ศึกษาและโหลดฟรีเป็นตัวอย่างเกี่ยวกับงานวิจัย all free download research
วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2552
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
นางนฤมล อบมาลี
โรงเรียนบ้านขมิ้นเรืองราษฎร์รังสรรค์
อำเภอจอมพระ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1
คำนำ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และเพื่อนำไปสู่มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 การจัด
การเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการ โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย ต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถของแต่ละคน ให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทุกด้านเต็มตามศักยภาพของตนเอง ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงอย่างเป็นระบบและขั้นตอน เป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีต่อการเรียนรู้ และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วย สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล กิจกรรมเสนอแนะไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ครูผู้สอน สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ที่มุ่งพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามเป้าหมายของหลักสูตร ตามนโยบาย ตามเป้าหมายของโรงเรียนและชุมชน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดกิจกรรมเล่มนี้จะเอื้อประโยชน์สำหรับครูผู้สอน นักเรียน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพต่อไป
นฤมล อบมาลี
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ .......................................................................................................................... ข
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 ............................................ 70
แผนการปฐมนิเทศนักเรียน ..................................................................................... 71
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แผนที่ 1 .................................................................. 75
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แผนที่ 2 ................................................................ 106
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แผนที่ 3 ................................................................ 136
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แผนที่ 4 ................................................................ 158
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แผนที่ 5 ................................................................ 180
บรรณานุกรม ......................................................................................................... 207
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
วิสัยทัศน์
สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมาย เพื่อการดำรงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยืน
สุขศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพควบคู่ไปด้วย
พลศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม ด้วยการเข้าร่วมในกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬา และกิจกรรมเหล่านั้นได้รับการคัดสรรมาเป็นอย่างดีแล้ว สุขศึกษาและพลศึกษาจึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพจนมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี โดยให้มีทั้งความรู้ ความเข้าใจ ทักษะหรือกระบวนการและคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมตามแนวการจัดการศึกษาในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และตามจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ผลรวมสุดท้าย คือ ผู้เรียนเกิดการพัฒนาที่เป็นองค์รวมของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (holistic)
ในการเรียนรู้สุขศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการกระตุ้นและจูงใจให้กำหนดเป้าหมายที่เป็นจริง และมีคุณค่าในการพัฒนารูปแบบของชีวิตที่มีสุขภาพดี พัฒนาทักษะการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม รู้จักการความรับผิดชอบ และ สัมพันธภาพที่ดีกับคนอื่นทั้งที่โรงเรียน
ที่บ้าน และในชุมชน ทั้งชุมชนที่ตนเองอยู่อาศัยและชุมชนอื่น ๆ ที่แตกต่างกันออกไป
ได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน และยอมรับในความแตกต่างนั้น เกิดการพัฒนาความสามารถในการเผชิญกับปัญหาท้าทาย ความเครียด ความกดดัน ความขัดแย้ง และการเสริมสร้างสุขภาพ
ในการเรียนรู้พลศึกษา ผู้เรียนได้รับโอกาสให้เข้าร่วมในกิจกรรมทางกายและกีฬาทั้งประเภทบุคคล และประเภททีมอย่างหลากหลายทั้งของไทยและสากล กิจกรรมทางกายและกีฬาต่าง ๆ ช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดสัมฤทธิผลตามศักยภาพด้านความเจริญเติบโตและพัฒนาการทางกาย ได้ปรับปรุงสุขภาพ และสมรรถภาพทางกาย เกิดการพัฒนาทักษะกลไกอย่างเต็มที่ ได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของการฝึกฝนตนเองตามกฎ กติกา ระเบียบ
และหลักการทางวิทยาศาสตร์ ได้แข่งขันและได้ทำงานร่วมกันเป็นทีม ได้รับประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองโดยตรงตามความถนัด และความสนใจได้ค้นหาความ
พึงพอใจจากการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กีฬา กิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรม
สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายและรักการออกกำลังกาย
การจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสุขศึกษาและพลศึกษาในสถานศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เกิดการพัฒนาครบถ้วนจากสาระต่าง ๆ คือ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ชีวิตและครอบครัว การเคลื่อนไหว การออกกำลังกายการเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และความปลอดภัยในชีวิต รวมทั้งสามารถจัดให้สอดคล้อง เชื่อมโยง บูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ อีกกลุ่ม และยังนำไปจัดเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อการเติมเต็มให้แก่ผู้เรียนได้อีกด้วย
ดังนั้น การจัดการเรียนรู้กลุ่มสุขศึกษาและพลศึกษา จึงควรจัดให้เหมาะสมกับระดับความสามารถ ความต้องการ และความสนใจของผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนควรให้สอดคล้องกับลักษณะของวัฒนธรรมท้องถิ่นวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมสากล โดยได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากบ้าน ชุมชน และท้องถิ่นไปพร้อมกัน (กรมวิชาการ 2545 : 1)
มาตรฐานของผู้เรียน
เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
(พลศึกษา) แล้ว ผู้เรียนจะมี ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ และค่านิยมที่ดี
ในเรื่องการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล การสร้างเสริมสุขภาพ และสมรรถภาพ
เมื่อจบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) ใน
ช่วงชั้นที่ 2 ผู้เรียนจะมีคุณภาพ ดังนี้
จบช่วงชั้นที่ 2 (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6)
1. เข้าใจความสัมพันธ์เชื่อมโยงการทำงานระบบบต่าง ๆ ของร่างกาย และรู้จักดูแลอวัยวะที่สำคัญของระบบนั้น ๆ
2. เข้าใจธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงทาทงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม แรงขับทางเพศของชายและหญิง เมื่อย่างเข้าสู่วัยแรกรุ่นและวัยรุ่น สามารถปรับตัวและจัดการได้อย่างเหมาะสม
3. เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีชีวิตและครอบครัวที่อบอุ่น และเป็นสุข
4. ภูมิใจและเห็นคุณค่าในเพศของตน ปฏิบัติสุขอนามัยทางเพศได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติหตุ ความรุนแรง สารเสพติด และการล่วงละเมิดทางเพศ
6. มีทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐานและการควบคุมตนเองในการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน
7. รู้หลักการเคลื่อนไหวและสามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย เกม การละเล่นพื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลได้อย่างปลอดภัย และสนุกสนาน มีน้ำใจนักกีฬา โดยปฏิบัติตามกฎ กติกา สิทธิและหน้าที่ของตนเองจนงานสำเร็จลุล่วง
8. ปฏิบัติกิจกรรมทางกาย และกิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาฃ
ได้ตามความเหมาะสมและความต้องการเป็นประจำ
9. จัดการกับอารมณ์ ความเครียด และปัญหาสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
10. มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสุขภาพ
(กรมวิชาการ 2545 : 4)
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ วิชาสุขศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ. 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ. 2.1 : เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมี
ทักษะในการดำรงชีวิต
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ. 4.1 : เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรง
สุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 : ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
(กรมวิชาการ 2545 : 17)
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น วิชาสุขศึกษา
ช่วงชั้นที่ 2
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น วิชาสุขศึกษา
ช่วงชั้นที่ 2
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ. 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 2
ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
1. เข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีผลต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโต
และพัฒนาการ
2. เข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา และจิตวิญญาณ
ในวัยแรกรุ่นและวัยรุ่น
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ. 2.1 : เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมี
ทักษะในการดำเนินชีวิต
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 2
ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
1. เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีชีวิตและการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย
2. ภูมิใจและเห็นคุณค่าของความเป็นเพศหญิง เพศชาย และปฏิบัติตามบทบาททางเพศได้อย่าง
เหมาะสม
3. เข้าใจสุขอนามัยทางเพศ และปฏิบัติได้ถูกต้องเหมาะสม
4. เข้าใขพฤติกรรมที่จะนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์กับการตั้งครรภ์
5. ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาทางเพศได้อย่างเหมาะสม
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ. 4.1 : เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรง
สุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 2
ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
1. วิเคราะห์ผลของการมีสุขภาพที่ดี
2. วิเคราะห์ผลกระทบของพฤติกรรมที่มีต่อการดำรงสุขภาพและการป้องกันโรค
3. สามารถเลือกบริโภคอาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพขอ้มูลข่าวสารและบริการสุขภาพ
4. สามารถจัดการกับอารมณ์ ความเครียด เมื่อประสบปัญหา
5. ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีปัญหาทางอารมณ์ ความเครียดและปัญหาสุขภาพ
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 : ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 2
ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
1. วิเคระห์เปรียบเทียบพฤติกรรมที่ปลอดภัยและไม่ปลอดภัย และสามารถเลือกปฏิบัติ
เพื่อความปลอดภัยในชีวิต
2. เข้าใจผลกระทบของการใช้ยา บุหรี่ สุรา สารเสพติด ภัยอันตรายและความรุนแรงที่มี
ต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสามารถหลีกเลี่ยง
3. สามารถปฐมพยาบาลและดูแลรักษาเบื้องต้น เมื่อเกิดอุบัติเหตุ และเจ็บป่วย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นวิชาสุขศึกษา
ช่วงชั้นที่ 2
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นวิชาสุขศึกา
ช่วงชั้นที่ 2
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ. 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
1. เข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีผลต่อ
สุขภาพสมรรถภาพ การเจริญเติบโต
และพัฒนาการ
-การทำงานของระบบอวัยวะที่มีผลต่อสุขภาพ
สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
2. รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา
และจิตวิญญาณในวัยแรกรุ่นและวัยรุ่น
-การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม สติปัญญา และจิตวิญญาณในวัย
แรกรุ่นและวัยรุ่น
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ. 2.1 : เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมี
ทักษะในการดำเนินชีวิต
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
1. เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีชีวิตและ
การมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรม
ไทย
-คุณค่าของการมีชีวิตและการมีครอบครัวที่อบอุ่นตาม
วัฒนธรรมไทย
2. ภูมิใจและเห็นคุณค่าของความเป็น
เพศหญิงและเพศชาย และปฏิบัติบทบาท
ทางเพศได้อย่างเหมาะสม
-ธรรมชาติของเพศชาย เพศหญิง
-ความภูมิใจ/คุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
-การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
-กรสร้างสัมพันธภาพกับเพื่อน
3. เข้าใจสุขอนามัยทางเพศ และปฏิบัติได้
ถูกต้องเหมาะสม
-ความสำคัญของการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ
จุดอับชื้น และเครื่องใช้ที่เกี่ยวข้อง
-วิธีดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ จุดอับชื้อน และเครื่องใช้อย่างถูกต้อง
-การเปลี่ยนแปลงลักษณะและอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะเพศ/การป้องกันและการแก้ไข
4. เข้าใขพฤติกรรมที่จะนำไปสู่การมี
เพศสัมพันธ์กับการตั้งครรภ์
-พฤติกรรมที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่คาดคิด
-ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
-สิทธิในการป้องกันตนเองจากการล่วงละเมิดทางเพศ
-วิธีป้องกันหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์
5. ตัดสินใจและแก้ปัญหาทางเพศได้อย่าง
เหมาะสม
-ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
-การขอความช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหาทางเพศ
-วิธีการและทักษะการขอความช่วยเหลือ
-แหล่งที่ขอความช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหาทางเพศ
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ. 4.1 : เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรง
สุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
1. วิเคราะห์ผลของการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดีและไม่ดี
-ผลของการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
2. วิเคระห์ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่
มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-ผลของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-โรคติดต่อและแนวทางการป้องกัน
-สุขนิสัยในการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค
3. สามารถเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์
สุขภาพ ข้อมูลข่าวสาร และบริการสุขภาพ
-วิธีการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
-การแสวงหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการเลือกซื้อและเลือกใช้อาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ
4. สามารถจัดการกับอารมณ์ และความเครียด
เมื่อประสบปัญหา
-การจัดการกับอารมณ์และความเครียด
-ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และความเครียด
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 : ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
1. วิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมที่ปลอดภัย
และไม่ปลอดภัย และสามารถเลือกปฏิบัติ
เพื่อความปลอดภัยในชีวิต
-การวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมที่ปลอดภัยและไม่ปลอดภัยจากอุบัติเหตุและอัคคีภัย
-แนวทางเลือกปฏิบัติพฤติกรรมที่ปลอดภัย
-การป้องกันอัคคีภัยและการหนีไฟ
2. เข้าใจผลกระทบของการใช้ยา บุหรี่ สุรา
สารเสพติด ภัยอันตรายและความรุนแรงที่มี
ต่อร่างกายจิตใจ อารมณ์และสังคม และ
สามารถหลีกเลี่ยง
-ผลกระทบของการใช้ยาผิดสารเสพติด (บุหรี่
สุรา ยาบ้า กาว ทินเนอร์) ที่มีต่อสุขภาพตนเอง ครอบครัวและสังคม
-การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อสารเสพติด
-ความหมายและพฤติกรรมความรุนแรง
-การแสดงออกอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันการใช้ความรุนแรง
3. สามารถปฐมพยาบาล และดูแลรักษา
เบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาล และดูแลรักษาเบื้องต้น
เมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
จำแนกมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นเป็นสาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตาราง 9 จำแนกมาตรฐานการเรียนรู้เป็นสาระช่วงชั้นและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี
วิชาพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ. 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
1. เข้าใจการทำงาน
ของระบบอวัยวะที่มีผล
ต่อสุขภาพสมรรถภาพ
การเจริญเติบโต
และพัฒนาการ
-การทำงานของระบบอวัยวะที่มีผลต่อสุขภาพสมรรถภาพ
การเจริญเติบโต
และพัฒนาการ
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีความสำคัญต่อสุขภาพสมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
-รู้จักคราบจุลินทรีย์
-รู้วิธีป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
1. การทำงานของระบบอวัยวะ
ต่าง ๆ ของร่างกาย
-ระบบประสาท
-ระบบหายใจ
-ระบบไหลเวียนโลหิต
-ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบสืบพันธ์
-ลักษณะของคราบจุลินทรีย์
-การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
ตาราง 9 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
2. รู้และเข้าใจการ
เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม
สติปัญญา และจิต
วิญญาณในวัยแรกรุ่น
และวัยรุ่น
-การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม สติปัญญา และจิตวิญญาณในวัย
แรกรุ่นและวัยรุ่น
-วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม สติปัญญาและ
จิตวิญญาณในวัยรุ่น
-ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม สติปัญญาและจิตวิญญาณในวัยรุ่น
ตาราง 10 จำแนกมาตรฐานการเรียนรู้เป็นสาระช่วงชั้นและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี
วิชาพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ. 2.1 : เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมี
ทักษะในการดำเนินชีวิต
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
1. เข้าใจและเห็นคุณค่าของ
การมีชีวิตและการมี
ครอบครัวที่อบอุ่นตาม
วัฒนธรรมไทย
-คุณค่าของการมีชีวิตและการมีครอบครัว
ที่อบอุ่นตาม
วัฒนธรรมไทย
-วิเคราะห์ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
-ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
2. ภูมิใจและเห็นคุณค่า
ของความเป็นเพศหญิง
และเพศชาย และปฏิบัติ
บทบาททางเพศได้
อย่างเหมาะสม
-ธรรมชาติของเพศชาย เพศหญิง
-ความภูมิใจ/คุณค่าของความเป็นเพศชาย
เพศหญิง
-การปฏิบัติตน
ที่เหมาะสมกับเพศ
ตามวัฒนธรรมไทย
-กรสร้างสัมพันธภาพกับเพื่อน
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
-รู้เท่าทันและวิเคราะห์ภัยจากสื่อทางเพศได้
-ปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
-ภัยจากสื่อ
ทางเพศ
-การหลีกเลี่ยงภัยจากสื่อทางเพศ
-การปฏิบัติตน
ที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
ตาราง 8 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
3. เข้าใจสุขอนามัยทางเพศ
และปฏิบัติได้
ถูกต้องเหมาะสม
-ความสำคัญของการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ
จุดอับชื้น และเครื่องใช้ที่เกี่ยวข้อง
-วิธีดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ
จุดอับชื้น และเครื่องใช้อย่างถูกต้อง
-การเปลี่ยนแปลงลักษณะและอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะเพศ/การป้องกันและการแก้ไข
-ปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัยทางเพศอย่างสม่ำเสมอ
-การปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัย
ทางเพศ
4. เข้าใขพฤติกรรม
ที่จะนำไปสู่การมี
เพศสัมพันธ์กับการ
ตั้งครรภ์
-ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
-วิเคราะห์ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
-ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ตาราง 8 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
5. ตัดสินใจและแก้ปัญหา
ทางเพศได้อย่างเหมาะสม
-ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
-การขอความช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหา
ทางเพศ
-วิธีการและทักษะการขอความช่วยเหลือ
-แหล่งที่ขอความช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหาทางเพศ
-มีทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
ตาราง 11 จำแนกมาตรฐานการเรียนรู้เป็นสาระช่วงชั้นและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี
วิชาพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ. 4.1 : เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรง
สุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
1. วิเคราะห์ผลของการมี
พฤติกรรมสุขภาพที่ดี
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดีและไม่ดี
-ผลของการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
-วิเคราะห์ผลของการมีพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
-มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี่อย่างสม่ำเสมอ
-มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
-การวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดี
-การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัวและชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ
2. วิเคราะห์ผลกระทบ
ของพฤติกรรมสุขภาพ
ที่มีต่อการดำรงสุขภาพ
และการป้องกันโรค
-ผลของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-โรคติดต่อและแนวทางการป้องกัน
-วิเคราะห์ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
ตาราง 9 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
2. วิเคราะห์ผลกระทบ
ของพฤติกรรมสุขภาพ
ที่มีต่อการดำรงสุขภาพ
และการป้องกันโรค
-สุขนิสัยในการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค
-มีสุขนิสัยที่ดีในการปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
-วิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
-โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
3. สามารถเลือกบริโภค
อาหาร ผลิตภัณฑ์
สุขภาพ ข้อมูลข่าวสาร
และบริการสุขภาพ
-วิธีการเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
-การแสวงหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการเลือกซื้อและเลือกใช้อาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ
-รู้และเข้าใจอันตราย
ที่เกิดจากอาหารที่ไม่สะอาดและมีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
-จัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการได้
-รู้หลักการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
-วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสมและบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
-อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
-หลักการจัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการ
ตาราง 9 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
4. สามารถจัดการกับ
อารมณ์ และความเครียด
เมื่อประสบปัญหา
-การจัดการกับอารมณ์และความเครียด
-ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และความเครียด
-จัดการกับอารมณ์ และความเครียดเมื่อประสบปัญหา
-การจัดการกับ
อารมณ์ และความเครียดเมื่อประสบปัญหา
ตาราง 12 จำแนกมาตรฐานการเรียนรู้เป็นสาระช่วงชั้นและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี
วิชาพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 : ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
1. วิเคราะห์เปรียบเทียบ
พฤติกรรมที่ปลอดภัย
และไม่ปลอดภัย และ
สามารถเลือกปฏิบัติ
เพื่อความปลอดภัย
ในชีวิต
-การวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมที่ปลอดภัยและไม่ปลอดภัยจากอุบัติเหตุและอัคคีภัย
-แนวทางเลือกปฏิบัติพฤติกรรมที่ปลอดภัย
-การป้องกันอัคคีภัยและการหนีไฟ
-ปฏิบัติตนตามแนวทางเพื่อความปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน การเดินทาง
-มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-ฝึกหนีไฟ
-ปฏิบัติตามขั้นตอนการหนีไฟได้อย่างถูกต้อง
-แนวทางเพื่อความปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน การเดินทาง
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
3. วิธีปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
ตาราง 12 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
2. เข้าใจผลกระทบของการ
ใช้ยา บุหรี่ สุรา
สารเสพติด ภัยอันตราย
และความรุนแรงที่มี
ต่อร่างกายจิตใจ อารมณ์
และสังคม และ
สามารถหลีกเลี่ยง
-ผลกระทบของการใช้ยาผิดสารเสพติด (บุหรี่
สุรา ยาบ้า กาว ทินเนอร์) ที่มีต่อสุขภาพตนเอง ครอบครัวและสังคม
-การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อสารเสพติด
-ความหมายและพฤติกรรมความรุนแรง
-การแสดงออกอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันการใช้ความรุนแรง
-รู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด และการใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
-ตระหนักว่าความอยากรู้อยากลองอาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติด
-รู้วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสาร
เสพติด
-หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
-ตระหนักว่าทุกคนมีสิทธิในตนเองและทรัพย์สิน
-อันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด และการใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
-ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติดที่อาจเข้ามาถึงตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยคาดไม่ถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
-สิทธิของตนเองและสิทธิของผู้อื่น
ตาราง 12 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
2. เข้าใจผลกระทบของการ
ใช้ยา บุหรี่ สุรา
สารเสพติด ภัยอันตราย
และความรุนแรงที่มี
ต่อร่างกายจิตใจ อารมณ์
และสังคม และ
สามารถหลีกเลี่ยง
-ปกป้องสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
-แก้ปัญหาโดยไม่ใช้ความรุนแรง
-มีทักษะการสื่อสารเพื่อป้องกันการใช้ความรุนแรง
-รู้และเข้าใจความรุนแรงในครอบครัว สังคม
-การแสดงออกที่เหมาะสมเพื่อรักษาสิทธิของตนเอง
-วิธีแก้ปัญหาโดยไม่ใช้ความรุนแรง
-การสื่อสารที่สร้างสรรค์และการสื่อสารทางบวก เพื่อป้องกันความรุนแรง
-ปัญหาและสาเหตุของความรุนแรงในครอบครัว สังคม
3. สามารถปฐมพยาบาล และดูแลรักษา
เบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาล และดูแลรักษาเบื้องต้น
เมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-ปฐมพยาบาลให้คำแนะนำ ช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิดอุบัติเหตุ และเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-การดูแลรักษาอาการเจ็บป่วย
ง่าย ๆ
ตาราง 12 ต่อ
มาตรฐานการเรียนรู้และ
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 4 - 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและ
สาระการเรียนรู้รายปีชั้น ป. 6
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
3. สามารถปฐมพยาบาล และดูแลรักษา
เบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาล และดูแลรักษาเบื้องต้น
เมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-รู้วิธีป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-ดูแลรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อย
-รู้และเข้าใจ วิธีการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
-การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้สัมพันธ์กับสาระการเรียนรู้
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตาราง 13 วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้สัมพันธ์กับสาระการเรียนรู้
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ. 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีความสำคัญต่อสุขภาพสมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
-การทำงานของระบบอวัยวะต่าง ๆ
ของร่างกาย (ระบบประสาท ระบบหายใจ
ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบต่อมไร้ท่อระบบสืบพันธุ์)
-รู้จักคราบจุลินทรีย์
ลักษณะของคราบจุลินทรีย์
-รู้วิธีป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและ
จิตวิญญาณในวัยรุ่น
-ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตวิญญาณในวัยรุ่น
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ. 2.1 : เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมี
ทักษะในการดำเนินชีวิต
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
-วิเคราะห์ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
-ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
-รู้เท่าทันและวิเคราะห์ภัยจากสื่อทางเพศได้
-ภัยจากสื่อทางเพศ
-การหลีกเลี่ยงภัยจากสื่อทางเพศ
-ปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
-การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
-ปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัยทางเพศอย่างสม่ำเสมอ
-การปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัย
ทางเพศ
-วิเคราะห์ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
-ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
-มีทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
-ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ. 4.1 : เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรง
สุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
-วิเคราะห์ผลของการมีพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
-การวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
-มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี่อย่างสม่ำเสมอ
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดี
-มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
-มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
-วิเคราะห์ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-มีสุขนิสัยที่ดีในการปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
-วิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
-โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
-รู้และเข้าใจอันตรายที่เกิดจากอาหารที่ไม่สะอาดและมีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
-อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
-จัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการได้
-หลักการจัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการ
-รู้หลักการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
-อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
-วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสมและบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
-วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสมและบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
-จัดการกับอารมณ์ และความเครียดเมื่อประสบปัญหา
-การจัดการกับอารมณ์ และความเครียด
เมื่อประสบปัญหา
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 : ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
-ปฏิบัติตนตามแนวทางเพื่อความปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน การเดินทาง
-แนวทางเพื่อความปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน การเดินทาง
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-ฝึกหนีไฟ
-วิธีปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
-ปฏิบัติตามขั้นตอนการหนีไฟได้อย่างถูกต้อง
-วิธีปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
-รู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด
และการใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
-อันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด และการใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
-ตระหนักว่าความอยากรู้อยากลองอาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติด
-ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติดที่อาจเข้ามาถึงตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยคาดไม่ถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
-รู้วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
-วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
-ตระหนักว่าทุกคนมีสิทธิในตนเองและทรัพย์สิน
-สิทธิของตนเองและสิทธิของผู้อื่น
ตาราง 16 ต่อ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรียนรู้
-ปฐมพยาบาลให้คำแนะนำ ช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิด
อุบัติเหตุ และเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-การดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยง่าย ๆ
-รู้วิธีป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
-การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-รู้และเข้าใจ วิธีการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
จำนวนเวลา 40 ชั่วโมง
ศึกษาเพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจการทำงานของระบบประสาท ระบบหายใจ
ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบสืบพันธุ์ ลักษณะของคราบจุลินทรีย์
การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตวิญญาณในวัยรุ่น ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง ภัยจากสื่อทางเพศ การหลีกเลี่ยงภัยจากสื่อทางเพศ การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย การปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัยทางเพศ ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ การวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง พฤติกรรมสุขภาพที่ดี การมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค วิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน หลักการจัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการ การจัดการกับอารมณ์ และความเครียดเมื่อประสบปัญหา แนวทางเพื่อความปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน การเดินทาง แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน วิธีปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง อันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด และการใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติดที่อาจเข้ามาถึงตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยคาดไม่ถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด สิทธิของตนเองและสิทธิของผู้อื่น การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย การดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยง่าย ๆ การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
การจัดหน่วยการเรียนรู้วิชาสุขศึกษารายปี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2550
หน่วยการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดแบ่งออกเป็น 5 หน่วย ดังนี้
หน่วยที่ 1 เติบโตสมวัย
หน่วยที่ 2 ใส่ใจในครอบครัวและชีวิต
หน่วยที่ 3 การมีจิตแจ่มใส
หน่วยที่ 4 ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพ
หน่วยที่ 5 สร้างสวัสดิภาพสำหรับทุกคน
การจัดหน่วยการเรียนรู้
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ. 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : เติบโตสมวัย จำนวนแผนการเรียนรู้ 8 แผน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 8 คาบ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
1.
รู้และเข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ระบบประสาท
1 คาบ
2
รู้และเข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ระบบหายใจ
1 คาบ
3
รู้และเข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ระบบไหลเวียนโลหิต
1 คาบ
4
รู้และเข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ระบบต่อมไร้ท่อ
1 คาบ
5
รู้และเข้าใจการทำงานของระบบอวัยวะที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ระบบสืบพันธุ์
1 คาบ
6
รู้จักคราบจุลินทรีย์
ลักษณะของคราบ
จุลินทรีย์
1 คาบ
ตาราง 17 ต่อ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
7
-รู้วิธีป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
1 คาบ
8
-วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและ
จิตวิญญาณในวัยรุ่น
-ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตวิญญาณในวัยรุ่น
1 คาบ
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ. 2.1 : เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมี
ทักษะในการดำเนินชีวิต
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : ใส่ใจในครอบครัวและชีวิต จำนวนแผนการเรียนรู้ 7 แผน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 7 คาบ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
1
-วิเคราะห์ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
-ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
1 คาบ
2
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย
เพศหญิง
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
1 คาบ
3
-รู้เท่าทันและวิเคราะห์ภัยจากสื่อ
ทางเพศได้
-ภัยจากสื่อทางเพศ
-การหลีกเลี่ยงภัยจากสื่อทางเพศ
1 คาบ
4
-ปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
-การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
1 คาบ
5
-ปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัย
ทางเพศอย่างสม่ำเสมอ
-การปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัย
ทางเพศ
1 คาบ
6
-วิเคราะห์ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์
และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
-ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
1 คาบ
ตาราง 18 ต่อ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
7
-มีทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
-ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
1 คาบ
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ. 4.1 : เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรง
สุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : การมีจิตแจ่มใส จำนวนแผนการเรียนรู้ 12 แผน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 12 คาบ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
1
-วิเคราะห์ผลของการมีพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
-การวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
1 คาบ
2
-มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างสม่ำเสมอ
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดี
1 คาบ
3
-มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
-มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
1 คาบ
4
-วิเคราะห์ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
1 คาบ
5
-มีสุขนิสัยที่ดีในการปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
-วิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
1 คาบ
6
-การป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
-โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
ที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
1 คาบ
7
-การป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
-โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
ที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
1 คาบ
8
-รู้และเข้าใจอันตรายที่เกิดจากอาหารที่ไม่สะอาดและมีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
-อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
1 คาบ
ตาราง 19 ต่อ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
9
-จัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการได้
-หลักการจัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการ
1 คาบ
10
-รู้หลักการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ที่ถูกต้อง
-อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
1 คาบ
11
-วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสารและบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
-วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสารและบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
1 คาบ
12
-จัดการกับอารมณ์ และความเครียดเมื่อประสบปัญหา
-การจัดการกับอารมณ์ และความเครียด
เมื่อประสบปัญหา
1 คาบ
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 : ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ : ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพ จำนวนแผนการเรียนรู้ 13 แผน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 13 คาบ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
1
-ปฏิบัติตนตามแนวทางเพื่อความปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน การเดินทาง
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
1 คาบ
1
-ปฏิบัติตนตามแนวทางเพื่อความปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน การเดินทาง
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
1 คาบ
2
-มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
1 คาบ
3
-ฝึกหนีไฟ
-วิธีปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
1 คาบ
4
-ปฏิบัติตามขั้นตอนการหนีไฟได้อย่างถูกต้อง
-ปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
1 คาบ
5
-รู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด
-อันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด
1 คาบ
6
-การใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
-การใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
1 คาบ
ตาราง 20 ต่อ
ลำดับ/ชื่อแผน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขอบข่ายสาระ
เวลา
7
-ตระหนักว่าความอยากรู้อยากลองอาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติด
-ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติดที่อาจเข้ามาถึงตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยคาดไม่ถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
1 คาบ
8
-รู้วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
-วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
1 คาบ
9
-ตระหนักว่าทุกคนมีสิทธิในตนเองและทรัพย์สิน
-สิทธิของตนเองและสิทธิ
ของผู้อื่น
1 คาบ
10
-ปฐมพยาบาลให้คำแนะนำ ช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิดอุบัติเหตุ และเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
1 คาบ
11
การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
-การปฐมพยาบาล
1 คาบ
12
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
-การปฐมพยาบาล
1 คาบ
13
-รู้และเข้าใจ วิธีการช่วยเหลือ
ผู้ประสบอุบัติเหตุ
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
1 คาบ
ตาราง 21 การจัดแบ่งคาบเวลากับหน่วยการเรียนรู้และเนื้อหา วิชาสุขศึกษารายปี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้
ลำดับที่
ชื่อหน่วยและสาระการเรียนรู้
จำนวน
ชั่วโมง
หมายเหตุ
1
เติบโตสมวัย
-ระบบประสาท
-ระบบหายใจ
-ระบบไหลเวียนโลหิต
-ระบบต่อมไร้ท่อ
-ระบบสืบพันธุ์
-ลักษณะของคราบจุลินทรีย์
-การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
-ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตวิญญาณ
ในวัยรุ่น
(8)
1
1
1
1
1
1
1
1
2
ใส่ใจในครอบครัวและชีวิต-ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
-ภัยจากสื่อทางเพศ และการหลีกเลี่ยงภัยจากสื่อ
ทางเพศ
-การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
-การปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัยทางเพศ
-ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ใน
วัยเรียนและเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
-ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
(7)
1
1
1
1
1
1
1
ตาราง 21 ต่อ
หน่วยการเรียนรู้
ลำดับที่
ชื่อหน่วยและสาระการเรียนรู้
จำนวน
ชั่วโมง
หมายเหตุ
3
การมีจิตแจ่มใส
-การวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดี
-การมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
-ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
-วิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
-โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
ที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
-โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
ที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
-อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
-หลักการจัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการ
-อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
-วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสารและบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
-การจัดการกับอารมณ์ และความเครียด
เมื่อประสบปัญหา
(12)
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
ตาราง 21 ต่อ
หน่วยการเรียนรู้
ลำดับที่
ชื่อหน่วยและสาระการเรียนรู้
จำนวนชั่วโมง
หมายเหตุ
4
ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพ
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-วิธีปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
-ปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
-อันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด
-การใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
-ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติดที่อาจเข้ามาถึงตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยคาดไม่ถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
-วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
-สิทธิของตนเองและสิทธิของผู้อื่น
-การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาล
-การปฐมพยาบาล
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
(14)
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิชาสุขศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2550
ตาราง 22 วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิชาสุขศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2550
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1
1. ระบบประสาท
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบประสาทที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบประสาทได้อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษา ป้องกันระบบประสาทได้อย่างถูกวิธี
2. ระบบหายใจ
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบหายใจที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบหายใจได้อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษาป้องกันระบบหายใจได้อย่างถูกวิธี
3. ระบบไหลเวียนโลหิต
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตได้
อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษา ป้องกันระบบไหลเวียนโลหิตได้
อย่างถูกวิธี
4. ระบบต่อมไร้ท่อ
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อได้
อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษาป้องกันระบบต่อมไร้ท่อได้อย่างถูกวิธี
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1
5. ระบบสืบพันธุ์
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบสืบพันธ์
ที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบสืบพันธ์ได้อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษา ป้องกันระบบสืบพันธุ์ได้อย่างถูกวิธี
6. ลักษณะของคราบจุลินทรีย์
-รู้จักคราบจุลินทรีย์
1. บอกลักษณะของคราบจุลินทรีย์ได้อย่างถูกต้อง
7. การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟัน
และการปฐมพยาบาล
-รู้วิธีป้องกันอุบัติเหตุต่อฟัน
และการปฐมพยาบาล
1. บอกวิธีป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันได้อย่างถูกต้อง
2. บอกวิธีดูแลฟันได้อย่างถูกวิธี
8. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
สติปัญญาและจิตวิญญาณในวัยรุ่น
-วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตวิญญาณในวัยรุ่น
1. อธิบายปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและ
จิตวิญญาณในวัยรุ่นได้อย่างถูกต้อง
2
9. ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่น
และการเสนอแนวทางป้องกันและ
แก้ไขปัญหา
-วิเคราะห์ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
1. อธิบายลักษณะของปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่น
และการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้
อย่างถูกต้อง
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
10. เห็นคุณค่าของความเป็น
เพศชาย เพศหญิง
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
1. ตระหนักและเห็นคุณค่าของเพศชาย และเพศหญิง
11. ภัยจากสื่อทางเพศ
และการหลีกเลี่ยงภัยจากสื่อ
ทางเพศ
-รู้เท่าทันและวิเคราะห์ภัยจากสื่อทางเพศได้
1. บอกภัยจากสื่อทางเพศได้อย่างถูกต้อง
2. หลีกเลี่ยงภัยจากสื่อทางเพศได้อย่างถูกต้อง
12. การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับ
เพศตามวัฒนธรรมไทย
-ปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
1. ปฏิบัติตนได้เหมาะสมตามเพศได้อย่างถูกต้อง
ตามวัฒนธรรมไทย
13. การปฏิบัติตนในการรักษา
สุขอนามัยทางเพศ
-ปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัยทางเพศ
อย่างสม่ำเสมอ
1. บอกวิธีปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัยทางเพศ
ได้อย่างถูกต้อง
3
14. ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์
และการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
และเสนอแนวทาง
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
-วิเคราะห์ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
1. บอกปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์
ในวัยเรียนได้อย่างถูกต้อง
2. เสนอแนวทางการป้องกันและการแก้ปัญหาได้
อย่างถูกต้อง
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
3
14. ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์
และการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
และเสนอแนวทาง
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
-วิเคราะห์ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนและเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา
1. วิเคราะห์ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์
และการตั้งครรภ์ได้อย่างถูกต้อง
15. ทักษะการตัดสินใจ
และแก้ปัญหาในสถานการณ์
เสี่ยงเรื่องเพศ
-มีทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
1. บอกทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาสถานการณ์
เสี่ยงเรื่องเพศได้อย่างถูกต้อง
4
16. วิเคราะห์ผลของการมี
พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
-การวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
1. วิเคราะห์ผลการมีพฤติกรรมสุขภาพของตนได้
17. มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
อย่างสม่ำเสมอ
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดี
1. อธิบายลักษณะของพฤติกรรมสุขภาพที่ดีได้
อย่างถูกต้อง
18. มีส่วนร่วมในการดูแล
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
-มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
1. มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
4
19. วิเคราะห์ผลกระทบ
ของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อ
การดำรงสุขภาพ และการ
ป้องกันโรค
-ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
1. วิเคราะห์ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพ
ที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
ได้อย่างถูกต้อง
20. มีสุขนิสัยที่ดีในการปฏิบัติ
เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
-วิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค
1. บอกวิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาการป้องกัน
โรคได้อย่างถูกต้อง
21. การป้องกันโรคติดต่อและ
โรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหา
สำคัญของท้องถิ่น
-โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
1. นักเรียนบอกชนิดของโรคติดต่อและโรค
ไม่ติดต่อในท้องถิ่นได้อย่างถูกต้อง
22. โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
ที่เป็นปัญหาสำคัญ
ของท้องถิ่น
-การป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของท้องถิ่น
1. บอกวิธีปฏิบัติตนในการป้องกันโรคติดต่อ
และโรคไม่ติดต่อได้อย่างถูกต้อง
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
4
23. อันตรายจากอาหารที่ไม่สะอาด
มีสารต้องห้ามหรือสารปนเปื้อน
-รู้และเข้าใจอันตรายที่เกิดจากอาหารที่ไม่สะอาดและมีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
1. บอกอันตรายที่เกิดจากอาหารที่ไม่สะอาดได้
อย่างถูกต้อง
24. จัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการได้
-หลักการจัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการ
1. จัดเมนูอาหารตามธงโภชนาการได้
อย่างถูกต้อง
25. รู้หลักการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ที่ถูกต้อง
-อันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
1. อธิบายสาเหตุ อาการและวิธีการป้องกันโรค
ไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง
26. วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสาร
และบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
-วิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลข่าวสารและบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
1. บอกสถานบริการสุขภาพ การเจ็บป่วยและ
การบาดเจ็บได้อย่างถูกต้อง
5
27. จัดการกับอารมณ์ และความเครียด
เมื่อประสบปัญหา
-การจัดการกับอารมณ์ และความเครียด
เมื่อประสบปัญหา
1. บอกวิธีจัดการกับอารมณ์ และความเครียดได้
อย่างถูกต้อง
28. ปฏิบัติตนตามแนวทางเพื่อความ
ปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน
โรงเรียน การเดินทาง
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
1. บอกวิธีปฏิบัติตนตามแนวทางเพื่อความ
ปลอดภัยเป็นกิจนิสัยทั้งที่บ้าน โรงเรียน
การเดินทางได้อย่างถูกต้อง
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
5
29. มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง
ความปลอดภัยที่บ้าน และที่โรงเรียน
-แนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยที่บ้าน
และที่โรงเรียน
1. ปฏิบัติตนทางการเฝ้าระวังความปลอดภัย
ที่บ้าน และที่โรงเรียนได้อย่างถูกต้อง
30. ฝึกหนีไฟ
-วิธีปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
1. อธิบายขั้นตอนการหนีไฟได้อย่างถูกต้อง
31. ปฏิบัติตามขั้นตอนการหนีไฟ
ได้อย่างถูกต้อง
-ปฏิบัติขั้นตอนการหนีไฟที่ถูกต้อง
1. ปฏิบัติตามขั้นตอนการหนีไฟได้อย่างถูกต้อง
32. รู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้
ยาในทางที่ผิด
-อันตรายจากการใช้ยาในทางที่ผิด
1. บอกอันตรายที่เกิดจากการใช้ยาในทางที่ผิด
33. การใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ
และผลกระทบต่อครอบครัว
และสังคม
-การใช้สารเสพติดที่มีต่อสุขภาพ และผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม
1. บอกผลกระทบต่อครอบครัวและสังคมเมื่อ
ใช้สารเสพติดได้อย่างถูกต้อง
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
5
34. ตระหนักว่าความอยากรู้อยาก
ลองอาจนำไปสู่ภัยจากสาร
เสพติด
-ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติดที่อาจเข้ามาถึงตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยคาดไม่ถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
1. ตระหนักถึงผลที่เกิดจากความอยากรู้อยากลอง
ที่อาจนำไปสู่ภัยจากสารเสพติดได้
35. รู้วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัย
จากสารเสพติด
-วิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติด
1. บอกวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภัยจากสารเสพติดได้
อย่างถูกต้อง
36. ตระหนักว่าทุกคนมีสิทธิ
ในตนเองและทรัพย์สิน
-สิทธิของตนเองและสิทธิของผู้อื่น
1. บอกสิทธิของตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
37. ปฐมพยาบาลให้คำแนะนำ
ช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
และเจ็บป่วย
-การปฐมพยาบาลเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
1. บอกวิธีปฐมพยาบาลเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย
ได้อย่างถูกต้อง
38. การปฐมพยาบาล
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
1. อธิบายขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ
อุบัติเหตุได้อย่างถูกต้องได้
ตาราง 22 ต่อ
หน่วยที่
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
5
38. การปฐมพยาบาล
-การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
1. อธิบายขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือผู้
ประสบอุบัติเหตุได้อย่างถูกต้องได้
40. การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
-รู้และเข้าใจ วิธีการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
1. ปฏิบัติตนในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ
อุบัติเหตุได้อย่างถูกต้อง
ข้อกำหนดหลักสูตรเกี่ยวกับเวลาเรียนและคาบเวลาที่ใช้สอน
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ข้อกำหนดหลักสูตรเกี่ยวกับเวลาเรียนและคาบเวลาที่ใช้สอน
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1. เวลาที่ใช้สอน ปีการศึกษา 2550 เวลา 40 สัปดาห์ จำนวน 40 ชั่วโมง
2. เวลาที่ใช้สำหรับปฏิบัติการสอนแบ่งได้ 2 ภาคเรียน ดังนี้
2.1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาที่ใช้สอน 20 สัปดาห์ สอนทั้งหมด 20 ชั่วโมง
สอนประมาณ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2.2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาที่ใช้สอน 20 สัปดาห์ สอนทั้งหมด 20 ชั่วโมง
สอนประมาณ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
วิเคราะห์เกี่ยวกับเนื้อหาและวันเวลาที่ใช้สอนวิชาสุขศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550
ตาราง 23 วิเคราะห์เกี่ยวกับเนื้อหาและวันเวลาที่ใช้สอนวิชาสุขศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550
ลำดับ
แผน
สาระการเรียนรู้
วัน /เดือน/ ปี
ที่ใช้สอน
คาบเวลา
(คาบละ 60 นาที)
แผนการปฐมนิเทศนักเรียนภาคเรียนที่ 1
14 พฤษภาคม 2550
1 คาบ
1
ระบบประสาท
17 พฤษภาคม 2550
1 คาบ
2
ระบบหายใจ
24 พฤษภาคม 2550
1 คาบ
3
ระบบไหลเวียนโลหิต
31 พฤษภาคม 2550
1 คาบ
4
ระบบต่อมไร้ท่อ
7 มิถุนายน 2550
1 คาบ
5
ระบบสืบพันธุ์
14 มิถุนายน 2550
1 คาบ
6
ลักษณะของคราบจุลินทรีย์
21 มิถุนายน 2550
1 คาบ
7
การป้องกันอุบัติเหตุต่อฟันและการปฐมพยาบาล
28 มิถุนายน 2550
1 คาบ
8
-ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตวิญญาณในวัยรุ่น
5 กรกฎาคม 2550
1 คาบ
9
ปัญหาครอบครัวที่ไม่อบอุ่นและการเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
12 กรกฎาคม 2550
1 คาบ
10
-เห็นคุณค่าของความเป็นเพศชาย เพศหญิง
19 กรกฎาคม 2550
1 คาบ
11
-ภัยจากสื่อทางเพศ และการหลีกเลี่ยงภัยจากสื่อ
ทางเพศ
26 กรกฎาคม 2550
1 คาบ
12
การปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรมไทย
2 สิงหาคม 2550
1 คาบ
13
-การปฏิบัติตนในการรักษาสุขอนามัยทางเพศ
9 สิงหาคม 2550
1 คาบ
14
-ปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ใน
วัยเรียนและเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
16 สิงหาคม 2550
1 คาบ
ตาราง 23 ต่อ
ลำดับ
แผน
สาระการเรียนรู้
วัน /เดือน/ ปี
ที่ใช้สอน
คาบเวลา
(คาบละ 60 นาที)
15
-ทักษะการตัดสินใจและแก้ปัญหาในสถานการณ์เสี่ยงเรื่องเพศ
30 สิงหาคม 2550
1 คาบ
16
การวิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
6 กันยายน 2550
1 คาบ
17
-พฤติกรรมสุขภาพที่ดี
13 กันยายน 2550
1 คาบ
18
-การมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชน
20 กันยายน 2550
1 คาบ
19
-ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีต่อการดำรงสุขภาพ และการป้องกันโรค
27 กันยายน 2550
1 คาบ
20
จวิธีปฏิบัติเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และ
การป้องกันโรค
4 ตุลาคม 2550
1 คาบ
รวม
20 คาบ
แผนการวัดและประเมินผลวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
แผนการวัดและประเมินผลวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
1. การวัดผล คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาคเรียน 70 : 30
1. คะแนนจากการวัดผลและประเมินระหว่างเรียน 35 คะแนน
2. คะแนนจากการวัดผลกลางภาค 20 คะแนน
3. คะแนนจากการประเมินคุณลักษณะ 15 คะแนน
3.1 ด้านคุณธรรม (5) คะแนน
3.2 ด้านจริยธรรม (5) คะแนน
3.3 ด้านค่านิยม (5) คะแนน
4. คะแนนจากการวัดผลปลายภาค 30 คะแนน
2. เกณฑ์ในการประเมินผล
1. ช่วงคะแนน 80 - 100 คะแนน ระดับ 4
2. ช่วงคะแนน 75 - 79 คะแนน ระดับ 3.5
3. ช่วงคะแนน 70 - 74 คะแนน ระดับ 3
4. ช่วงคะแนน 65 - 69 คะแนน ระดับ 2.5
5. ช่วงคะแนน 60 - 64 คะแนน ระดับ 2
6. ช่วงคะแนน 55 - 59 คะแนน ระดับ 1.5
7. ช่วงคะแนน 50 - 54 คะแนน ระดับ 1
8. ช่วงคะแนน 0 - 49 คะแนน ระดับ 0
ตารางเรียนวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
วัน/เวลา
08.30-09.30
09.30-10.30
10.30-11.30
พักรับประทานอาหารกลางวัน
12.30-13.30
13.30-14.30
14.30-15.30
หมายเหตุ
จันทร์
ไทย
ดนตรี
ไทย
สังคม
อังกฤษ
พบครู
อังคาร
อังกฤษ
ไทย
คณิต
วิทย์
สุขศึกษา
แนะแนว
พุธ
ไทย
คณิต
อังกฤษ
ไทย
วิทย์
ลูกเสือ
พฤหัสบดี
คณิต
สังคม
คอมพิวเตอร์
ไทย
กอท
สุขศึกษา ป.6
ศุกร์
ไทย
อังกฤษ
คณิต
วิทย์
กอท
ประชุม
กำหนดการสอนวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
ตาราง 25 กำหนดการสอนวิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2550
วัน/เดือน/ปี
จำนวนคาบเวลา
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
14 พ.ค.2550
1
ชั่วโมง
ปฐมนิเทศ
1. รู้และเข้าใจหลักวิธีการเรียนการสอน
วิชาสุขศึกษา
1. ปฏิบัติตนในการเรียนการสอนวิชาสุขศึกษาได้
อย่างถูกต้อง
17 พ.ค.
2550
1
ชั่วโมง
หน่วยที่ 1 (5 ชั่วโมง)
การเจริญเติบโต
และพัฒนาการของมนุษย์
1. ระบบประสาท
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบประสาทที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบประสาทได้อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษา ป้องกันระบบประสาทได้อย่างถูกวิธี
24 พ.ค.
2550
1
ชั่วโมง
2. ระบบหายใจ
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบหายใจที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบหายใจได้อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษาป้องกันระบบหายใจได้อย่างถูกวิธี
31 พ.ค.
2550
1
ชั่วโมง
ระบบไหลเวียนโลหิต
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตได้
อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษา ป้องกันระบบไหลเวียนโลหิตได้อย่างถูกวิธี
ตาราง 25 ต่อ
วัน/เดือน/ปี
จำนวนคาบ
สาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
7 มิ.ย.
2550
1
ชั่วโมง
ระบบต่อมไร้ท่อ
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อได้อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษาป้องกันระบบต่อมไร้ท่อได้อย่างถูกวิธี
14 มิ.ย.
2550
1
ชั่วโมง
ระบบสืบพันธุ์
-รู้และเข้าใจการทำงานของระบบสืบพันธุ์
ที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ สมรรถภาพ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1. บอกการทำงานของระบบสืบพันธ์ได้อย่างถูกต้อง
2. ดูแล รักษา ป้องกันระบบสืบพันธุ์ได้อย่างถูกวิธี
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550
แผนการปฐมนิเทศ
กลุ่มสาระการเรีรยนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการปฐมนิเทศ
ผู้สอน นางนฤมล อบมาลี
สอนวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
เวลา 14.30 - 15.30 น. จำนวน 1 คาบ
1. สาระสำคัญ
การอธิบายเนื้อหาการเรียนการสอน วันเวลาที่สอน จุดประสงค์การเรียนรู้ และการ
วัดผลประเมินผล ทำให้ผู้เรียนได้มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาที่จะเรียน สามารถปรับตัวให้เข้ากับวิธีการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา
2. จุดประสงค์
2.1 เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่จะเรียนและวิธีการจัดกิจกรรม
การเรียนวิชาสุขศึกษาในภาคเรียนที่ 1
2.2 เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้เรื่องการวัดผลและการประเมินผล
2.3 เพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติตนให้ถูกต้องกับการเรียนวิชาสุขศึกษา
3. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา
3.1 หน่วยที่ 1 เติบโตสมวัย
3.1.1 ระบบประสาท
3.1.2 ระบบหายใจ
3.1.3 ระบบไหลเวียนโลหิต
3.1.4 ระบบต่อมไร้ท่อ
3.1.5 ระบบสืบพันธุ์
4. กิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอนได้จัดเป็นลำดับขั้นตอน - ขั้นตอน ดังนี้
4.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
เป็นการเตรียมความพร้อมและและสนทนากับนักเรียนถึงเรื่องที่จะเรียน แจ้ง
จุดประสงค์การเรียนรู้ และแจ้งขั้นตอนการวัดผลประเมินผลให้นักเรียนทราบ
4.2 ขั้นสอน
เป็นการอธิบายประกอบการสาธิต เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ
ถึงขั้นตอน วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง รวมทั้งการซักถามปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียน
4.5 ขั้นสรุป
เป็นการสรุปผลและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงนั้น ๆ ข้อดี ข้อเสีย
ข้อควรระวังพร้อมกับให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขในการเรียนครั้งต่อไป รวมทั้ง
ให้นักเรียนพักเหนื่อยพร้อมที่จะทำความสะอาดร่างกายเพื่อเข้าเรียนในชั่วโมงต่อไป
5. กำหนดการสอน
ครั้งที่
วัน/เดือน/ปี
เนื้อหาวิชาที่สอน
1
14 พฤษภาคม 2550
แผนการปฐมนิเทศนักเรียน
2
17 พฤษภาคม 2550
ระบบประสาท
3
24 พฤษภาคม 2550
ระบบหายใจ
4
31 พฤษภาคม 2550
ระบบไหลเวียนโลหิต
5
7 มิถุนายน 2550
ระบบต่อมไร้ท่อ
6
14 มิถุนายน 2550
ระบบสืบพันธุ์
6. การวัดผลและการประเมินผล
6.1 ด้านความรู้ เป็นการวัดภาคความรู้
6.2 ด้านเจตคติ เป็นการวัดด้านความรู้สึกนึกคิดที่แสดงออกเป็นพฤติกรรม
6.3 ด้านคุณลักษณะ เป็นการวัดด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่แสดงถึงความรู้สึก
คุณภาพของการแสดงออกและการแสดงออกเป็นประจำ
การวัดผลและการประเมินผลใช้อัตราส่วนในการให้คะแนน 70 : 30 ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1. คะแนนจากการวัดผลและประเมินระหว่างเรียน 35 คะแนน
2. คะแนนจากการวัดผลกลางภาค 20 คะแนน
3. คะแนนจากการประเมินคุณลักษณะ 15 คะแนน
3.1 ด้านคุณธรรม (5) คะแนน
3.2 ด้านจริยธรรม (5) คะแนน
3.3 ด้านค่านิยม (5) คะแนน
4. คะแนนจากการวัดผลปลายภาค 30 คะแนน
7. เกณฑ์ในการประเมินผล
7.1 ช่วงคะแนน 80 - 100 คะแนน ระดับ 4
7.2 ช่วงคะแนน 75 - 79 คะแนน ระดับ 3.5
7.3 ช่วงคะแนน 70 - 74 คะแนน ระดับ 3
7.4 ช่วงคะแนน 65 - 69 คะแนน ระดับ 2.5
7.5 ช่วงคะแนน 60 - 64 คะแนน ระดับ 2
7.6 ช่วงคะแนน 55 - 59 คะแนน ระดับ 1.5
7.7 ช่วงคะแนน 50 - 54 คะแนน ระดับ 1
7. 8 ช่วงคะแนน 0 - 49 คะแนน ระดับ 0
8. หนังสือ / เอกสารประกอบการค้นคว้า
1. วันชัย บุญรอด และคณะ. หนังสือเสริมการเรียนพลานามัย พ 101 ยิมนาสติค
โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ.
2. วิจัย ลพเกิด และคณะ. หนังสือเรียนคุณภาพแม็ค สลน.ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สำนักพิมพ์แม็ค. จำกัด, กรุงเทพฯ.
3. วินัย พัฒนรัฐ และคณะ. แบบเรียนมาตรฐาน กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สำนักพิมพ์ประสานมิตร, กรุงเทพฯ.
4. รุจิร์ ภู่สาระ และคณะ. แนวหน้าฉบับบูรณาการมาตรฐานการเรียนรู้ สลน. 6.
อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ.
5. ฝ่ายนวัตกรรมทางการศึกษา สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. หนังสือชุดพัฒนา
กิจกรรมเชิงกระบวนการ สลน. 6. สำนักพิมพ์เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป
แมนเนจเมนท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.
6. อภิศักดิ์ ขำสุข. การฝึกวอลเล่ย์บอล 2000. ลินคอร์นโปรโมชั่น, จำกัด.
7. อุทัย สงวนพงศ์. พลศึกษา ม.3. อักษรเจริญทัศน์. กรุงเทพฯ.
8. http//www.osrd.go.th/map.php
ลงชื่อ ครูผู้สอน
(นางนฤมล อบมาลี)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
แผนที่ 1 ระบบประสาท (สมอง)
ผู้สอน นางนฤมล อบมาลี
หน่วยที่ 1 เติบโตสมวัย
สอนวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
เวลา 14.30 - 15.30 น. จำนวน 1 คาบ
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน พ. 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
2. สาระสำคัญ
ระบบประสาทสมอง
3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
เมื่อนักเรียนเรียนจบเรื่องนี้แล้วนักเรียนบอกความรู้เกี่ยวกับ ระบบประสาท ดังนี้
3.1 รู้และเข้าใจการทำงานของระบบประสาทที่มีความสำคัญต่อสุขภาพ
สมรรถภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
4.1.1 บอกความหมายของระบบประสาทได้อย่างถูกต้อง
4.1.2 ดูแล รักษา ป้องกันระบบประสาทสมองได้อย่างถูกวิธี
4.1.3 บอกชื่ออวัยวะที่เป็นส่วนประกอบในระบบประสาทสมองได้อย่างถูกต้อง
4.1.4 บอกหน้าที่ของระบบประสาทสมองได้อย่างถูกต้อง
5. สาระการเรียนรู้
ในบทเรียนสำเร็จรูปชุดที่ 1 เรื่อง ระบบประสาท
5.1 ความหมายและหน้าที่ของระบบประสาท
5.2 ส่วนประกอบของระบบประสาท
5.3 การแบ่งส่วนของสมอง
5.4 หน้าที่ของพูประสาทส่วนที่ 1 และ 2
5.5 หน้าที่ของพูประสาทส่วนที่ 3 – 5
5.6 การป้องกัน ดูแล และรักษาระบบประสาทสมอง
6. กิจกรรมการเรียนการสอน
6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
6.1.1 ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
6.1.2 นักเรียนเล่นเกม
6.1.3 สนทนาซักถามความรู้เดิม เพื่อเชื่อมสู่ความรู้ใหม่
6.1.4 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนบทเรียนาสำเร็จรูปชุดที่ 1
เรื่อง ระบบประสาท
6.2 ขั้นสอน
6.2.1 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับระบบประสาท
6.2.2 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 ถึง 5 คน โดยคละ
ความสามารถแล้วเลือกประธานและเลขานุการกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มส่ง
ตัวแทนออกมารับบทเรียนสำเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง ระบบประสาท
6.2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านคำแนะนำในการเรียนจากบทเรียนสำเร็จรูป
เล่มที่ 1 เรื่อง ระบบประสาท จนเข้าใจ และร่วมกันศึกษาหาความรู้
จากบทเรียนสำเร็จรูป
6.2.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรีนจากบทเรียนสำเร็จรูป
โดยเรียนรู้ทีละกรอบและตอบคำถามจนจบเล่ม
6.2.5 เมื่อตอบคำถามเสร็จในแต่ละกรอบให้นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจ
พร้อมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และเสนอแนะเพื่อนในกลุ่มตอบ
คำถามไม่ตรงประเด็นหรือไม่ชัดเจน ถ้าไม่เข้าใจให้กลับไปดูเนื้อหาจาก
กรอบที่เรียนหรือถามคุณครู
6.3 ขั้นสรุป
6.3.1 เมื่อเรียนจบบทเรียนแล้วให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากบทเรียน
สำเร็จรูป เล่มที่ 1 เรื่อง ระบบประสาท แล้วเปลี่ยนกันตรวจเพื่อประเมินผล
ร่วมกันภายในกลุ่ม และส่งบทเรียนหลังจากปฏิบัติกิจกรรมให้เรียบร้อย
7. สื่อการเรียนและแหล่งเรียนรู้
7.1 บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 เรื่อง ระบบประสาท
7.2 เกม
8. กระบวนการวัดผลและประเมินผล
8.1 สิ่งที่ต้องการวัด
8.1.1 ความรู้ ความเข้าใจ อวัยวะที่สำคัญของระบบประสาทและการดูแล
ป้องกัน และรักษาระบบประสาท
8.1.2 คุณลักษณะด้านความสามัคคี ความร่วมมือ ความมีวินัย ยอมรับความ
คิดเห็นของผู้อื่น ซื่อสัตย์ อดทน
8.2 วิธีการวัด
8.2.1 ทดสอบภาคความรู้
8.2.2 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันของนักเรียน
8.3 เครื่องมือวัด
8.3.1 แบบทดสอบภาคความรู้
8.3.2 แบบสังเหตพฤติกรรม
8.4 เกณฑ์การประเมิน
8.4.1 ด้านความรู้ความเข้าใจนักเรียนทำแบบทดสอบได้ถูกต้องอย่างน้อย
8 ใน 10 ข้อ จึงจะผ่านเกณฑ์
8.4.2 ด้านคุณลักษณะนักเรียนปฏิบัติกิจรรมมีความสามัคคี ร่วมมือกัน มีวินัย
ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ซื่อสัตย์
ลงชื่อ ครูผู้สอน
(นางนฤมล อบมาลี)
15 พฤษภาคม 2550
บันทึกความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายวิชาการ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นางสาวบุญเทิง สายยศ)
หัวหน้าวิชาการ
..../......./2550
บันทึกความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายภูวนาถ จินดาศรี)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านขมิ้นเรืองราษฎร์รังสรรค์
1. สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
3. แนวทางการแก้ไขปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ลงชื่อ ผู้บันทึก
(นางนฤมล อบมาลี)
......../.............../.............
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ท่าน poe2chor@gmail.com คับมี หนังสือสอนวิธีทำงานวิจัย หรือป่าวครับ หามานานแล้วครับ ถ้ามีบอกด้วยคับ ขอบคุณมากคับ
ตอบลบเดี๋ยวจะหามาให้ครับ
ตอบลบ