ชั่นใหม่ไป
รันบนบราวเซอร์รุ่นเก่าที่ยังไม่สนับสนุน ก็อาจจะทำให้เกิด error ได้
การทำงานของ JavaScript เกิดขึ้นบนบราวเซอร์ (เรียกว่าเป็นclient-side
script) ดังนั้นไม่ว่าจะใช้เซิร์ฟเวอร์อะไรหรือที่ไหน ก็ยังคงสามารถใช้ JavaScript ในเว็บ
เพจได้ต่างกับภาษาสคริปต์อื่นเช่น Perl PHP หรือ ASP ซึ่งต้องแปลความและทำงานที่
ตัวเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (เรียกว่า server-side script) ดังนั้นจึงต้องใช้บนเซิร์ฟเวอร์ที่
สนับสนุนภาษาเหล่านี้เท่านั้น อย่างไรก็ดีจากลักษณะดังกล่าวก็ทำให้ JavaScript มี
ข้อจำกัดคือ ไม่สามารถรับและส่งข้อมูลต่างๆ กับเซิร์ฟเวอร์โดยตรง เช่น การอ่านไฟล์จาก
เซิร์ฟเวอร์เพื่อนำมาแสดงบนเว็บเพจ หรือรับข้อมูลจากผู้ชมเพื่อนำไปเก็บบนเซิร์ฟเวอร์เป็นต้น
ดังนั้นงานลักษณะนี้จึงยังคงต้องอาศัยภาษา Server-side script อยู่
การทำงานของ JavaScript จะมีประสิทธิภาพมากถ้ามันสามารถดัดแปลงคุณสมบัติ
ขององค์ประกอบต่างๆบนเว็บเพจ เช่น สี หรือรูปแบบของข้อความ และสามารถรับรู้เหตุการณ์
ที่ ผู้ชมเว็บเพจโต้ตอบกับองค์ประกอบเหล่านั้น เช่น การคลิกหรือเลื่อนเมาส์ไปวางได้ ดังนั้น
จากภาษา HTML เดิม ที่มีลักษณะสถิต (static) ใน HTML เวอร์ชั่นใหม่ๆ จึงได้มี
การพัฒนาให้มี คุณสมบัติบางอย่างเพิ่มขึ้น และมีลักษณเป็นอ็อบเจ็ค "object" มากขึ้น
การทำงานร่วมกันระหว่างคุณสมบัติใหม่ของ HTML ร่วมกับ JavaScript นี้เอง ทำให้
5
เกิดเป็นสิ่งที่เรียกว่า Dynamic HTML คือภาษา HTML ที่สามารถใช้สร้างเว็บเพจที่
มีลักษณะพลวัต (dynamic) ได้นั่นเอง
นอกจากนี้อีกองค์ประกอบหนึ่งที่เกี่ยวข้อง ก็คือ Cascading Style Sheet
(CSS) ซึ่งเป็นภาษาที่ช่วยให้เราควบคุมรูปแบบขององค์ประกอบต่างๆ บนเว็บเพจได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากกว่าคำสั่ง หรือแท็ก (tag) ปกติของ HTML เนื่องจาก JavaScript
สามารถดัดแปลงคุณสมบัติของ CSS ได้เช่นกัน ดังนั้นจึงช่วยให้เราควบคุมเว็บเพจ ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไปอีก
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
นางสาวอุทัยรัตน์ (2544) ได้ทำการวิจัยและพัฒนา Web Application ของศูนย์
เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีจุดประสงค์หลักของ Web site เพื่อเก็บรวบรวม
ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ซึ่งมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูล
และสามารถค้นหาข้อมูลเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานหรือการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รศ.วีระศักดิ์ (2545) ประจำศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนาระบบ
Computerised Maintenance Management System ( CMMS ) ณ.
วิทยาลัยรัชต์ภาคย์ และ บริษัท ไอเอส ซอฟต์แวร์ ได้พัฒนาระบบการจัดการงานบำรุงรักษา
ด้วยคอมพิวเตอร์ ในระยะแรกได้ออกแบบมาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อช่วยให้การเก็บรวบรวม
ประมวลผลข้อมูล และการจัดทำรายงาน รวมทั้งการค้นหาข้อมูลเดิมที่เกี่ยวกับระบบการจัดการ
งานบำรุงรักษา สามารถทำได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และต่อมาก็ได้มีการผนวกเอาระบบการ
สนับสนุนการบำรุงรักษาเข้าไว้ในระบบ CMMS ด้วย
บทที่ 3
วิธีการดำเนินการวิจัย
ในการพัฒนาและออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และเครือข่ายนี้ ผู้พัฒนาได้แบ่งขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้
1. การศึกษาและรวบรวมข้อมูลของระบบ
2. การกำหนดปัญหาของระบบงานเดิม
3. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
4. การพัฒนาซอฟต์แวร์
5. การทดสอบและประเมินระบบ
3.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมูลของระบบ
เป็นการศึกษาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ
เครือข่ายซึ่งมีระบบย่อยๆ อยู่ทั้งหมด 5 ระบบ ได้แก่
3.1.1 ระบบจัดการข้อมูลทั่วไป เป็นระบบการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานต่างๆ ได้แก่ ข้อมูล
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ข้อมูลอุปกรณ์ต่อพ่วง ข้อมูลอุปกรณ์เครือข่าย ชนิดของอุปกรณ์ ซึ่งข้อมูล
พื้นฐานเหล่านี้ จะถูกนำไปใช้ร่วมกับระบบงานอื่นๆ โดยได้รวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่ต้องมี จาก
ระบบงานจริง
3.1.2 ระบบจัดการผู้ใช้งานระบบ เป็นระบบจัดการสิทธิการเข้างานโดยมีการตรวจสอบ
ชื่อผู้ใช้ และ รหัสผ่านเพื่อเข้าใช้ระบบ
3.1.3 ระบบบันทึกการปฏิบัติงานของพนักงานในการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ทั้งหมด
เพื่อสามารถเรียกดูประวัติย้อนหลังได้เมื่อต้องการ และเป็นข้อมูลสำหรับช่วยวิเคราะห์และแก้ไข
ปัญหาเบื้องต้นได้
3.1.4 ระบบตรวจสอบการปิดงานของการทำงานในแต่ละครั้งเป็นระบบการปิดการ
ทำงานของพนักงานแต่ละคนที่ได้รับการกำหนดให้ทำงานในแต่ละครั้ง ซึ่งพนักงานที่สามารถ
ปิดการทำงานได้จะต้องมีรหัสผู้เข้าใช้ระบบและรหัสผ่านจึงจะสามารถใช้ระบบได้
3.1.5 ระบบรายงานผลการปฏิบัติงานของพนักงาน และสามารถตรวจสอบประวัติการ
ซ่อมบำรุงของอุปกรณ์นั้นๆ ซึ่งจะเป็นการรายงานผลตามวันเวลาที่กำหนดได้
3.2 การกำหนดปัญหาของระบบงานเดิม
การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ นั้น ยังไม่มี
กฎเกณฑ์เป็นที่แน่นอน ขึ้นอยู่กับองค์กรหรือเจ้าหน้าที่ที่ต้องการจะเก็บ และเก็บข้อมูล
เกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จะมีการเก็บข้อมูลอยู่หลายๆ ที่ ได้แก่ ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายการเงิน
ฝ่ายพัสดุครุภัณฑ์ และสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งจะเห็นว่าแต่ละหน่วยงานจะเก็บข้อมูล
ในลักษณะที่คล้าย ๆ กัน และเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนกัน ซึ่งส่งผลให้เปลืองค่าใช้จ่าย และเนื้อที่ใน
การจัดเก็บข้อมูล ค้นหาข้อมูลได้ลำบาก ที่สำคัญคือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูล ทำให้
เกิดปัญหาความไม่ถูกต้องตรงกันของข้อมูล โดยส่วนใหญ่ จะทำการเก็บข้อมูลที่ไม่ละเอียด
เพียงพอต่อการบริหารงานได้ เราไม่สามารถทราบได้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ทั้งหมดนั้นติดตั้งอยู่ที่ใดบ้าง ประวัติของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละรายการ
เป็นอย่างไร รวมไปถึงการจัดซื้อ หรือการได้มาซึ่งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละรายการเป็น
อย่างไรบ้าง มีการเก็บข้อมูลที่ไม่เป็นระบบระเบียบ กรณีที่มีการปรับปรุง (Upgrade)
เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ไม่ได้เก็บรายละเอียดต่าง ๆ ไว้ เมื่อมีความต้องการดูข้อมูลของอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และเครือข่าย เราจะทำการค้นหาข้อมูลและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลาย ๆ
ส่วนด้วยกันซึ่งทำให้เสียเวลาและเกิดความล้าช้าในการปฏิบัติงาน กรณีการส่งซ่อมอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ มีความยุ่งยากในการตรวจสอบการรับประกันของอุปกรณ์ ไม่มีการเก็บ
ข้อมูลเกี่ยวกับการซ่อมหรือตรวจสอบการซ่อมได้ว่า สาเหตุของการซ่อมนั้นเกิดจากอะไรเป็น
ส่วนมาก หรือว่า ไม่มีการเก็บข้อมูลว่าอุปกรณ์ยี่ห้อใดเกิดปัญหาบ่อย และปัญหาที่เกิดนั้นเกิด
จากอุปกรณ์ประกอบชนิดใด ทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการบริหารจัดการอุปกรณ์
3.3 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
เมื่อทำการศึกษาและรวบรวมข้อมูลของระบบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้พัฒนาได้นำข้อมูลมา
ทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยเริ่มออกแบบโครงสร้างโดยรวมของระบบ (Context
Diagram) แผนภาพกระแสข้อมูล (Dataflow Diagram) แผนภาพความสัมพันธ์
ของข้อมูล (Enitity-Relationship Diagram) และโครงสร้างฐานข้อมูล (Data
Dictionary) ซึ่งแสดง รายละเอียดดังนี้
3.3.1 ภาพรวมระบบ
3.3.1.1 ส่วนติดต่อระบบ (System Interfaces)
ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ
เครือข่าย ได้มีการเลือกใช  MySQL เป็นตัวจัดการฐานข้อมูล ที่ทำงานอยู่บน Server ที่
ติดตั้ง LINUX เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่าย ซึ่งเหมาะสมทั้งในด้านของความเสถียรของ
ตัวระบบปฏิบัติการเครือข่าย ทั้งในเรื่องของความเร็วในเรียกค้นข้อมูลของตัวจัดการฐานข้อมูล
อีกทั้งยังสามารถช่วยลดต้นทุนของ ในเรื่องของค่าลิขสิทธิ์ Software ไปได้อีกด้วย
เครื่องลูกข่าย เนื่องจากระบบบริหารและจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย เป็น
ระบบแบบ Web-based Application จึงต้องใช้ Web Browser ในการทำงาน
เมื่อพิจารณาถึงความนิยมประกอบกับความคุ้นเคยของผู้ใช้ จึงได้เลือกใช้ระบบปฏิบัติการ
Windows พร้อม Internet Explorer
ด้านการพัฒนา Application ได้เลือก PHP4 เป็นภาษาในการพัฒนา โดย
PHP เป็นภาษาที่ทำงานในลักษณะของ Server side จึงช่วยลดภาระของเครื่องลูกข่ายใน
การประมวลผล
3.3.1.2 ส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interfaces)
ส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ พิจารณาเลือกใช้ภาษา HTML ในการพัฒนา และนำ
Macromedia Dreamweaver มาเป็นเครื่องมือช่วย เพื่อง่ายในการออกแบบ โดยใน
ส่วนการรับข้อมูลเข้าจะใช้ Text boxes, Drop down boxes, Check boxes
และ Button เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจและใช้งาน และเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการคีย์
ข้อมูลของผู้ใช้
3.3.1.3 ส่วนติดต่อสื่อสาร (Communication Interfaces)
ระบบถูกออกแบบมาเพื่อทำงานในสภาพแวดล้อมแบบ Intranet ซึ่งใช้ TCP/IP
เป็น Protocol ในการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความเร็วในการส่งข้อมูลใน
เครือข่าย 10 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) หรือ 100 เมกะบิตต่อวินาที
3.3.2 แผนภาพบริบท (Context Diagram) เป็นแผนภาพการไหลของข้อมูล
ในระดับ สูงสุดที่แสดงถึงขอบเขตของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และเครือข่าย โดยแสดงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบ และข้อมูลที่เข้าสู่ระบบและออก
จากระบบ ซึ่งแสดงในภาพที่ 3-1
3.3.3 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow Diagram : DFD)
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 จะแสดงให้เห็นถึงการไหลของข้อมูลทั้งหมดในระบบ
ประกอบด้วย 5 กระบวนการหลัก คือ กระบวนการจัดการข้อมูลทั่วไป กระบวนการจัดการผู้เข้า
ใช้งานระบบ กระบวนปิดงานและจัดเก็บผลการปฏิบัติงาน กระบวนการรายงานผล ซึ่งแสดงดัง
ภาพที่ 3-2



แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 ของกระบวนการที่ 1 จะแสดงให้เห็นถึงกระบวนการ
ย่อยของการจัดการข้อมูลทั่วไปซึ่งจำเป็นสำหรับการนำไปใช้ ดังแสดงในภาพที่ 3-3
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 ของกระบวนการที่ 3 จะแสดงให้เห็นถึงกระบวนการ
ย่อยของการปิดงานในแต่ละครั้ง ซึ่งมีกระบวนการย่อย 3 กระบวนการด้วยกัน ดังแสดงในภาพ
ที่ 3-4
แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 ของกระบวนการที่ 5 จะแสดงให้เห็นถึงกระบวนการ
ย่อยของการพิมพ์ใบแจ้งซ่อมอุปกรณ์ ว่าจะมีขั้นตอนกระบวนการในการดำเนินการอย่างไร และ
มีข้อมูลใดเกี่ยวข้องกับระบบบ้าง ดังแสดงในภาพที่ 3-5
ภาพที่ 3-3 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 ของกระบวนการที่ 1 (การจัดการข้อมูลเบื้องต้น)
1.1
ตรวจสอบสิทธิ
การเขา้ ใชง้ าน
1.2
จัดการขอ้ มูล
อุปกรณเ์ครือขา่ ย
1.6
จัดการขอ้ มูล
รุน่ อุปกรณ์
1.7
จัดการขอ้ มูล
ผูแ้ จง้ ซอ่ ม
1.8
จัดการขอ้ มูล
พนกั งาน
พนกั งานสำนกั ฯ
1 ขอ้ มูลอุปกรณเ์ครือขา่ ย
2 ขอ้ มูลอุปกรณต์ อ่ พว่ ง
3 ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์
4 ขอ้ มูลยี่หอ้ อุปกรณ์
5 ขอ้ มูลรุน่ อุปกรณ์
6 ขอ้ มูลผูแ้ จง้ ซอ่ ม
8 ขอ้ มูลผูเ้ ขา้ ใชร้ ะบบ
7 ขอ้ มูลพนักงาน
Username, Password
ขอ้ มูลอุปกรณเ์ครือขา่ ย
แจง้ กลับกรณไี มม่ ีสิทธิ พนกั งานสำนกั ฯ
1.3
จัดการขอ้ มูล
คอมพวิ เตอร์
1.4
จัดการขอ้ มูล
อุปกรณต์ อ่ พว่ ง
1.5
จัดการขอ้ มูล
ยี่หอ้ อุปกรณ์
Username
Username
Username
Username
Username
Username Username
ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์
ขอ้ มูลอุปกรณต์ อ่ พว่ ง
ขอ้ มูลยี่หอ้ อุปกรณ์
ขอ้ มูลรุน่ อุปกรณ์
ขอ้ มูลผูแ้ จง้ ซอ่ ม
ขอ้ มูลพนักงาน
ภาพที่ 3-4 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 ของกระบวนการที่ 3 (ปิดงาน)
ภาพที่ 3-5 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 2 ของกระบวนการที่ 5 (บันทึกใบแจ้งงาน)
3.3.4 แผนภาพความสัมพันธ์ของข้อมูล
ในการพัฒนาระบบบริหารและจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย ได้ใช้โปรแกรม
การจัดการฐานข้อมูล MySQL เพื่อเก็บข้อมูลของระบบ โดยในส่วนนี้จะใช้ Entity
Relationship Diagram แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลต่างๆ ในระบบ ดัง
ภาพที่ 3-6
3.1
ตรวจสอบสิทธิ
การเข้าใช้งาน
3.2
ค้นหารายการ
แจ้งซ่อม
พนักงานสำนักฯ
Username, Password 8 ข้อมูลผู้เข้าใช้ระบบ
เลขที่รายการแจ้งซ่อม
แจ้งกลับกรณีไม่มีสิทธิ
3.3
ปิดงาน
Username
ไม่พบรายการ
9 ข้อมูลรายการแจ้งซ่อม
รายละเอียดรายการ
5.1
ตรวจสอบสทิ ธิ
การเขา้ ใชง้ าน
5.2
บนั ทกึ รายการ
แจง้ ซอ่ ม
พนกั งานสาํ นกั ฯ
Username, Password 8 ขอ้ มลู ผเู้ขา้ ใชร้ ะบบ
ขอ้ มลู รายการแจง้ ซอ่ ม
แจง้ กลบั กรณไีมม่ สี ทิ ธิ
5.3
พมิ พใ์บงาน
Username
9 ขอ้ มลู รายการแจง้ ซอ่ ม
6 ขอ้ มลู ผแู้ จง้ ซอ่ ม ชา่ งเทคนคิ
ใบงาน

3.3.5 การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design)
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย
ผู้พัฒนาได้ใช้โปรแกรมระบบการจัดการฐานข้อมูลของ MySQL และได้ออกแบบระบบ
ฐานข้อมูลของโปรแกรมได้จำนวน 10 ตาราง ซึ่งแสดงรายละเอียดในตารางที่ 3-1 ถึง ตารางที่
3-10
ตารางที่ 3-1กกตารางข้อมูลชนิดของอุปกรณ์ (Type)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Type_id Varch
ar
20 รหัสชนิดของอุปกรณ์
2 Type_na
me
Varch
ar
50 ชื่อชนิดของอุปกรณ์
ตารางที่ 3-2กกตารางข้อมูลบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ (Brand)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Brand_id Varch
ar
20 รหัสผู้ผลิต
2 Brand_name Varch
ar
100 ชื่อผู้ผลิตอุปกรณ์
ตารางที่ 3-3กกตารางข้อมูลรุ่นของอุปกรณ์ (Model)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Model_id Varch
ar
20 รหัสรุ่นอุปกรณ์
2 Model_na
me
Varch
ar
50 ชื่อรุ่นอุปกรณ์
3 Band_id Varch
ar
20 รหัสผู้ผลิตอุปกรณ์
4 Detail Text 20 รายละเอียดของอุปกรณ์
5 Type_id Varch
ar
20 รหัสชนิดของอุปกรณ์
6 Model_pi
c
Varch
ar
100 รูปภาพของอุปกรณ์
ตารางที่ 3-4กกตารางข้อมูลผู้รับบริการ (User)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 User_id Varch
ar
20 รหัสพนักงาน
2 User
_name
Varch
ar
25 ชื่อ
3 User_serna
me
Varch
ar
30 นามสกุล
4 Position_id Varch
ar
20 ตำแหน่ง
5 Dept_id Varch
ar
20 หน่วยงาน
6 Email Varch
ar
30 อิเล็กทรอนิกส์เมล์
7 Tel Varch
ar
20 หมายเลขโทรศัพท์
ตารางที่ 3-5กกตารางข้อมูลอุปกรณ์เครือข่าย (Netdevice)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Jsnum Varc 50 รหัสอุปกรณ์เครือข่าย
har
2 Model_id Varc
har
20 รหัสรุ่นอุปกรณ์
3 Sn Varc
har
20 ซีเรียลนัมเบอร์
4 Location Varc
har
100 สถานที่ตั้ง
5 Exp_date Date - วันสิ้นสุดการรับประกัน
6 Status Char 1 สถานภาพอุปกรณ์
ตารางที่ 3-6กกตารางข้อมูลอุปกรณ์ต่อพ่วง (Per)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Jsnum Varch
ar
50 รหัสอุปกรณ์ต่อพ่วง
2 Model_id Varch
ar
50 รหัสรุ่นอุปกรณ์
3 Sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์
4 Location Varch
ar
100 สถานที่ตั้ง
5 Exp_date Date - วันสิ้นสุดการรับประกัน
6 Status Char 1 สถานภาพอุปกรณ์
ตารางที่ 3-7กกตารางข้อมูลแผนก (Department) กก
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Dept_id Varch
ar
20 รหัสหน่วยงาน
2 Dept_name Varch
ar
100 ชื่อหน่วยงาน
3 Location Varch
ar
100 หมายเลขห้อง
ตารางที่ 3-8กกตารางข้อมูลรับเรื่องขอรับบริการ (Job)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Job_id Varch
ar
20 รหัสงานให้บริการ
2 Off_rev Varch
ar
20 รหัสพนักงานผู้รับแจ้งปัญหา
3 Rev_date Date - วันที่รับเรื่องให้บริการ
4 Rev_time Time - เวลาที่รับเรื่องให้บริการ
5 Off_servic
e
Varch
ar
20 รหัสพนักงานผู้ปฏิบัติงาน
6 Complete_
date
Date - วันที่ให้บริการแล้วเสร็จ
7 Complete_
time
Time - เวลาที่ให้บริการแล้วเสร็จ
8 User_id Varch
ar
20 รหัสผู้รับบริการ
9 Jsnum Varch
ar
20 หมายเลขครุภัณฑ์
10 Problem_r
eport
Text - รายละเอียดของปัญหา
11 Service_re
port
Text - รายละเอียดการให้บริการ
12 Price Float - ราคา
13 Flag Int 1 สถานภาพของงาน
ตารางที่ 3-9กกตารางข้อมูลพนักงาน (Officer)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Off_id Varch 20 รหัสพนักงาน
ar
2 Off_name Varch
ar
25 ชื่อ
3 Off_serna
me
Varch
ar
30 นามสกุล
4 Position_id Varch
ar
20 ตำแหน่ง
5 Dept_id Varch
ar
20 หน่วยงาน
ตารางที่ 3-9(ต่อ)กกตารางข้อมูลพนักงาน (Officer)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
6 Email Varc
har
30 อิเล็กทรอนิกส์เมล์
7 Tel Varc
har
20 หมายเลขโทรศัพท์
8 Password Varc
har
20 รหัสผ่าน
ตารางที่ 3-10กกตารางข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Computer)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
1 Jsnum Varch
ar
50 รหัสครุภัณฑ์
2 Mb Varch
ar
20 รุ่นของเมนบอร์ด
3 Mb_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของ เมนบอร์ด
4 Mb_exp Date - วันที่สิ้นสุดการรับประกันเมนบอร์ด
5 Fp Varch
ar
20 รุ่นฟล๊อบปี้ดิส
6 Fp_sn Varch 20 ซีเรียลนัมเบอร์ฟล๊อบปี้ดิส
ar
7 Fp_exp Date - วันที่สิ้นสุดการรับประกันฟล๊อบปี้ดิส
8 Cd1 Var 20 รุ่นซีดีรอม 1
9 Cd1_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของซีดีรอม 1
10 Cd1_exp Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของซีดี 1
11 Cd2 Varch
ar
20 รุ่นซีดีรอม 2
12 Cd2_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของซีดีรอม 2
13 Cd2_exp Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของซีดี 2
14 Lan1 Varch
ar
20 รุ่นแลนการ์ดใบที่ 1
15 Lan1_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของแลนการ์ดใบที่ 1
16 Lan1_exp Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของแลนการ์ดใบที่1
17 Lan2 Varch
ar
20 รุ่นแลนการ์ดใบที่ 2
18 Lan2_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของแลนการ์ดใบที่ 2
19 Lan2_exp Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของแลนการ์ดใบที่2
20 Vga Varch
ar
20 รุ่นของการ์ดแสดงผล
21 Vga_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของของการ์ดแสดงผล
22 Vga_exp Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของการ์ดแสดงผล
ตารางที่ 3-10(ต่อ)กกตารางข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Computer)
ลำดับที่ ชื่อ ชนิด
ข้อมูล
ความ
กว้าง
คำอธิบาย
23 Sound Varch
ar
20 รุ่นของการ์ดเสียง
24 Sound_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของการ์ดเสียง
25 Sound_ex
p
Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของการ์ดเสียง
26 Ram1 Varch
ar
20 รุ่นของแรมใบที่ 1
27 Ram1_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของแรมใบที่ 1
28 Ram1_ex
p
Date - วันสุดการรับประกันของแรมใบที่ 1
29 Ram2 Varch
ar
20 รุ่นของแรมใบที่ 2
30 Ram2_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของแรมใบที่ 2
31 Ram2_ex
p
Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของแรมใบที่ 2
32 Ram3 Varch
ar
20 รุ่นของแรมใบที่ 3
33 Ram3_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของแรมใบที่ 3
34 Ram3_ex
p
Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของแรมใบที่ 3
35 Ram4 Varch
ar
20 รุ่นของแรมใบที่ 4
36 Ram4_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของแรมใบที่ 4
37 Ram4_ex
p
Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของแรมใบที่ 4
38 Scsi Varch
ar
20 รุ่นของสกัสซี่
39 Scsi_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของสกัสซี่
40 Scsi_exp Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของสกัสซี่
41 Vcard Varch 20 รุ่นของวีดีโอการ์ด
ar
42 Vcard_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของวีดีโอการ์ด
43 Vcard_ex
p
Date - วันสิ้นสุดการรับประกันของวีดีโอการ์ด
44 Location Varch
ar
100 สถานที่ตั้งของอุปกรณ์
45 Supply Varch
ar
20 รุ่นของแหล่งจ่ายไฟ
46 Supply_s
n
Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์ของแหล่งจ่ายไฟ
47 Com1 Varch
ar
20 รุ่นของคอมพิวเตอร์
48 Com1_sn Varch
ar
20 ซีเรียลนัมเบอร์
49 Com1_ex
p
Date - วันสิ้นสุดการรับประกัน
50 Status Char 1 สถานภาพอุปกรณ์
3.3.6 การออกแบบหน้าจอ
สำหรับการออกแบบหน้าจอ ได้ออกแบบให้เมนูคำสั่งเป็นแบบ List Menu เพื่อง่าย
ต่อการเรียกใช้เมนู ดังแสดงตัวอย่างในภาพที่ 3-7 และดูหน้าจอทั้งหมดได้ในภาคผนวก ค
ภาพที่ 3-7 แสดงหน้าแรกของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์ฯ
3.4กกวิธีการประเมินระบบ
3.4.1 หลังจากการพัฒนาซอฟต์แวร์แล้ว ได้ทำการประเมินระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ
2 กลุ่ม คือ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ และผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบบบริหารงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายในเนื้อหาดังนี้
3.4.1.1 การทำงานได้อย่างถูกต้องตามขีดความสามารถ
(Functional Test) โดยทดสอบกรณีต่างๆ ว่าระบบสามารถยืนยันการทำงานได้อย่าง
ถูกต้องตามขีดความสามารถ (Feature) ได้หรือไม่
3.4.1.2 การติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (Usability Test) ทดสอบ
ผู้ใช้ว่าระบบสามารถใช้งานได้อย่างง่ายและเป็นที่พึงพอใจกับระบบหรือไม่
3.4.2 นำผลการประเมินมาทำการประมวลผลโดยใช้หลักสถิติ
3.4.2.1 หาค่าเฉลี่ยของการประเมินในแต่ละด้าน
3.4.2.2 ทดสอบสมมติฐานโดยทดสอบค่า ที (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญ
0.05
S n
t X
/
− μ
=
( )2
2
2
( −1)

= Σ Σ
n n
n X Xi i S
n
X
X
n
i
i Σ=
= 1
(3-
(3-
(3-

บทที่ 4
ผลการวิจัย
กระบวนการทดสอบนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของซอฟต์แวร์ “ระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย” ซึ่งมีการแบ่งการ
ทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของระบบงานนี้ โดยจะทำการทดสอบตามหัวข้อต่อไปนี้
1. การทำงานได้อย่างถูกต้องตามขีดความสามารถ (Functional Test) โดย
ทดสอบกรณีต่างๆ ว่าระบบสามารถยืนยันการทำงานได้อย่างถูกต้องตามขีดความสามารถ
(Feature) ได้หรือไม่
2. การติดต่อระหว่างโปรแกรมกับผู้ใช้ (Usability Test) ทดสอบผู้ใช้ว่าระบบ
สามารถใช้งานได้อย่างง่ายและเป็นที่พึงพอใจกับระบบหรือไม่
โดยมีการเกณฑ์การประเมิน ดังตารางที่ 4-1
ตารางที่ 4-1 เกณฑ์การประเมิน
ระดับเกณฑ์การให้คะแนน ความหมาย
9.00-10.00 ระบบสามารถทำงานเกี่ยวกับงานนั้น ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพระดับดีมาก
7.00-8.99 ระบบสามารถทำงานเกี่ยวกับงานนั้น ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพระดับดี
5.00-6.99 ระบบสามารถทำงานเกี่ยวกับงานนั้น ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพระดับปานกลาง
3.00-4.99 ระบบสามารถทำงานเกี่ยวกับงานนั้น ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพระดับน้อย
1.00-2.99 ระบบไม่สามารถทำงานเกี่ยวกับงานนั้น ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
จากนั้นนำแบบประเมินที่ได้ทำการออกแบบไว้ไปให้ผู้ประเมินทำการประเมินระบบ ผู้ที่
ทำแบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
กลุ่มที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และความชำนาญในเรื่องการพัฒนาซอฟต์แวร์
กลุ่มที่ 2 ผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการบริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลังจากนั้นจะเก็บรวบรวมผลที่ได้จากแบบประเมินสารนิพนธ์ในแต่ละการทดสอบมาแล้ว
ใช้หลักการทางสถิติเข้ามาช่วยในการสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพของสารนิพนธ์ที่
พัฒนาขึ้นซึ่งเราจะต้องทำการคำนวณหาค่าเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อของแต่ละการทดสอบและค่าที
(t-test) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญ 0.05 เพื่อสรุปผลการประเมินว่าสารนิพนธ์ที่ได้
พัฒนาขึ้นมานี้มี ประสิทธิภาพในด้านต่างๆ อยู่ในระดับใด ซึ่งจะแบ่งได้ตามระดับของเกณฑ์ที่
เราได้กำหนดไว้
4.1กกผลการวิเคราะห์ข้อมูล
จากการนำระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย
ไปประเมินโดยผู้ประเมินกลุ่มที่ 1 ซึ่งเป็น ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และความชำนาญในเรื่อง
ซอฟต์แวร์จำนวน 2 คน และผู้ประเมินกลุ่มที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับระบบ
บริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 3 คน มีผลการประเมินดังนี้
4.1.1กกผลการประเมินระบบด้าน Functional Test ของกลุ่มที่ 1
ตารางที่ 4-2ddผลการประเมินระบบด้าน Functional Test ของกลุ่มที่ 1
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
คะแนนเฉลี่ย
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ
1. ความสามารถของการจัดเก็บข้อมูล 9.50 ดีมาก
2. ความสามารถของการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล 9.50 ดีมาก
3. ความสามารถของการลบข้อมูล 9.50 ดีมาก
4. ความสามารถของการรายงานข้อมูลผู้เข้าใช้ระบบ 9.00 ดีมาก
5. ความสามารถของข้อมูลที่ถูกสำรองข้อมูล 9.50 ดีมาก
สรุปการประเมินระบบด้าน Functional Test ของ
กลุ่มที่ 1
9.40 ดีมาก
จากตารางที่ 4-2 จะแสดงให้เห็นผลที่ได้จากการประเมินผลการทดลองใช้ซอฟต์แวร์
ของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ 1 ด้าน Functional Test ตามแต่ละหัวข้อที่กำหนดมาว่าอยู่
ในระดับใด เมื่อเรานำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติ เพื่อหาค่า
เฉลี่ยอีกครั้ง พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.4
ทดสอบค่า ที (t-test)
: 9
: 9 0
>
=
μ
μ
a H
H
นั่นคือ ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ มีประสิทธิภาพในด้าน Functional Test อยู่ในระดับ
ดีมาก อย่างมีนัยสำคัญ 0.05
4.1.2กกผลการประเมินระบบด้าน Usability Test ของกลุ่มที่ 1
ตารางที่ 4-3กกผลการประเมินระบบด้าน Usability Test ของกลุ่มที่ 1
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
คะแนนเฉลี่ย
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ
1. ความสะดวกและง่ายในการใช้งานส่วนของผู้ดูแลระบบ 9.50 ดีมาก
2. ความสวยงามของหน้าตาระบบ 8.50 ดี
3. ความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอ 8.50 ดี
4. การใช้สีของตัวอักษรและรูปภาพที่เหมาะสม 8.50 ดี
สรุปการประเมินระบบด้าน Usability Test ของกลุ่ม
ที่ 1
8.75 ดี
จากตารางที่ 4-3 จะแสดงให้เห็นผลที่ได้จากการประเมินผลการทดลองใช้ซอฟต์แวร์
ของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ 1 ด้าน Usability Test ตามแต่ละหัวข้อที่กำหนดมาว่าอยู่ใน
ระดับใด เมื่อเรานำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติ เพื่อหาค่า
เฉลี่ยอีกครั้ง พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.75
ทดสอบค่า ที (t-test)
นั่นคือ ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ มีประสิทธิภาพในด้าน Usability Test อยู่ในระดับดี
อย่างมีนัยสำคัญ 0.05
2.571
4
>
=
c
c
t
t
ปฏิเสธ 0 H
: 7
: 7 0
>
=
μ
μ
a H
H
3.184
7
>
=
c
c
t
t
ปฏิเสธ 0 H
4.1.3.ผลการประเมินระบบด้าน Functional Test ของกลุ่มที่ 2
ตารางที่ 4-4กกผลการประเมินระบบด้าน Functional Test ของกลุ่มที่ 2
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
คะแนนเฉลี่ย
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ
1. ความสามารถของการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานระบบ 9.00 ดีมาก
2. ความสามารถของการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลพื้นฐาน
ระบบ
9.00 ดีมาก
3. ความสามารถของการลบข้อมูลพื้นฐานระบบ 9.33 ดีมาก
4. ความสามารถของการจัดเก็บข้อมูลพนักงาน 9.33 ดีมาก
5. ความสามารถของการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลพนักงาน 9.33 ดีมาก
6. ความสามารถของการลบข้อมูลพนักงาน 9.33 ดีมาก
7. ความสามารถของการจัดเก็บข้อมูลประวัติอุปกรณ์ 9.67 ดีมาก
8. ความสามารถของการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลประวัติการ
ตรวจซ่อมอุปกรณ์
9.67 ดีมาก
9. ความสามารถของการลบข้อมูลประวัติอุปกรณ์ 9.67 ดีมาก
10. ความสามารถของการค้นหาอุปกรณ์ 10.00 ดีมาก
11. ความสามารถของการบันทึกข้อมูลการให้บริการ 9.00 ดีมาก
12. ความสามารถของการค้นหาข้อมูลการให้บริการ 9.33 ดีมาก
13. ความสามารถของการแก้ไขข้อมูลการให้บริการ 9.67 ดีมาก
14. ความสามารถของการลบข้อมูลการให้บริการ 9.33 ดีมาก
15. ความสามารถของการรายงานการประวัติการ
ให้บริการ
9.00 ดีมาก
สรุปการประเมินระบบด้าน Functional Test ของ
กลุ่มที่ 2
9.37 ดีมาก
จากตารางที่ 4-4 จะแสดงให้เห็นผลที่ได้จากการประเมินผลการทดลองใช้ซอฟต์แวร์
ของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ 2 ด้าน Functional Test ตามแต่ละหัวข้อที่กำหนดมาว่าอยู่
ในระดับใด เมื่อเรานำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติ เพื่อหาค่า
เฉลี่ยอีกครั้ง พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.37
ทดสอบค่า ที (t-test)
นั่นคือระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ มีประสิทธิภาพในด้าน Functional Test อยู่ในระดับดี
มาก อย่างมีนัยสำคัญ 0.05
4.1.4กกผลการประเมินระบบด้าน Usability Test ของกลุ่มที่ 2
ตารางที่ 4-5กกผลการประเมินระบบด้าน Usability Test ของกลุ่มที่ 2
ด้านที่ประเมิน ประสิทธิภาพ
คะแนนเฉลี่ย
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ
1. การแบ่งเมนูของซอฟต์แวร์สามารถเข้าใจง่าย 8.67 ดี
2. ความสวยงามของหน้าตาระบบ 9.33 ดีมาก
3. ความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอ 9.00 ดีมาก
4. การใช้สีของตัวอักษรและรูปภาพที่เหมาะสม 9.00 ดีมาก
5. ความสวยงามในการออกแบบรายงานผล 7.67 ดี
6. ความเร็วในการประมวลผล 9.33 ดีมาก
สรุปการประเมินระบบด้าน Usability Test ของกลุ่ม
ที่ 2
8.83 ดี
: 9
: 9 0
>
=
μ
μ
a H
H
2.145
4.69
>
=
c
c
t
t
ปฏิเสธ 0 H
จากตารางที่ 4-5 จะแสดงให้เห็นผลที่ได้จากการประเมินผลการทดลองใช้ซอฟต์แวร์
ของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ 2 ด้าน Usability Test ตามแต่ละหัวข้อที่กำหนดมาว่าอยู่ใน
ระดับใด เมื่อเรานำคะแนนเฉลี่ยของแต่ละหัวข้อมาผ่านระเบียบวิธีการทางสถิติ เพื่อหาค่าเฉลี่ย
อีกครั้ง พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.83
ทดสอบค่า ที (t-test)
นั่นคือ ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นนี้ มีประสิทธิภาพในด้าน Usability Test อยู่ในระดับดี
อย่างมีนัยสำคัญ 0.05
4.2กกผลการวิจัย
หลังจากพัฒนาและทำการประเมินผลซอฟต์แวร์ได้ผลการวิจัยดังนี้
ภาพที่ 4-1กกแสดงหน้าแรกของการเข้าใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์

: 7
: 7 0
>
=
μ
μ
a H
H
2.571
7.22
>
=
c
c
t
t
ปฏิเสธ 0 H
ภาพที่ 4-2กกแสดงเมนูหลักของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริหารอุปกรณ์ฯ
ภาพที่ 4-3กกแสดงการแจ้งเตือนเนื่องมาจากใช้รหัสผ่านไม่ถูกต้อง
ภาพที่ 4-4กกแสดงการแจ้งเตือนเนื่องมาจากข้อมูลมีความสัมพันธ์กันและถูกใช้งาน
ภาพที่ 4-5กกแสดงหน้าจออุปกรณ์เครือข่าย
ภาพที่ 4-6กกแสดงหน้าจอการบันทึกการแจ้งเรื่องขอรับบริการ
ภาพที่ 4-7กกแสดงหน้าจอแสดงข้อมูลกรณีบันทึกข้อมูลสำเร็จ
ภาพที่ 4-8กกแสดงหน้าจอการบันทึกการแก้ไขปัญหา
ภาพที่ 4-9กกแสดงหน้าจอกรณีบันทึกการแก้ไขปัญหาสำเร็จ
ภาพที่ 4-10กกแสดงหน้าจอรายงานสรุปอุปกรณ์
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กฤษณะกกสถิตย์.กกคู่มือสร้างเว็บเพจแบบมืออาชีพด้วย Dreamweaver.กกพิมพ์ครั้งที่
2.
กรุงเทพฯก:กสำนักพิมพ์อินโฟเพรส,ก2542.
กิตติกกภักดีวัฒนะกุล,กอังศุมาลินกกเวชนารายณ์กและกกิตติพงษ์กกธีรวัฒน์เสถียร.กก
PHP ฉบับโปรแกรมเมอร์.กกพิมพ์ครั้งที่ 2.กกกรุงเทพฯก:กบริษัท เคทีพี คอมพ์
แอนด์ คอนซัลท์ จำกัด,ก2545.
ไพศาล โมลิสกุลมงคล. พัฒนา Web Database ด้วย PHP. กรุงเทพฯ : บริษัท ดวง
กมลสมัย
จำกัด, 2538.
วีระศักดิ์ กรัยวิเชียร. ระบบการจัดการงานบำรุงรักษาด้วยคอมพิวเตอร์.
http://www.rajapark.ac.th/information/coms1.htm.
สงกรานต์กกทองสว่าง.กกMySQL ระบบฐานข้อมูลสำหรับอินเตอร์เน็ต.กกกรุงเทพฯก:ก
ซีเอ็ดยูเคชั่น,ก2544.
สรวุฒิกกกอสุวรรณศิริ.กกเสริมแต่งโฮมเพจครั้งใหม่ให้มีชีวิตชีวาด้วย Java Script.กก
กรุงเทพฯก:กบริษัท วิตตี้ กรุ๊ป จำกัด,ก2544.
สำนักพัฒนาระบบงานและบุคลากร สำนักงบประมาณ. คู่มือการกำหนดหมาเลขพัสดุ.
2537.
อุทัยรัตน์ เพ่งผล. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์. สารนิพนธ์
ปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 2544.
ไอ เอส ซอฟต์แวร์ จำกัด, บริษัท. โปรแกรมการบริหารงานซ่อมบำรุง.
http://www.todayissoftware.com/software.html.
ภาษาอังกฤษ
Galitz,dWilbertdO.ddThe Essential Guide to User Interface
Design.dd2nd ed.dd
New Yorkd:dWiley Computer Publishig,dc2002.
Greenspan,dJaydanddBulgerdBrad.ddMySQL/PHP Database
Applications.dd
New Yorkd: M&T Books,dc2001.
Whitehead,dPauldanddDesamero,dJoel.ddPHP.ddNew
Yorkd:dHungry Minds, INC.,
c2001.
Wilton,dPaul.ddBeginning JavaScript.ddBirminghamd:dWrox
Press Ltd,dc2000.
Wyke,dR.dAllen,detdal.ddPHP Developer’s
Dictionary.ddIndianad:dSams,dc2001.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น